การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล...

290
การควบคุมทะเบียนอาวุธปน และผลกระทบตอผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปน โดย นายพิษณุ ประภาธนานันท วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร นิติศาตรมหาบัณฑิต สาขา วิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2558

Transcript of การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล...

Page 1: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

การควบคุมทะเบียนอาวุธปนและผลกระทบตอผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปน

โดยนายพิษณุ ประภาธนานันท

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิติศาตรมหาบัณฑิต

สาขา วิชากฎหมายธุรกิจคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2558

Page 2: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

Firearms control registry and the impact on the business of arm trade

BYMr. Pitsanu Prapatananun

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the RequirementFor the Degree of Master of Laws in Business Law

Faculty of LawKrirk University

2015

Page 3: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงได ดวยความชวยเหลือใหคําปรึกษาแนะนํา

และความเมตตาจากคณะทานอาจารยและบุคลากรหลายฝาย ผู เขียนขอกราบ

ขอบพระคุณอยางสูง สําหรับความเมตตาจาก ดร.สมบูรณ เสงี่ยมสุข ที่ไดกรุณารับเปน

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและไดใหคําปรึกษา คําแนะนํา กระบวนการวิธีคิดที่

ถูกตอง ตลอดจนปลูกฝงใหผูเขียนไดเขาใจอยางถองแทถึงขั้นตอนและวิธีการที่ถูกตอง

ในการจัดทําวิทยานิพนธ อีกทั้งยังกรุณาเสียสละเวลาอันมีคายิ่งของทานชวยเหลือ

ตรวจสอบวิทยานิพนธของผูเขียนในขั้นตอนตาง ๆจนสามารถจัดทําวิทยานิพนธฉบับนี้ได

เสร็จสมบูรณไดในที่สุด

ผูเขียนขอกราบขอบพระคุณทานอาจารยสมคิด ใจยิ้ม ที่ไดกรุณารับเปน

อ า จ า ร ย ที ่ป ร ึกษาว ิทยาน ิพนธ ร วม และย ัง เป นผู ถ า ยทอดองค ค วามรู ตาม

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน

พ.ศ. 2490 ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติแกผูเขียนจนมีความรูความเขาใจอยางแทจริงและ

สามารถนํามาใชในการจัดทําวิทยานิพนธครั้งนี้ไดเปนอยางดี

ขอกราบขอบพระคุณ ศาสตราจารยพิชัยศักดิ์ หรยางกูร ประธานกรรมการ

สอบวิทยานิพนธ และ รองศาสตราจารยสุธินี รัตนวราห กรรมการสอบวิทยานิพนธ ที่ใหความ

กรุณารับเปนประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธและกรรมการสอบวิทยานิพนธ และยัง

ไดใหขอเสนอแนะและคําแนะนําที่เปนประโยชนอยางสูงยิ่งในการจัดทําวิทยานิพนธจน

สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี

ขอกราบขอบพระคุณทานอาจารยผู สอนทุกทานในคณะนิติศาสตร

มหาวิทยาลัยเกริก ที่ไดกรุณาถายทอดวิชาความรูสั่งสอนผูเขียนจนมีความรูความสามารถ

จนทําใหการจัดทําวิทยานิพนธฉบับนี้มีความเรียบรอยสมบูรณและมีคุณคาในทาง

วิชาการมากยิ่งขึ้น

(4)

Page 4: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

ขอกราบขอบพระคุณทานรณภพ เหลืองไพโรจน รองอธิบดีกรมการ

ปกครอง ทานศักดิ์ชัย แตงฮอ ผูอํานวยการสํานักการสอบสวนและนิติการ และทานวิสิทธิ

พัตน อนันตรสุชาติ ผูอํานวยการสวนงานนิติการ สํานักการสอบสวนและนิติการ ที่เปน

เสมือนอาจารยผูใหความรูทางวิชาการ การศึกษาเรียนรู และวิธีการ “บําบัดทุกข บํารุง

สุข”รวมถึงการครองตน ครองคน ครองงาน ของขาราชการกรมการปกครอง

กระทรวงมหาดไทย ตลอดจนใหคําปรึกษาในการแกไขปญหาขอขัดของตางๆ ทั้งในการ

ปฏิบัติงาน การดําเนินชีวิต และการจัดทําวิทยานิพนธ จนสามารถจัดทําวิทยานิพนธฉบับ

นี้ไดสําเร็จในที่สุด

ขอขอบพระคุณเพื่อนๆ พี่นองขาราชการในสวนรักษาความสงบเรียบรอย 1

สํานักการสอบสวนและนิติการ กรมการปกครอง ทุกทาน โดยเฉพาะคุณชะรัตน เพชร

ประไพ นิติกรชํานาญการ และคุณเนติมา โหมดเทศ เจาพนักงานปกครองชํานาญการ

ที่ไดใหความอนุเคราะหชวยเหลือในการจัดหาขอมูลทางวิชาการตางๆ ใหผูเขียนไดอยาง

ถูกตองและครบถวนจนทําใหการจัดทําวิทยานิพนธฉบับนี้เปนไปดวยความเรียบรอย

และสมบูรณยิ่งขึ้น

หากวิทยานิพนธฉบับนี้จะมีประโยชนทางวิชาการแกบุคคลใดๆ ใน

การศึกษาคนควาขอมูล ขอมอบใหเปนกตเวทิตาแดบิดามารดา ผูใหกําเนิดและใหความ

เมตตากรุณาเลี้ยงดูอบรมสั่งสอน สนับสนุนใหการศึกษาผูเขียนจนประสบความสําเร็จ

ในหนาที่การงานในปจจุบัน สวนขอบกพรองใดๆ ผูเขียนขอนอมรับไวแตเพียงผูเดียว

และขออภัยมา ณ โอกาสนี้

พิษณุ ประภาธนานันท

(5)

Page 5: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

(6)

สารบัญ

หนา

บทคัดยอภาษาไทย (1)บทคัดยอภาษาอังกฤษ (3)กิตติกรรมประกาศ (4)บทที่ 1 บทนํา 1

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 11.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 191.3 ขอบเขตของการศึกษา 201.4 สมมุติฐานของการศึกษา 201.5 วิธีดําเนินการศึกษา 201.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการศึกษา 21

บทที่ 2 วิวัฒนาการของอาวุธปน หลักกฎหมาย และแนวทางในการควบคุม ทะเบียนอาวุธปนของประเทศไทย 222.1 วิวัฒนาการของอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน 22

2.1.1 อาวุธปนและเครื่องกระสุนปน (Firearms and Ammunition) 22

2.1.2 วิวัฒนาการอาวุธปนของประเทศไทย 262.1.3 ความหมายของอาวุธปน 272.1.4 ประเภทของอาวุธปน 28

2.1.4.1 ปนสั้นหรือปนพก (Pistol) 29

2.1.4.2 ปนยาว (Rifle) 342.1.4.3 ปนที่ใชในกิจการทหารเรืองสงคราม 37

2.1.5 ความหมายของเครื่องกระสุนปน (Ammunition) 401) ลูกกระสุนปน (Bullet) 422) ปลอกกระสุนปน (Cartridge Case) 43

Page 6: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

(7)

สารบัญ (ตอ)

หนา

3) ดินขับ (Powder) 46

4) แกป (Primers) 492.2 แนวความคิดและทฤษฎีการคุมครองสิทธิเสรีภาพและแนวคิด สากลเกี่ยวกับความรับผิดและการลงโทษเพื่อรักษาความสงบ

เรียบรอยของรัฐ 502.2.1 สิทธิและเสรีภาพของประชาชน 512.2.2 ประวัติความเปนมาของการคุมครองสิทธิและเสรีภาพ 542.2.3 ทฤษฎีคุมครองสิทธิและเสรีภาพตามหลักนิติปรัชญา 57

2.2.3.1 สํานักกฎหมายธรรมชาติ (Natural Law School) 58

2.2.3.2 สํานักประวัติศาสตร (Historical School) 60

2.2.3.3 สํานักกฎหมายบานเมือง (Legal Positivism)62

2.2.4 แนวคิดสากลเกี่ยวกับความรับผิดและการลงโทษ 642.2.4.1 ความรับผิดตามกฎหมาย 642.2.4.2 ความรับผิดทางอาญา 64

1) การลงโทษอาญา 652) ประเภทของโทษอาญา 67

2.3 ความเปนมาของกฎหมายอาวุธปนในประเทศไทย 692.4 ขั้นตอนการปฏิบัติงานทะเบียนอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน

ตามพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ.2490 79

2.4.1 การขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน กรณีซื้อจากรานคาอาวุธปน 80

2.4.1.1 คุณสมบัติของผูขออนุญาต 80

Page 7: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

(8)

สารบัญ (ตอ)

หนา

2.4.1.2 เอกสารประกอบคําขออนุญาตซื้ออาวุธปน และเครื่องกระสุนปน 81

2.4.1.3 การยื่นคําขออนุญาตซื้ออาวุธปนและ เครื่องกระสุนปน 82

2.4.1.4 การพิจารณาคําขออนุญาตซื้ออาวุธปนและ เครื่องกระสุนปน 85

2.4.2 การขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน กรณีการขอรับโอนอาวุธปนจากหนวยราชการ 89

2.4.2.1 การยื่นคําขอ 892.4.2.2 ขั้นตอนการพิจารณา 90

2.4.3 การขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน กรณีการขอรับโอนอาวุธปนระหวางบุคคล 92

2.4.3.1 การยื่นคําขอ 922.4.3.2 ขั้นตอนการพิจารณา 93

2.4.4 การขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน กรณีการขอรับโอนมรดก 94

2.4.4.1 การยื่นคําขอ 942.4.4.2 ขั้นตอนการพิจารณา 94

2.4.5 การขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน กรณีสั่งนําเขาอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนเพื่อใชสวนตัว 94

2.4.5.1 คุณสมบัติของผูขออนุญาต 952.4.5.2 การยื่นคําขอ 95

Page 8: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

(9)

สารบัญ (ตอ)

หนา

2.4.5.3 ขั้นตอนการพิจารณา 952.4.6 การขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่อง กระสุนปนกรณีการขออนุญาตนําอาวุธปนเครื่อง กระสุนปนเขามาในราชอาณาจักรสวนตัวชั่วคราว 97

2.4.6.1 คุณสมบัติของผูขออนุญาต 972.4.6.2 เอกสารหลักฐานประกอบคําขอ 972.4.6.3 การยื่นคําขอ 972.4.6.4 ขั้นตอนการพิจารณา 97

2.4.7 การแจงยายอาวุธปน 992.4.7.1 เอกสารหลักฐานประกอบคําขอ 992.4.7.2 การแจงยายออก 992.4.7.3 การแจงยายเขา 99

2.4.8 การออกแบบแทนและคําขอคัดสําเนา 1002.4.8.1 การออกใบแทน 1002.4.8.2 การขอคัดสําเนาใบอนุญาต 1002.4.8.3 ขั้นตอนการดําเนินการ 100

2.4.9 การขอใบอนุญาตใหผูอื่นมีและใชอาวุธปนและเครื่อง กระสุนปนเพื่อรักษาทรัพยสินของตน 101

2.4.9.1 คุณสมบัติของผูรับมอบอาวุธปนและ เครื่องกระสุนปน 102

2.4.9.2 เอกสารหลักฐานประกอบคําขอ 1022.4.9.3 การยื่นคําขอ 1022.4.9.4 ขั้นตอนการพิจารณา 102

Page 9: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

(10)

สารบัญ (ตอ)

หนา

2.4.10 การขอรับใบอนุญาตใหมีอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน สําหรับการคา 103

2.4.10.1 คุณสมบัติของผูขออนุญาต 1032.4.10.2 เอกสารหลักฐานประกอบคําขอ 1042.4.10.3 หลักเกณฑการพิจารณาใบอนุญาต 1052.4.10.4 การยื่นคําขอ 1062.4.10.5 ขั้นตอนการพิจารณา 107

บทที่ 3 มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมอาวุธปนในระดับสากลและในตางประเทศ 1083.1 สนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ (Arms Trade Treaty : ATT) 109

3.1.1 พัฒนาการในการจัดทําสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ 1093.1.1.1 ความเปนมา 1093.1.1.2 การประชุม Prep Com ครั้งที่ 1-4 1103.1.1.3 การประชุมสหประชาชาติเพื่อจัดทําสนธิสัญญา

วาดวยการคาอาวุธ (2012 UN Conference on

Arms Trade Treaty) 110

3.1.1.4 การประชุมสหประชาชาติเกี่ยวกับสนธิสัญญา วาดวยการคาอาวุธครั้งสุดทาย (Final UN

Conference on the Arms Trade Treaty) 110

3.1.1.5 การประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยที่ 67 1113.1.1.6 การประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยที่ 68 112

3.1.2 ทาทีของไทยตอการจัดทําสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ 113

Page 10: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

(11)

สารบัญ (ตอ)

หนา

3.1.2.1 ภาพรวมเกี่ยวกับสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ 1133.1.2.2 ขอบเขต (Scope) สนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ 1133.1.2.3 หลักเกณฑ (Criteria) สนธิสัญญาวาดวย

การคาอาวุธ 1133.1.2.4 การปฏิบัติตามสนธิสัญญาวาดวยการคา

อาวุธ (Implementation) 113

3.1.3 การเตรียมความพรอมเพื่อเขาเปนภาคีสนธิสัญญา วาดวยการคาอาวุธ 1143.1.4 การลงนามในสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ ของประเทศไทย 1143.1.5 สาระสําคัญของสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ 1153.1.6 การดําเนินการของไทย 117

3.2 กฎหมายอาวุธปนของประเทศสหรัฐอเมริกา (Gun Control 1986) 118

3.2.1 พระราชบัญญัติควบคุมอาวุธปน 1986 1193.2.1.1 จุดประสงค 1193.2.1.2 การขออนุญาตมาตรา 923 1193.2.1.3 การขออนุญาตมาตรา 923 (d) 120

3.2.1.4 ผูมีอํานาจในการอนุญาต มาตรา 923 (a) 122

3.2.1.5 การเพิกถอนใบอนุญาต มาตรา 923 (e) 122

3.2.1.6 บุคคลตองหามในการอนุญาต มาตรา 922 (d) 122

3.2.1.7 ขอหามบุคคลกระทําผิดกฎหมาย มาตรา 922 1233.2.1.8 ขอหามการขายอาวุธ มาตรา 922 (b) 125

Page 11: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

(12)

สารบัญ (ตอ)

หนา

3.2.1.9 บุคคลทั่วไปกระทําผิดกฎหมาย มาตรา 922 1273.2.1.10 ขอยกเวนที่ไมเปนความผิด มาตรา 925 1273.2.1.11 บทลงโทษ มาตรา 924 1283.2.1.12 โทษการครอบครองอาวุธปนและอาวุธอันตราย ในสถานที่ราชการ มาตรา 930 129

3.3 กฎหมายอาวุธปนของประเทศสิงคโปร 130. 3.3.1 พระราชบัญญัติอาวุธและวัตถุระเบิด ค.ศ.1916 (บทที่ 13)

(Arms and Explosives Act ค.ศ.1916 (Chapter 13) 132

3.3.1.1 หลักเกณฑในการขอใบอนุญาต 1321) กฎหมายกําหนดใหตองมีใบอนุญาตอาวุธปน อาวุธระเบิด ฯลฯ 132

2) หามมิใหมีการซื้อปนหรืออาวุธจากผูขายที่ไดรับ อนุญาตโดยไมมีใบอนุญาต 1333) การสงมอบอาวุธโดยบุคคลอื่นที่ไมใชผูขาย ที่ไดรับอนุญาต 1344) บทบัญญัติในเรื่องการตายหรือลมละลาย ฯลฯ ของผูรับใบอนุญาต 1345) การฝากอาวุธปน อาวุธ หรือวัตถุระเบิดที่ไม ชอบดวยกฎหมาย 1356) การริบอาวุธหรือวัตถุระเบิดที่ฝากไวกับเจาหนาที่ ผูมีอํานาจหรือเจาหนาที่ออกใบอนุญาต 135

Page 12: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

(13)

7) ขอจํากัดในการออกใบอนุญาต 136

สารบัญ (ตอ)

หนา

8) เงื่อนไขของใบอนุญาต 1369) การอุทธรณ 136

3.3.1.2 ความผิดและอัตราโทษ 1371) เจตนาปกปดอาวุธ ฯลฯ ที่นําเขาโดยไมมี ใบอนุญาต 1372) โดยเจตนาซื้ออาวุธปนหรืออาวุธจากผูไมได รับอนุญาต 137

3.3.2 พระราชบัญญัติอาวุธปนและวัตถุระเบิด ค.ศ.1974 (บทที่ 14) (Arms and Explosives Act ค.ศ.1974 (Chapter 14) 137

3.3.2.1 บทลงโทษความผิดเกี่ยวกับการครอบครองอาวุธ หรือเครื่องกระสุนปนโดยผิดกฎหมาย 137

3.3.2.2 ขอยกเวน 1383.3.2.3 โทษอยางอื่น ๆ 139

1) การใชหรือการพยายามใชอาวุธ 1392) บทลงโทษสําหรับผูสมคบในการกระทําความผิด 1393) การคาอาวุธปนผิดกฎหมาย 1394) การคบหากับบุคคลที่พกพาอาวุธ 1405) บทลงโทษตอการใชอาวุธเลียนแบบในการ

กระทําผิดตามความผิดในรายการ 1406) ขอสันนิษฐาน 140

Page 13: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

(14)

สารบัญ (ตอ)

หนา

3.4 กฎหมายอาวุธปนของประเทศมาเลเซีย 1413.4.1 พระราชบัญญัติอาวุธปน 1960 (ARMS ACT 1960)

Incorporating all amendments up to 1 January 2006 142

3.4.1.1 หลักเกณฑในการขออนุญาตมีอาวุธปน การขอ อนุญาตพกพาและใชอาวุธปน 142

3.4.1.2 การขอนอนุญาต ผูมีอํานาจในการออกใบอนุญาต และอายุของใบอนุญาตอาวุธปนหรือใบอนุญาต พกพาอาวุธปน 142

3.4.1.3 ขอหามในการออกใบอนุญาต 1433.4.1.4 บทยกเวนการบังคับใช 1453.4.1.5 บทลงโทษสําหรับการครอบครองหรือถืออาวุธ

และกระสุนโดยไมมีใบอนุญาตหรือใบอนุญาต พกพา 146

3.4.1.6 บทกําหนดโทษอื่น ๆ ตามกฎหมายนี้ 1463.4.1.7 เงื่อนไขภายหลังการไดรับอนุญาต 1483.4.1.8 การฝากอาวุธและเครื่องกระสุนปนไวที่สถานีตํารวจ 1493.4.1.9 ขอหามเกี่ยวกับการใชอาวุธปน 1503.4.1.10 บทลงโทษ 151

3.5 กฎหมายอาวุธปนของประเทศออสเตรเลีย 1523.5.1 พระราชบัญญัติอาวุธปน 1996 155

3.5.1.1 สวนที่ 2 แนวคิดที่สําคัญ 1553.5.1.2 ความหมายของอาวุธปน 156

Page 14: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

(15)

สารบัญ (ตอ)

หนา

3.5.1.3 อาวุธปนตองหาม 1573.5.1.4 การซื้ออาวุธปน 1583.5.1.5 การจําหนายอาวุธปน 1593.5.1.6 สวนที่ 5 การประกาศเกี่ยวกับอาวุธปน 1593.5.1.7 สวนที่ 9 ใบอนุญาตโดยทั่วไป 1643.5.1.8 สวนที่ 11 การลงทะเบียนอาวุธปนและผูใช

อาวุธปน 1643.5.1.9 หมวด 11.2 ทะเบียนอาวุธปน 1653.5.1.10 สวนที่ 5 อัตราโทษ 166

บทที่ 4 วิเคราะหปญหาของมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมทะเบียน อาวุธปนของประเทศไทย และผลกระทบตอผูประกอบธุรกิจการคา อาวุธปนและสังคม 1704.1 สภาพปญหาของมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมทะเบียนอาวุธปน

4.1.1 ประเด็นปญหาอายุของใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนไม เหมาะสม 1734.1.2 ประเด็นปญหาการไมมีระบบควบคุมทางทะเบียนอาวุธปน ที่เหมาะสม 174

4.1.2.1 การจัดเก็บขอมูลหัวกระสุนปนและปลอกกระสุน ปนของอาวุธปนที่ไดรับใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนทุกกระบอกเพื่อจัดทําทะเบียนอาวุธปน 174

4.1.2.2 การควบคุมทางทะเบียนอาวุธปน 1801) ความหมายของชิป (Chip) 180

สารบัญ (ตอ)

Page 15: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

(16)

หนา

2) เทคโนโลยีเกี่ยวกับชิป 181(1) ชิป RFID 181

(2) เวอริชิป (VeriChip) 1833) การฝงชิป RFID ในรางกายมนุษย 1864) การนําเทคโนโลยีชิป (RFID) มาใชในระบบ

ควบคุมทะเบียนอาวุธปน 1884.1.3 ประเด็นปญหาการควบคุมจํานวนอาวุธปนที่มีใบอนุญาต ของประเทศไทยใหมีจํานวนที่เหมาะสมและการแกไข ปญหาอาวุธปนนอกระบบ (ปนเถื่อน) 1894.1.4 ประเด็นปญหาการสอบความรูความสามารถในการใช อาวุธปน 1924.1.5 ประเด็นปญหาการตรวจสภาพทางจิตในการขอใบ อนุญาตใหมีและใชอาวุธปน 193

4.2 ผลกระทบตอผูประกอบกิจการคาอาวุธปนจากการปรับปรุง มาตรการควบคุมทะเบียนอาวุธปน 195

4.2.1 มูลคาการประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนของประเทศไทย 1954.2.2 ผลกระทบในประเด็นตาง ๆ ตอการประกอบธุรกิจการคา อาวุธปนของประเทศไทย 1964.2.3 การตรวจสอบและรับฟงความคิดเห็นเกี่ยวกับการควบคุม ทางทะเบียนอาวุธปน 196 สรุปผลการตอบแบบสอบถาม 198

สารบัญ (ตอ)

หนา

Page 16: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

(17)

4.2.4 ผลกระทบที่คาดวาจะเกิดกับผูประกอบธุรกิจการคา อาวุธปน 202

4.2.4.1 ผลกระทบในทางธุรกิจที่อาจเกิดตอผูประกอบ กิจการคาอาวุธปน 203

4.2.4.2 ประโยชนสาธารณะที่จะเกิดขึ้นตอสังคมและ และประชาชนทั่วไปรวมทั้งตอประเทศชาติใน ดานตาง ๆ 2031) ดานสังคม 2032) ดานงบประมาณ 2043) ดานเศรษฐกิจ 205

บทที่ 5 บทสรุปและขอเสนอแนะ 2065.1 บทสรุป 206

5.1.1 การควบคุมอาวุธปนของตางประเทศและประเทศไทย 2065.1.2 การปรับปรุงแกไขกฎหมายวาดวยอาวุธปนเพื่อใชใน การควบคุมอาวุธปน 207

5.2 ขอเสนอแนะ 2075.2.1 ประเด็นการแกไขอายุของใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน ไมเหมาะสม 2075.2.2 ประเด็นการไมมีระบบควบคุมทางทะเบียนอาวุธปนที่

เหมาะสม 2095.2.2.1 การจัดเก็บขอมูลหัวกระสุนปนและปลอก

กระสุนปน 209

สารบัญ (ตอ)

หนา

5.2.2.2 การนําเทคโนโลยีชีป (RFID) มาใชในการ

Page 17: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

(18)

ควบคุมทะเบียนอาวุธปน 2125.2.3 ประเด็นการควบคุมจํานวนอาวุธปนที่มีใบอนุญาต ของประเทศไทยใหมีจํานวนที่เหมาะสมและการ แกไขปญหาอาวุธปนนอกระบบ (ปนเถื่อน) 213

5.2.3.1 การจํากัดจํานวนอาวุธปนใหบุคคลหนึ่งมีได เพียงสองกระบอก คือ อาวุธปนสั้นหนึ่งกระบอก และอาวุธปนยาวหนึ่งกระบอก 213

5.2.3.2 การเพิ่มโทษผูมีอาวุธปนไวในครอบครอง โดยไมไดรับอนุญาต 214

5.2.4 ประเด็นการสอบความรูความสามารถในการใชอาวุธปน 2155.2.5 ประเด็นการตรวจสภาพทางจิตในการขอใบอนุญาตให มีและใชอาวุธปน 216

5.3 สรุปผลการศึกษา 217บรรณานุกรม 218ภาคผนวก 225

- พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปนวัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ.2490 226

ประวัติผูเขียน 264

สารบัญภาพ

หนา

ภาพที่ 1 ปนที่เริ่มในศตวรรษที่ 14 เปนเสมือนปนใหญขนาดยอม 23

Page 18: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

(19)

2 Cannon Lock หรือ Hand Cannon 23

3 การยิง Cannon Lock หรือ Hand Cannon 24

4 ปนคาบชุดหั่วหลงจินของราชวงศหมิง24

5 ปนสั้นแบบลูกลอ 25 6 ปนคาบศิลา แบบ Flintlock 26 7 ปนพกอัดลม 31 8 ปนพกแบบประจุปาก 31 9 ปนพกแบบยิงทีละนัด 32 10 ปนพกแบบเดอริงเยอร ลํากลองมากกวา 1 ลํากลอง 32 11 ปนพกแบบลูกโม 33 12 ปนพกแบบออโตเมติกหรือกึ่งอัตโนมัติ 33 13 ปนพกรูปแบบอื่น ๆ แบบไฟแช็ก 2-3 ลํากลอง 34 14 ปนพกรูปแบบอื่น ๆ แบบปากกาบรรจุกระสุนยิงทีละนัด 34 15 ปนไรเฟล 35 16 ปนลูกซอง 36

17 ปนกลหนัก (heavy machine gun) 38

18 ปนกลเบา (Machine gun) 38

19 ปนเล็กกล (Automatic Rifle) 39

20 ปนเล็กยาวบรรจุเอง (Self Loadinf Rifle) 39

21 ปนเล็กสั้นบรรจุเอง (Self Loadinf Carbine) 39

22 ปนเล็กยาวจูโจม (Assault rifle) 40สารบัญภาพ

หนา

ภาพที่

Page 19: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

(20)

23 ปนกลมือ (Sub Machtine gun) 40

24 สวนประกอบของเครื่องกระสุนปน 41 25 กระสุนปนไรเฟลขนาดตาง ๆ 41 26 กระสุนปนพกขนาดตาง ๆ 42 27 ลูกกระสุนปน (Bullet) 43

28 ปลอกกระสุนปนที่ทําดวยทองเหลือง 44 29 ฐานกระสุน (Rim) 45

30 รองขอเกี่ยวปลอก (Extractor Groove) 45

31 สวนทายปลอกกระสุนปน 46 32 ดินขับ (Powder) แบบตาง ๆ 47 33 Ball powder 47

34 Flattened ball powder 48

35 Flake powder 48

36 Stick powder 49

37 จานทายของปลอกกระสุนบริเวณบรรจุแกป 50 38 ลักษณะรองรอยบนหัวกระสุน 177 39 การตรวจวิเคราะหหัวกระสุนโดยผูเชี่ยวชาญ 178 40 รูปแบบการวิเคราะหหัวกระสุน 178 41 รูปแบบการวิเคราะหหัวกระสุน 179 42 รูปแบบการวิเคราะหหัวกระสุน 179 43 ชิป RFID 181 44 ขนาดของชิป RFID 182 45 ขนาดของชิป RFID (radio-frequency identification) 186

สารบัญภาพ

หนา

Page 20: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

(21)

ภาพที่ 46 ชิบ RFID (radio-frequency identification) ฝงในฝามือมนุษย 187 47 ตําแหนงในการฝงชิปในฝามือ 187 48 ปน Armatix IP1C]t iW1 นาฬิกาขอมือที่ใชในงาน RFID 188

สารบัญตาราง

หนา

Page 21: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

(22)

ตารางที่

1 สถิติจํานวนรานคาอาวุธปน 16 2 การกําหนดจํานวนอาวุธปนสําหรับการคา 17 3 การกําหนดจํานวนเครื่องกระสุนปนสําหรับการคาตามชนิดและจํานวน 18

Page 22: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

หัวขอวิทยานิพนธ การควบคุมทะเบียนอาวุธปนและผลกระทบตอผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปน

ชื่อผูเขียน นายพิษณุ ประภาธนานันทสาขา/คณะ/มหาวิทยาลัย สาขากฎหมายธุรกิจคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเกริกอาจารยที่ปรึกษา ดร.สมบูรณ เสงี่ยมบุตรอาจารยที่ปรึกษารวม อาจารย สมคิด ใจยิ้มปการศึกษา 2558

บทคัดยอ

วิทยานิพนธฉบับนี้ ศึกษาวิเคราะหและเสนอแนะแนวทางในการกําหนด

มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมทางทะเบียนอาวุธปนของประเทศไทย โดย

มุงเนนในการแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไม

เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 ซึ่งเปนกฎหมายหลักที่ใชในการควบคุมทะเบียน

อาวุธปน ซึ่งมีความไมเหมาะสมกับสภาวการณปจจุบัน ที่จะตองมีการแกไขประเด็นที่ 1

ปญหาเกี่ยวกับใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน จึงตองแกไขอายุใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธ

ปนใหมีอายุ 5 ป ประเด็นที่ 2 การควบคุมจํานวนอาวุธปนที่มีใบอนุญาตใหมีจํานวนที่

เหมาะสม รวมทั้งการแกไขปญหาอาวุธปนนอกระบบ(ปนเถื่อน) จึงตองควบคุมจํานวน

อาวุธปนโดยใหบุคคลหนึ่งมีและใชอาวุธปนใหมีความเหมาะสมคืออาวุธปนสั้นจํานวน 1

กระบอก และอาวุธปนยาวจํานวน 1 กระบอก รวมทั้งมีการบังคับใชกฎหมายอยางเครงครัด

และมีการเพิ่มโทษเกี่ยวกับการจัดการอาวุธปนนอกระบบ (ปนเถื่อน) ประเด็นที่ 3 การ

จัดเก็บรายละเอียดของอาวุธปนโดยการเก็บขอมูลหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปน จึง

ตองนําเทคโนโลยีและคอมพิวเตอรมาใชในการเก็บขอมูลหัวกระสุนปนและปลอกกระสุน

ปน ประเด็นที่ 4 การเพิ่มมาตรการตางๆ ในการขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนใหมีความ

เขมงวดรัดกุมมากยิ่งขึ้น จึงตองเพิ่มมาตรการทดสอบความรูความสามารถในการใชอาวุธ

ปนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ มาตรการตรวจสภาพทางจิตใหเปนคุณสมบัติหนึ่งใน

(1)

Page 23: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

การขออนุญาตใหมีและใชอาวุธปน มาตรการตางๆ ที่กําหนดขึ้นจะสงผลกระทบตอผู

ประกอบธุรกิจอาวุธปนเมื่อมีการปรับปรุงหรือแกไขเพิ่มเติมกฎหมาย สรุปไดวาจะ

เกิดผลกระทบตอผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนบางแตก็เปนเพียงผลกระทบตอ

กลุมผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนจํานวนนอยเทานั้น เมื่อเทียบกับประโยชน

สาธารณะที่สังคมและประชาชนทั้งประเทศจะไดรับ

เมื่อมีการควบคุมทางทะเบียนอาวุธปน จะเกิดประโยชนตอสังคมใหมีความ

สงบเรียบรอยมากขึ้น ประหยัดงบประมาณรายจายดานการรักษาความสงบเรียบรอยและ

กระบวนการยุติธรรม สงผลดีตอระบบเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ

(2)

Page 24: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

Thesis Title Firearms control registry and theimpact on the business of arm trade

Author,Name Mr. Pitsanu PrapatananunDepartment/Faculty/University Department of Business Law

Faculty of Law , Krirk UniversityThesis Advisor Dr. Somboon SangiambutThesis Co-Advisor Professor Somkit jaiyimAcademic 2015

ABSTRACT

This dissertation analyses and suggests a set of measure in

regulating a firearms registration control in Thailand under the Act of Friearms,

Amumunition, Explosive, Firework, and the equivalent of firearms B.E.2490

(1947). The study proposes that the law should be amended in some aspects.

First, a license to own and use firearms should be limited to five years.

Second, there should be a measure to control an amount of firearms in

appropriated number, this measure includes a solution to illegal firearms

problems that involves a law enforcement and severer punishment. Third,

Information technology should be applied in a procedure of data compiling on

fiream component such as its bullet and case. Fourth,application for a license

to own and use firearms should be more strictly and carefully. Theoretical

practical and mental examination should be added in this process.

Allhough these measures would affect firearms traders and their

businesses, more benefits will be enjoyed by the society and people on social

security, criminal justice process, and economic system.

(3)

Page 25: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

บทที่ 1บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา อาวุธปนนับวาเปนศาสตราวุธท่ีทรงอานุภาพในการประหัตประหารสิ่งมีชีวิตทุก

ชนิดไดอยางเฉียบขาดและรุนแรง อาวุธปนนับเปนสิ่งประดิษฐของมนุษยที่มีทั้งคุณอนันต

และโทษมหันตอยูในตัวของมัน กลาวคือถาอาวุธปนอยูในความครอบครองของคนชั่วและ

คนชั่วดังกลาวนําเอาไปใชในการประกอบอาชญากรรม อาวุธดังกลาวยอมกอใหเกิด

ภยันตรายอยางรายแรงตอชีวิตของประชาชนผูบริสุทธิ์ที่ถูกกระทําจนถึงขั้นบาดเจ็บสาหัส

หรือเสียชีวิต และในขณะเดียวกันหากอาวุธปนอยูในความครอบครองของคนดีที่เปน

สุจริตชน อาวุธปนดังกลาวยอมสามารถใชในการปกปองชีวิตรางกายและทรัพยสินของ

บุคคลดังกลาวพรอมทั้งครอบครัวไดอยางมีประสิทธิภาพเชนกัน

สังคมไทยปจจุบัน เปนสังคมที่เห็นคุณคาทางวัตถุมากกวาคุณคาทาง

จิตใจ ยิ่งพัฒนาไปเทาใด จะยิ่งเกิดปญหาจากการพัฒนาเทานั้น ยิ่งมีวัตถุสนองความ

ตองการมากเทาใดยิ่งไมรูจักอิ่ม ไมรูจักพอ คนไทยในยุคโลกาภิวัตนจึงมีปญหาทางจิต

เกิดขึ้นมากมาย เชน มีพฤติกรรมการแสดงออกที่รุนแรง ขาดเมตตา ทั้ง ๆ ที่

พระพุทธศาสนาสอนวา เมตตาธรรมเปนเครื่องค้ําจุนโลก ทําใหคนไทยยุคใหมตกเปน

ทาสของประเทศทุนนิยมที่ผลิตเครื่องอุปโภคบริโภคมาเปนเหยื่อลอ ทําใหมนุษยเกิด

กิเลสอยากมีอยากได สนับสนุนใหเกิดคานิยมบริโภคผานสื่อตางๆ โดยปราศจากการ

ควบคุม เมื่อเกิดความอยากมี อยากได แตไมมีเงินซื้อจะกระทําทุจริต ลักเล็กขโมยนอย

ฉกชิงวิ่งราวดังที่เปนขาวอยูเสมอ สังคมปจจุบันจึงไรความมีน้ําใจ มนุษยชอบหมกมุนใน

กามคุณ เปนที่รวมสิ่งยั่วยุทางเพศ สื่อลามกตาง ๆ มากมาย มีสิ่งมอมเมาในรูปแบบ

การพนันตางๆ อีกมาก เสพสิ่งเสพติด เชน บุหรี่ ยาบา ยาไอซ เมื่อสังคมไทยตกอยูใน

สภาพแวดลอมทางสังคมเชนน้ี จึงหมกมุนจนถอนตัวไมขึ้น อีกทั้งคนสวนใหญคิดวา การมี

ความพรอมทางวัตถุจะทําใหชีวิตมีความสงบสุข จึงชอบวิ่งตามวัตถุ ไขวควาหามาบํารุง

ชีวิต สิ่งใดที่ยังไมมีเหมือนคนทั่วไปจะพยายามดิ้นรนหามา สิ่งที่มีอยูแลวก็ใหมีมาก

Page 26: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

2

กวาเดิม ถึงกับกูหนี้ยืมสินมาซื้อหา ที่ถลําลึกอาจถึงขั้นทุจริตคิดมิชอบตอหนาที่การ

งาน1

ในสังคมไทยปจจุบันมีความเหลื่อมล้ํากันในดานรายได โดยปจจุบันธนาคาร

เครดิตสวิส เปดเผยรายงานความมั่งคั่งของโลกวาประเทศไทย ติดอันดับ 6 ของประเทศ

ที่มีการกระจายรายไดไมเปนธรรมของโลกในป ค.ศ.2014 โดยเศรษฐีที่มั่งคั่งที่สุดใน

ประเทศที่มีอยูเพียง 10 % ของประเทศนั้น ครองความมั่งคั่งทั้งหมดคิดเปนถึง 75 %

ของทั้งประเทศ ซึ่งปรับเพิ่มขึ้นจากป ค.ศ.2013 ที่อยูที่ 73.8 % และจัดอยูในกลุม

ประเทศ ที่มีอัตราการกระจายรายไดไมเปนธรรมสูง คือ เศรษฐีถือสินทรัพยมากกวา 70 %

นอกจากนั้น การกระจายรายไดอยางไมเปนธรรมของไทยในชวงระหวางป ค.ศ.2007-2014

ถือวามีความรุนแรงและเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว โดยในป ค.ศ.2007 เศรษฐีมั่งคั่งที่สุด 10 %

ถือสินทรัพยอยูที่ 69.3 % เทานั้น กอนที่จะเพิ่มเปน 75 % ในปลาสุดนี้ ขณะที่เมื่อเทียบ

กับกลุมประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ปรากฏวาไทยอยูในอันดับ 3

ประเทศที่มีการกระจายรายไดไมเปนธรรมรองจากสาธารณรัฐอินโดนีเซียและ

สาธารณรัฐฟลิปปนส สําหรับอันดับ 1 ของโลกไดแกสหพันธรัฐรัสเซีย โดยเศรษฐี 10 % ที่

ร่ํารวยที่สุดของประเทศถือครองความมั่งคั่งคิดเปนถึง 84.8 % ของทั้งหมดของประเทศ

สวนอันดับ 2 คือ สาธารณรัฐตุรกีที่ 77.7 % อันดับ 3 เขตปกครองพิเศษฮองกง 77.5 %

อันดับ 4 สาธารณรัฐอินโดนีเซีย 77.2 % และอันดับ 5 สาธารณรัฐฟลิปปนส 76 % อันดับ 7

ไดแก สหรัฐอเมริกา 74.6 % อันดับ 8 ไดแก สาธารณรัฐอินเดีย 74 % อันดับ 9 สาธารณรัฐ

อาหรับอียิปต 73.3 % และอันดับ 10 คือ สหพันธสาธารณรัฐบราซิล 73.3 % สําหรับ

ประเทศท่ีมีการกระจายรายไดเปนธรรมมากที่สุดของโลกนั้น คือเศรษฐีถือสินทรัพยนอย

กวา 50 % ไดแก ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม ซึ่งเศรษฐี 10 % ไดถือครองความมั่งคั่งคิด

เปนเพียง 47.2 % ของความมั่งคั่งทั้งหมดของประเทศ ตามมาดวยประเทศญี่ปุนที่

1 สํานักพัฒนาการประชาสัมพันธ ปญหาสังคมไทยในปจจุบัน [Online] Available URL:

http://hq.prd.go.th/PRTechnicalDM/ewt_news.php?nid=1619. 27 ตุลาคม 2557

Page 27: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

3

เศรษฐีถือสินทรัพยอยู 48.5 % ซึ่งทั้งสองประเทศนี้ถือเปนประเทศที่มีการกระจาย

รายไดเปนธรรมมากที่สุดในโลก2

จากสภาพสังคมของประเทศไทยที่เต็มไปดวยความเหลื่อมล้ําดังที่ไดกลาวมาแลว

ทําใหสังคมมีการแขงขันกันทํางาน การศึกษา และความเปนอยูที่ดี ประกอบกับประเทศ

กําลังพัฒนาไปในทางดานเทคโนโลยี วัตถุนิยมกําลังแพรหลายเขาสูสังคมเมืองและ

ชนบท ซึ่งเปนสิ ่งที ่ตองการและเปนปจจัยที่สําคัญของประชาชนและสังคมนั้น การ

ทํางานและการชี้วัดความเปนอยูจึงทําใหเกิดความเครงเครียดกับบุคคลทุกกลุมทุก

สถานะของสังคม บุคคลที ่ม ีอยู แลวก็จะสะสมใหมีมากขึ้น บุคคลที่ไมมีก็จะตอง

พยายามเสาะแสวงหาทั้งทางสุจริตและไมส ุจร ิต จ ึง เกิดมีการแยงชิงกัน คดี

อาชญากรรมไดเกิดขึ้นทั้งที่ปรากฏในหนาหนังสือพิมพ วิทยุ และโทรทัศน แทบทุกวัน

ทําใหประชาชนและสังคมเกิดความรูสึกไมอบอุ นหรือเกิดความไมมั ่นใจในความ

ปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสินของตนเอง และครอบครัว สิ่งหนึ่งที่เปนเครื่องมือในการ

ประกอบอาชญากรรม คืออาวุธปน และสิ่งหนึ่งที่บุคคลสวนใหญมักจะนึกถึงเปนที่พึ่ง

อันดับแรกเพื่อปองกันชีวิตและทรัพยสินของตนก็คืออาวุธปน

จากการที่อาวุธปนเปนอาวุธที่มีอานุภาพรายแรง มีประสิทธิภาพในการ

ทําลายลางประหัตประหาร ทําอันตรายตอรางกาย และชีวิตผูอื่นไดอยางเฉียบขาดรุนแรง

มีอํานาจทําลายลางสูงกวาอาวุธชนิดอื่น อาวุธปนสามารถนําไปใชใหเกิดประโยชน

ในทางที่ดี เชน ประชาชนหรือบุคคลพลเมืองดีทั่วไปขออนุญาตมีและใชอาวุธปนเพื่อ

ปองกันชีวิตและทรัพยสินตนเอง หรือนําไปใชในการแขงขันกีฬาหรือใชในการเก็บสะสม

ก็ได ถาเปนเจาพนักงานฝายปกครอง หรือตํารวจก็ใชอาวุธปนในการจับกุมผูราย เพื่อ

รักษาความสงบเรียบรอยของสังคม ถาเปนทหารก็ใชอาวุธปนในการตอสูกับขาศึก ศัตรู

เพื่อปองกันประเทศ ในทางกลับกันอาวุธปนก็อาจนําไปใชในทางที่ไมดีที่เปนโทษ เชน

โจรผูรายนําไปกออาชญากรรม จี้ ปลนทรัพยของผูอื่น หรือนําไปเปนเครื่องมือใน

การประหัตประหารกันในกรณีเกิดทะเลาะวิวาท แมแตการนําอาวุธปนมาใชในการ

2 Post today [Online] Available URL : http://www.posttoday.com/รอบโลก/ขาวรอบโลก/

325175/ไทยรั้งอันดับ 6 โลกรวยกระจุกจนกระจาย. 27 ตุลาคม 2557

Page 28: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

4

กอความวุนวายขึ้นในบานเมือง ดวยเหตุนี้รัฐจึงมีความจําเปนในการออกกฎหมายมา

ควบคุมในการมีและใช หรือในการประกอบธุรกิจของรานคาอาวุธปน ซึ่งเปนมาตรการ

ทางสังคมและเศรษฐกิจที่จะนํามาสูความสงบสุขและเรียบรอยของสังคม

การใชอาวุธปนที่มีอานุภาพรายแรงกออาชญากรรม เปนปญหาที่สรางความ

เสียหายตอชีวิตและทรัพยสินใหกับชาวโลกนานาประเทศเปนอันมาก ตัวอยางเชน

ประเทศสหรัฐอเมริกาเปนประเทศที่มีความเจริญดานการศึกษา วัฒนธรรม มีสิทธิและ

เสรีภาพสูง และมีเทคโนโลยีดานอาวุธปนสูงเชนเดียวกัน แตปญหาในการใชอาวุธ

ปนในการกออาชญากรรมก็ไดสรางความเสียหายและกระทบกระเทือนตอจิตใจชาว

สหรัฐอเมริกาเปนอยางยิ่ง3 เชน

1. วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2527: เจมส ฮิวเบอตี้ วัย 41 ป กอเหตุกราดยิง

ภายในรานแมคโดนัล ในรัฐแคลิฟอรเนีย ทําใหมีผูเสียชีวิต ผูใหญ 21 ศพ เด็ก 5 ศพ และ

ผูบาดเจ็บอีก 19 คน กอนจะถูกทําการวิสามัญโดยตํารวจนักแมนปน หลังจากกอเหตุ 1

ชั่วโมงจากการสอบสวนพบวา เจมส ถูกแมบังเกิดเกลาทอดทิ้ง ทําใหเขาเกิดความรูสึก

มืดมนในชีวิต โดยกอนเกิดเหตุ เจมสบอกกับภรรยาของเขาสั้นๆ วา "จะออกไปลา

มนุษย"

2. วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2534: จอรจ เฮนนารด อายุ 35 ป กอเหตุขับรถ

กระบะพุงชนกําแพงรานกาแฟ Luby กอนจะกราดยิงกลุมคนประมาณ 50 คน ทําใหมี

ผูเสียชีวิต 23 ศพ จอรจยิงปะทะกับตํารวจกอนจะตัดสินใจฆาตัวตาย หลังการ

สอบสวนพบวา จอรจเปนกะลาสีเรือที่วางงาน และมีลักษณะนิสัยที่ไมเปนที่ชื่นชอบ

ในกลุมผูหญิง ผูเห็นเหตุการณกลาววา จอรจเดินผานกลุมผูชายเขาไปเล็งเปากราดยิง

ผูหญิง ทําใหผูเสียชีวิตสวนใหญเปนผูหญิง

3. วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2542: ดีแลน เคลโบลด วัย 17 ป และ เอริค ฮาริส วัย 18 ป

พกปนและระเบิดเขาไปกราดยิงในโรงเรียนมัธยมโคลัมไบน ในเมืองลิตเติลตัน เมือง

โคโลราโด ทําใหมีผูเสียชีวิต 13 ศพ และมีผูไดรับบาดเจ็บ 23 คน กอนทั้งคูจะตัดสินใจฆา

3 AEC NEWS [Online] Available URL http://www.aecnews.co.th/politic_sreport/read/612

ยอนรอยเหตุการณกราดยิงในอเมริกา ดินแดนแหงเสรีชน. 27 ตุลาคม 2557

Page 29: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

5

ตัวตาย โดยลักษณะการสังหาร และการพกพาอาวุธของทั้งคู ทําใหมีการตั้งขอ

สมมติฐานถึงสาเหตุการลงมือวาอาจเกิดจากการเลนเกมคอมพิวเตอร ที่ทั้งสอง

จินตนาการวาโลกแหงความเปนจริงนั้น (Reality) เปนดั่งเกมคอมพิวเตอร โดยเฉพาะ

เกมแนวสงครามที่ตัวละครเดินไปตามซอกตึกแลวไลทําคะแนนสรางยอดฆาคน

4. วันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2550: นายโช ซึงฮุย นักศึกษาชาวเกาหลีใตวัย

23 ป ไดกอเหตุกราดยิงผูคนจนลมตายกวา 33 คน และบาดเจ็บอีกนับไมถวน ใน

มหาวิทยาลัยเวอรจิเนียเทค เมืองแบล็กสเบิรก และไดฆาตัวตายหลังจากนั้น โชไดบันทึกภาพ

การสังหารไว กอนสงใหสถานีโทรทัศนเอ็นบีซี สหรัฐฯ โดยไมทราบเหตุผลวาเหตุใดนาย

โชถึงเลือกสงพัสดุมาที่สถานีเอ็นบีซีทั้งนี้ โชไดระบายความคับแคนใจดวยภาษาที่คลุม

คลั่ง โกรธแคนตอตานสังคม และมหาวิทยาลัยอเมริกันอยางรุนแรง ท้ังนี้ นายโช ถูกพบวา

มีปญหาสภาวะทางดานจิต และสวนหนึ่งอาจมาจากพฤติกรรมเลียนแบบหนังเกาหลีที่ชื่อ

วา "Oldboy" โอลดบอย-เคลียรบัญชีแคนจิตโหด ซึ่งหนังดังกลาวออกแนวฆาตกรรม

5. วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2552: ไมเคิล แมคเลนดอน อายุ 28 ป จากคินสตัน รัฐ

อลาบามา ไดกอเหตุสังหารมารดา ญาติมิตร และคนอื่นๆ ตายกวา 10 คน กอนฆาตัว

ตายตามหลังจากที่ถูกตํารวจไลลา โดยคาดวาไมเคิลอาจมีปญหาดานสภาพจิตใจที่มา

จากที่ทํางาน ทั้งๆ ที่หนึ่งในผูที่คุนเคยกับไมเคิล กลาววาเขาเปนเด็กหนุมที่เงียบ

แตสุภาพเรียบรอย ไมเคยมีปญหากับใคร

6. วันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2552: นายจิเวอรลี หวอง อายุ 41 ป กราดยิงผูคน

จนเสียชีวิต 13 คน บาดเจ็บ 4 คน ในศูนยอพยพของเมืองบิงแฮมตัน นิวยอรก สถานที่ที่

เขาเขาไปเรียนภาษาอังกฤษกอนถอนวิชาเรียนออกไป โดยนายหวองเขาไปกราดยิง

ทั้งครูและอดีตเพื่อนรวมชั้นของเขา กอนจะยิงตัวตาย

7. วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552: นายนิดาล มาลิก ฮาซาน อายุ 39 ป กราดยิง

ผูคนลมตายกวา 13 คน บาดเจ็บ 32 คน ที่ฐานทัพฟอรตฮูด รัฐเท็กซัส กอนถูกจับ

ขอหาดวยฆาตกรรม 13 รายโดยไตรตรองไวกอน และพยายามฆาคนอีก 32 คน

8. วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2555: เจมส โฮลมส อายุ 24 ป พรอมดวยอาวุธ

ครบมือ กราดยิงที่โรงภาพยนตรในเมืองออโรรา รัฐโคโลราโด มีผูเสียชีวิตกวา 12 คน

บาดเจ็บ 58 คน เขาถูกจับดวยขอหาความผิดอุกฉกรรจ 152 กระทง รวมทั้งฆาตกรรม

Page 30: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

6

และใชอาวุธกระทําการประทุษรายตอผูอื่น ขณะนี้กําลังรอการไตสวน โดยจากการ

สอบสวนทําใหทราบวาเจมสมีปญหาทางจิต

9. วันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2555: อดัม แลนซา อายุ 20 ป พกพาอาวุธปน

เขาไปกราดยิงในโรงเรียนประถมแซนดี้ ฮุก ในเมืองนิวทาวน รัฐคอนเนตทิคัต ทําใหมี

ผูคนเสียชีวิตกวา 30 คน ซึ่งเปนเด็กเสียสวนใหญ ทั้งนี้ อดัมยังไดสังหารแมของตัวเอง

ที่บานพัก กอนพกอาวุธปนเขามากอเหตุในโรงเรียนดังกลาว จากการสอบสวนพบวา

อดัมมีความผิดปกติดวยอาการแอสเพอรเกอร ซินโดรม (Asperger's Syndrome)

ที่ทําใหประสบปญหาในการเขาสังคม แตทางดานผูเช่ียวชาญกลับชี้แจงวาไมนาจะเกี่ยวกัน

จึงไมอาจกลาวไดเลยวา การผิดปกติดวยอาการแอสเพอรเกอรเปนสาเหตุของการใช

ความรุนแรงครั้งนี้

10. วันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2556: อารอน อเล็กซิส วัย 34 ป จากฟอรทเวิรท รัฐ

เทกซัส ซึ่งเคยเปนกําลังพลสํารองของกองทัพเรือ กอเหตุกราดยิงฐานทัพเรือสหรัฐใน

กรุงวอชิงตัน ดีซี สงผลใหมีผูเสียชีวิต 13 ศพ มีผูบาดเจ็บอีกกวา 8 ราย สําหรับแรงจูงใจ

ในการกอเหตุยังไมทราบแนชัด โดยเจาหนาที่คาดวาอาจเกิดจากความเครียดรวมไปถึง

นายอารอน เปนคนอารมณรอน ซึ่งเขาเคยถูกจับหลายครั้งในคดีที่เกี่ยวของกับปน และ

ทําผิดวินัยของกองทัพเรืออยูเปนประจํา อยางไรก็ตามอารอนกลับเปนผูสนใจศึกษา

ศาสนาพุทธอยางลึกล้ํา และนั่งสมาธิอยูบอยๆ

11. วันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556: พอล อันโทนี เซียนเซีย วัย 23 ป ควงปนบุก

เขาไปกราดยิงในสนามบินเมืองลอสแองเจลิส สงผลใหเจาหนาที่รักษาความปลอดภัย

สนามบิน (TSA) เสียชีวิต 1 นาย กอนที่เจาหนาที่จะระดมยิงใสนายเซียนเซีย สงผลให

ไดรับบาดเจ็บสาหัส และเสียชีวิตในที่สุด หลังเกิดเหตุมีการคนเจอขอความที่พอล ระบุ

วา "ตั้งใจสังหารเจาหนาที่ TSA ที่มีความออนแอในการรักษาความปลอดภัย" และ

"หากเขาสามารถฆาเจาหนาที่ TSA ไดสักคน ภารกิจของเขาถือวาประสบผลสําเร็จแลว" ทั้งๆ

ที่คนรอบขางตางกลาวเปนเสียงเดียวกันวา พอลเปนคนที่มีบุคลิกนิ่งเงียบ และไมเคยมี

ประวัติอาชญากรรมใดๆ

Page 31: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

7

สวนในเมืองไทยซึ่งนับเปนเมืองแหงพระพุทธศาสนา มีวัฒนธรรมและการ

ใชชีวิตที่เรียบงายไมเบียดเบียนกัน ก็ยังมีการใชอาวุธปนในการทําลายลางชีวิตของ

คนไทยเชนกันและนับวันก็มีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะดังเชนเหตุการณ ดังตอไปน้ี

1. เม่ือวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2557 เวลาประมาณ 21.30 น. เกิดเหตุคนราย

ปาระเบิดและกราดยิงใสเวทีชุมนุมคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลง

ประเทศไทยใหเปนประชาธิปไตยที่สมบูรณอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

จังหวัดตราด ที่ตลาดยิ่งเจริญ หมู 1 ตําบลแสนตุง อําเภอเขาสมิง จังหวัดตราด โดยขณะ

เกิดเหตุมีผูชุมนุมนั่งฟงการปราศรัยกวา 500 คน โดยพยานที่เห็นเหตุการณระบุวา

กลุมคนรายใชรถกระบะจํานวน 2 คัน ประกอบดวยดวยรถกระบะโตโยตา สีบรอนซ

และรถกระบะมิตซูบิชิ สีขาว ขับเขามาใกลกับเวทีปราศรัย กอนที่คนรายที่อยูในรถ

กระบะมิตซูบิชิ จะขวางระเบิดเขาใสกลุมผูชุมนุมกอนที่จะระดมยิงดวยอาวุธปนหลาย

ชนิด หนวยกูภัยรายงานวา ผูบาดเจ็บจากเหตุดังกลาวจํานวน 41 ราย มีอาการสาหัส 4

ราย โดยผู ไดร ับบาดเจ็บทั้งหมดถูกสงไปยัง โรงพยาบาลเขาสมิง โรงพยาบาล

ตราด และโรงพยาบาลกรุงเทพตราด ขณะที่แพทยสาธารณสุข จังหวัดตราด ระบุวา

ผูบาดเจ็บบางสวนสามารถเดินทางกลับบานไดแลว แตยังมีผู ที ่ตองพักรักษาตัวอยูที่

โรงพยาบาลทั้ง 3 แหงรวม 19 ราย ในจํานวนนี้มีเด็กหญิงอายุ 8 ขวบไดรับบาดเจ็บ

อาการสาหัสซึ่งไดนําเขารักษาที่โรงพยาบาลตราดและตอมาไดเสียชีวิตแลว จากการ

ตรวจสอบที่เกิดเหตุ เบื้องตน เจาหนาที่ตํารวจระบุวาคนรายมีการใชอาวุธปนหลายขนาด

ประกอบดวยอาวุธปน 11 ม.ม. อาวุธปนลูกซอง และอาวุธปนสงคราม4

2. เหตุการณยิงถลมรถ "ผูพันกระทิงแดง" อดีตรองผูบังคับการปองกันและ

ปราบปรามการทุจริต รางพรุนดับคาเกงในทองที่อําเภอบานโปง หญิงรับใชนั่งมาดวย

ไดรับบาดเจ็บ ชาวบานขับรถผานโดนลูกหลงสาหัส โดยเมื่อเวลา 07.00 น. วันที่ 27

พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 พนักงานสอบสวน สถานีตํารวจภูธรบานโปง จังหวัดราชบุรี รับ

แจงเหตุมีคนถูกยิงเสียชีวิตและบาดเจ็บ เหตุเกิดบนถนนฝงขาเขา สายเขางู-เบิกไพร หมู

4 คมชัดลึกออนไลน [Online] Available URL :

http://www.komchadluek.net/detail/20140223/179535.html. 27 ตุลาคม 2557

Page 32: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

8

3 ตําบลคุงพยอม อําเภอบานโปง จึงรายงานใหผูบังคับบัญชาทราบ จากการตรวจสอบ

ที่เกิดเหตุพบรถเกง สีบรอนซเงิน ทะเบียน 1 กน 3441 กรุงเทพฯ สภาพกระจกรถ

ดานขางแตกทั้ง 4 บาน และกระจกหนามีรอยรูกระสุนปน 2 รู ประตูดานคนขับดานขวา

หนาและหลังมีรองรอยถูกกระสุนปนยิงจนพรุนกวา 22 รู จอดอยูริมถนนดานซาย เปดไฟ

หนาและไฟฉุกเฉินทิ้งไว ตรวจสอบในรถพบศพ "ผูพันกระทิงแดง" อดีตรองผูบังคับการ

ปองกันและปราบปรามการทุจริต สภาพนอนฟุบไปทางที่นั่งดานซาย สวมเสื้อยืดสี

เหลือง กางเกงยีนส ถูกยิงดวยอาวุธปนเขารางกาย รวมกวา 15 นัด ทั้งชายโครงและ

ขาทั้งสองขางจนเสียชีวิต สวนผูบาดเจ็บคือหญิงคนรับใชอายุ 62 ป ของผูตายท่ีนั่งมาใน

รถดวย ถูกกระสุนปนเขาที่บริเวณตนขาขวาและขอมือขวา นอกจากนี้ยังพบชาย

อายุ 49 ป ที่ขับรถผานมา บริเวณที่เกิดเหตุ โดนกระสุนปนลูกหลงเขาที่ชายโครงดานขวา 3

นัด ยังอยูในความดูแลของแพทย ใกลกันพบปลอกกระสุนปนขนาด 9 ม.ม. 2 ปลอก และขนาด

11 ม.ม. 2 ปลอก ตกอยูดานขางถนน จึงเก็บไวเปนหลักฐาน5

3. เหตุการณสงกรานตเดือดกลางกรุง คนรายขี่รถจักรยานยนต ชักปนยิง

กราดแกงวัยรุนที่ตั้งกลุมเลนน้ําหนาซอยอินทามระ 29 โดยเมื่อเวลา 18.00 น. วันที่ 14

เมษายน พ.ศ. 2557 พนักงานสอบสวน สถานีตํารวจนครบาลบางซื่อ รับแจงเหตุ

มีผูถูกอาวุธปนยิงเสียชีวิต และบาดเจ็บหลายราย บริเวณปากซอยอินทามระ 29 ถนน

สุทธิสาร แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร จึงรายงานใหผูบังคับบัญชา

ทราบและเขาตรวจสอบสถานที่เกิดเหตุ พบศพชายไทยอายุ 27 ป นอนหงายจมกอง

เลือด มีบาดแผลถูกยิงดวยอาวุธปน ขนาด 11 ม.ม. เขาขมับขวาทะลุซาย 1 นัด ใกลกัน

พบรถกระบะยี่หอมิตซูบิชิ รุนสตราดา สีดํา มีรองรอยกระสุนปนยิงเขาที่ตัวถัง ประตูฝงซาย

และกระจกรถ ที่เกิดเหตุพบปลอกกระสุนปนขนาด 9 ม.ม. และ 11 ม.ม. ตกอยูกวา 10

ปลอก จึงรวบรวมเก็บไวเปนหลักฐาน นอกจากนี้ มีผูบาดเจ็บ 7 คน เปนชาย 3 คน หญิง 3

คน และเด็กชายอายุ 7 ขวบ อีก 1 ราย จึงนําสงโรงพยาบาลเปาโล เพื่อทําการรักษาอยาง

เรงดวน ตอมาเด็กหญิงอายุ 14 ป หนึ่งในผูไดรับบาดเจ็บ ไดเสียชีวิตที่โรงพยาบาลเปาโล

5 ไทยรัฐออนไลน [Online] Available URL : ttp://www.thairath.co.th/content/465882. 27

ตุลาคม 2557

Page 33: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

9

จากการสอบสวนพยานที่เกิดเหตุ ใหการวา ชวงบายไดตั้งกลุมเลนน้ําสงกรานต มีทั้ง เด็ก

เล็ก วัยรุน และผูใหญ ภายในซอยรวมกันเลน กวา 30 คน โดยมีการนําเครื่องเสียงมาเปด

เตนกันอยางเมามัน พรอมทั้งดื่มสุรา กระทั่งชวงเกิดเหตุกลุมคนรายข่ีรถจักยานยนต 2 คัน

รวม 4 คน จํารถจักรยานยนตไดเพียง 1 คัน ยี่หอฮอนดา รุนซูมเมอร เอ็กซ สีเหลือง ไมทราบ

หมายเลขทะเบียน เขามาจากถนนวิภาวดีรังสิต กอนจอดรถซอยฝงตรงขามที่ เกิด

เหตุ คนซอนเปนชาย 2 คน ชักอาวุธปนออโตเมติก 2 กระบอก กระหน่ํายิงใสเขาใน

กลุมผูตายหลายสิบนัด ทําใหกลุมแตกวิ่งกระเจิงหนีเอาตัวรอดกันอลหมาน กระทั่งกระสุน

ถูกผูตายเสียชีวิต และมีคนไดรับบาดเจ็บจํานวนหลายคน หลังกอเหตุคนรายขี่รถทะลุ

เขาซอยออกถนนวิภาวดีรังสิตหลบหนี โดยผูตายเปนลูกชายของตํารวจที่จังหวัด

สกลนคร เดินทางมาจากจังหวัดสกลนคร เพื่อมาหาเพื่อนในชวงวันสงกรานต จากนั้น

ถูกชักชวนมาเลนน้ําสงกรานตกับกลุมเพื่อนๆ6

ในปจจุบันกฎหมายของประเทศไทยที่ เกี่ยวกับอาวุธปนที่ใชบังคับคือ

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน

พ.ศ. 2490 ซึ่งปญหาเกี่ยวกับการมีอาวุธปนมีทะเบียนซึ่งเปนของผูอื่นไวในครอบครอง

หรืออาวุธปนไมมีทะเบียนไวในครอบครองนั้น ถือวาเปนการฝาฝน มาตรา 7 แหง

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธ

ปน พ.ศ. 2490 เชนเดียวกัน เพราะมาตรา 7 ใชถอยคําวา “หามมิใหผูใดทํา ซื้อ มี ใช

สั่งหรือนําเขา ซึ่งอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปน…” อาวุธปนที่ถือเปนอาวุธปนตามที่

กฎหมายกําหนดไว รวมตลอดถึงสวนของอาวุธปนตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวงไวใน

ครอบครองโดยไมไดรับใบอนุญาตทั้งสิ้น ขอแตกตางจะอยูในสวนของอัตราโทษ

กลาวคือ หากเปนการมีอาวุธปนไมมีทะเบียนมีโทษตามมาตรา 72 วรรคหนึ่ง แตหาก

เปนการมีอาวุธปนที่มีทะเบียนซึ่งบุคคลนั้นไดรับอนุญาตใหมีและใช จะมีโทษตามมาตรา 72

วรรคสาม ซึ่งกําหนดอัตราโทษไวเบากวาในกรณีแรก ดังตัวอยางดังนี้

6 ไทยรัฐออนไลน [Online] Available URL : http://www.thairath.co.th/content/338876. 27

ตุลาคม 2557

Page 34: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

10

คําพิพากษาฎีกาที่ 238/2515 จําเลยไดซื้ออาวุธปนตามแบบ ป.3 แลว แต

มิไดนําปนไปจดทะเบียนรับใบอนุญาต ป.4 ภายในเวลาที่กําหนด จําเลยจึงมีความผิด

ฐานมีอาวุธปนที่ไมมีเครื่องหมายของเจาพนักงานประทับไวในความครอบครองโดยไมได

รับอนุญาต และอาวุธปนตองถูกริบ7

คําพิพากษาฎีกาที่ 80/2545 ความผิดฐานมีอาวุธปนไมมีทะเบียนไว

ในครอบครองโดยไมไดรับใบอนุญาตกับความผิดฐานมีอาวุธปนมีทะเบียนของผูอื่น

ซึ่งไดรับใบอนุญาตใหมีและใชตามกฎหมายไวในครอบครองเปนความผิดกรรมเดียวกัน

และตองลงโทษจําเลยตามพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง

และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 มาตรา 72 วรรคหนึ่ง ซึ่งเปนบทที่มีโทษหนักที่สุดเพียง

บทเดียว8

คําพิพากษาฎีกาที่ 156/2539 โจทกบรรยายฟองในความผิดฐานมีอาวุธปน

พกไวในครอบครอง จําเลยไดบังอาจมีอาวุธปนพกชนิดออโตเมติก ขนาด .38 ซุปเปอร

จํานวน 1 กระบอก เครื่องกระสุนปน ขนาด .38 จํานวน 4 นัด และ แม็กกาซีน 1 อัน ไวใน

ครอบครองของจําเลย โดยจําเลยไมไดรับอนุญาตจากนายทะเบียนทองที่ตามกฎหมาย

โดยไมไดบรรยายฟองวามีอาวุธปน ไมปรากฏหลักฐานใบอนุญาตใหมีและใชจากนายทะเบียน

และมีเครื่องกระสุนปนไวในครอบครองและพาอาวุธปนติดตัวไปในเมืองโดยไมไดรับอนุญาต

คดีจึงตองฟงขอเท็จจริงวาอาวุธปนที่จําเลยมีไวในครอบครองและพาไปโดยไมไดรับ

อนุญาตนั้นเปนอาวุธปนมีทะเบียนของผูอื่น จําเลยจึงมีความผิดตามพระราชบัญญัติ

อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิงและสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490

มาตรา 7, 72 วรรคสาม9

คําพิพากษาฎีกาที่ 2132/2534 ขอหามีอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนไว

ในครอบครองโดยไมไดรับอนุญาต พยานโจทกเบิกความวาเห็นจําเลยใชอาวุธปนยิง

7 สรารักษ สุวรรณเสรี, อาคม ศรียาภัย ผูพิพากษา, กฎหมายและคดีอาวุธปน, (กรุงเทพมหานคร : หาง

หุนสวนแสงจันทรการพิมพ, 2553), หนา 748 เรื่องเดียวกัน, หนา 77 - 789 เรื่องเดียวกัน, หนา 79

Page 35: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

11

ผูเสียหาย และไดความจากพนักงานสอบสวนวา ในชั้นสอบสวนไดแจงขอหาวาจําเลย

มีอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนไวในครอบครองโดยไมไดรับอนุญาต และสอบถามจําเลย

ปรากฏวาจําเลยไมมีใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน จําเลยไดมานําสืบหักลางแตกลับ

เบิกความตอบคําถามคานเจือสมวา จําเลยไมเคยมีใบอนุญาตใหมีอาวุธปนไวใน

ครอบครองและไมมีใบอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตัว จึงถือไดวาโจทกไดนําสืบถึงขอหาน้ีแลว

และแมไมไดอาวุธปนมาเปนของกลางยืนยัน พยานหลักฐานของโจทกดังกลาวก็เพียงพอ

ฟงลงโทษจําเลยฐานนี้ได แตอยางไรก็ตาม เมื่อโจทกนําสืบไมไดวา อาวุธปนดังกลาวเปน

อาวุธปนที่ไมไดรับอนุญาตใหมีตามกฎหมายหรือไม จึงตองฟงเปนคุณแกจําเลยวาอาวุธปน

ที่จําเลยมีเปนอาวุธปนของผูอื่นซึ่งไดรับใบอนุญาตใหมีและใชตามกฎหมาย อันเปน

ความผิดตามพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิงและสิ่ง

เทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 มาตรา 7, 72 วรรคสาม10

การมีและใชอาวุธปนของบุคคลทั่วไปจะมีไดก็ตอเมื่อไดรับอนุญาตจากนาย

ทะเบียน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อปองกันชีวิต และทรัพยสินของตนเอง เพื่อการกีฬา เพื่อ

เก็บรักษาไว หรือเพื่อการลาสัตว โดยมีกฎหมายที่จะกําหนดคุณสมบัติของผูขอ

อนุญาตมีและใชอาวุธปนไว อาวุธปนที่ขออนุญาตมีและใชนั้น ไดมาจากการรับโอน

มรดก ซื้อมาจากรานคา หรือรับโอนมาจากบุคคลท่ีมีอาวุธปนอยูกอนแลว

จากสถิติขอมูลนั้น ปจจุบันนับถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2558 ประเทศไทย

มีจํานวนอาวุธปนที่ไดออกใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนตามพระราชบัญญัติอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 ซึ่งไดบันทึก

ขอมูลลงในคอมพิวเตอรแลว จํานวน 4,079,657 กระบอก โดยในชวงระหวางป พ.ศ.

2551 ถึง พ.ศ. 2558 มีการซื้ออาวุธปนจากรานคาอาวุธปนเปนจํานวนรวมถึง 514,391

กระบอก โดยแยกเปนอาวุธปนตามโควตาของรานคาอาวุธปนเอง จํานวน 137,736

กระบอก และท่ีเปนอาวุธปนที่รานคาอาวุธปนนําเขาตามโครงการสวัสดิการตางๆ จํานวน

376,655 กระบอก จึงสรุปไดวาที่มาของอาวุธปนในประเทศไทยสวนใหญก็คือมาจาก

รานคาอาวุธปนนั่นเอง ทั้งนี้ ยังไมรวมถึงจํานวนการมีและใชอาวุธปน เครื่องกระสุน

10 เรื่องเดียวกัน, หนา 79 - 80

Page 36: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

12

ปน ของหนวยราชการและรัฐวิสาหกิจ และการมอบใหประชาชนมีและใชอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน เพื่อชวยเหลือราชการตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2553 ซึ่งไมอยูภายใต

บังคับแหงพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่ง

เทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490

จากการที่มาตรา 23 (3) แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุ

ระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 บัญญัติใหใบอนุญาตใหมีและใช

อาวุธปนและเครื่องกระสุนปน มีอายุตลอดเวลาที่ผูรับใบอนุญาตเปนเจาของอาวุธปน

นั้น กอใหเกิดสภาพปญหาในการควบคุมทางทะเบียนอาวุธปนในประเทศไทยเปนอยาง

ยิ่ง กลาวคือในขอเท็จจริงนั้นเมื่อนายทะเบียนทองที่ออกใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน

และเครื่องกระสุนปน ใหกับเจาของอาวุธปนไปแลว การที่ใบอนุญาตดังกลาวไมมีการ

กําหนดวันหมดอายุเอาไวทําใหการติดตามตรวจสอบอาวุธปนทั่วประเทศจํานวนหลายลาน

กระบอกเปนไปไดยาก เพราะเจาของอาวุธปนจะนําอาวุธปนพรอมใบอนุญาตใหมีและใช

อาวุธปนและเครื่องกระสุนปน มาใหนายทะเบียนทองที่ตรวจสอบอีกครั้งก็ตอเมื่อจะมา

ทําการยาย หรือมีการโอนโดยการซื้อขายหรือรับมรดกเทานั้น และปญหาที่สําคัญคือ

บางครั้งเมื่ออาวุธปนกระบอกดังกลาวเกิดการสูญหายหรือถูกทําลาย แทนที่เจาของ

อาวุธปนจะแจงเหตุพรอมกับนําใบอนุญาตสงมอบใหนายทะเบียนทองที่ภายในสิบหา

วันตามมาตรา 21 แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไม

เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 เจาของอาวุธปนบางรายกลับเก็บใบอนุญาต

ดังกลาวไวและพยายามหาอาวุธปนเถื่อนที่มีรุนหรือยี่หอเดียวกันมาทําการสวม

ทะเบียนแทน หรือบางครั้งเจาของอาวุธปนบางรายก็จะใชวิธีการขายใบอนุญาต

ดังกลาวเพื่อใหบุคคลอื่นที่มีอาวุธปนเถื่อนในครอบครองอยูแลวนําใบอนุญาตไปสวม

ทะเบียนปนเถื่อนดังกลาว ซึ่งผลจากการกระทําดังกลาวขางตนสงผลใหในปจจุบันอาวุธ

ปนจํานวนไมนอยในประเทศไทยที่มีลักษณะเปนอาวุธปนเถื่อนที่สวมทะเบียนแทน

อาวุธปนที่ถูกตองตามกฎหมายไปแลว และอาวุธปนที่ผิดกฎหมายเหลานี้จํานวนหนึ่ง

อยูในความครอบครองของเหลามิจฉาชีพที่พรอมจะนําออกมาใชในการกระทําความผิด

ตางๆ ไดอยางไมลังเลใจ จึงเห็นวามีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองแกไขเพิ่มเติม

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียม

Page 37: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

13

อาวุธปน พ.ศ. 2490 ในประเด็นเกี่ยวกับอายุของใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและ

เครื่องกระสุนปน ซึ่งเดิมมีอายุตลอดเวลาที่ผูรับใบอนุญาตเปนเจาของอาวุธปน แกไขให

ใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน มีอายุคราวละหาปนับแตวันออก

และเปลี่ยนรูปแบบจากเดิมที่เปนเพียงกระดาษแผนเดียวชํารุดงายและไมสามารถบันทึก

รายละเอียดตางๆ ได เปนรูปเลมลักษณะเดียวกันกับทะเบียนบานหรือสมุดคูมือทะเบียน

รถยนต ทั้งนี้ เจาของอาวุธปนจะตองนําอาวุธปนพรอมใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน

และเครื่องกระสุนปน มาใหนายทะเบียนทองที่ตรวจสอบและตออายุใบอนุญาตทุกๆ

หาป ซึ่งจะทําใหนายทะเบียนทองที่สามารถควบคุมตรวจสอบอาวุธปนทุกๆ กระบอกที่

อยูในเขตทองที่ของตนไดอยางถูกตอง อันจะสามารถแกปญหาการนําปนเถื่อนมา

สวมทะเบียนใบอนุญาตไดอยางมีประสิทธิภาพ

นอกจากนี้ มีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติอาวุธ

ปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 ใน

ประเด็นการจัดเก็บรายละเอียดของทะเบียนอาวุธปนเสียใหม จากเดิมที่เปนเพียง

การบันทึกรายละเอียดตางๆ เกี่ยวกับอาวุธปนซึ่งไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควรเปนการ

จัดเก็บขอมูลทะเบียนอาวุธปนในรูปแบบใหมโดยอาวุธปนทุกกระบอกที่มีใบอนุญาตให

มีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน จะตองทําการยิงเพื่อจัดเก็บขอมูลรายละเอียด

หัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปนและทําการบันทึกรายละเอียดดังกลาวลงใน

ฐานขอมูลการจัดเก็บขอมูลทะเบียนอาวุธปนดวยระบบคอมพิวเตอรของกรมการ

ปกครอง กระทรวงมหาดไทย ซึ่งเมื่อการจัดทําฐานขอมูลดังกลาวเสร็จสมบูรณแลว

โดยสามารถจัดเก็บขอมูลทะเบียนอาวุธปนทุกกระบอกในประเทศไทยไดอยาง

ครบถวนแลว เมื่อใดที่มีการกระทําความผิดโดยใชอาวุธปนและเจาหนาที่สามารถเก็บ

หลักฐานหัวกระสุนปนหรือปลอกกระสุนปนในที่เกิดเหตุได เจาหนาที่สามารถสง

หลักฐานดังกลาวมาใหกลุมงานอาวุธปน สํานักการสอบสวนและนิติการ กรมการปกครอง

กระทรวงมหาดไทย ทําการตรวจสอบดวยวิธีการทางนิติวิทยาศาสตรเพื่อสืบสวนหาอาวุธปน

กระบอกที่ใชในการกระทําความผิด โดยหากอาวุธปนที่ใชในการกระทําความผิดเปน

อาวุธปนที่มีใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน ก็จะสามารถ

ตรวจสอบพบไดอยางถูกตองรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

Page 38: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

14

เพื่อเปนการปองกันมิใหเกิดความไมสงบเรียบรอยขึ้นภายในประเทศ รัฐจึงตอง

มีมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมจํานวนอาวุธปนใหมีจํานวนที่เหมาะสมไมมาก

จนเกินไป โดยกําหนดใหการประกอบกิจการเกี่ยวกับการคาอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน

ตองไดรับอนุญาตจากเจาหนาที่ของรัฐเสียกอน จึงจะสามารถดําเนินกิจการเกี่ยวกับ

อาวุธปนได เจตนาที่แทจริงคือ รัฐตองการใหการดําเนินกิจการตางๆ ที่เกี่ยวของกับอาวุธ

ปนและเครื่องกระสุนปนอยูภายใตการควบคุมของรัฐและสามารถตรวจสอบได

รานคาที่จะประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนในประเทศไทยไดนั้น จะตองไดรับอนุญาต

ใหตั้ งรานคาอาวุธปนจากทางราชการกอน จึงจะมีสิทธิในการสั่งอาวุธปนจาก

ตางประเทศเขามาจําหนาย โดยการสั่งนําเขาอาวุธปนสั้นและยาวเขามาจําหนายใน

จํานวนเทาใด การจัดตั ้งร านคา การนําอาวุธปนเขามาจําหนายของรานคามี

มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการประกอบธุรกิจทั้งกระบวนการตามที่บัญญัติไว

ในมาตรา 24 ถึงมาตรา 37 แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด

ดอกไมเพลิงและสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 ซึ่งเปนบทบัญญัติหลักของกฎหมาย

อาวุธปนที่บัญญัติขอหามเอาไววาจะตองไดรับอนุญาตจากนายทะเบียน ซึ่งรัฐโดย

เจาหนาที่ของรัฐจะตองมีการตรวจตราและควบคุมจํานวนอาวุธปนและเครื่องกระสุน

ปน เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในประเทศ และเปนการรักษา

ความสงบเรียบรอยและความมั่นคงภายในประเทศอีกดวย แตอยางไรก็ตามมีสิ ่งหนึ่งที่

ร ัฐไมสามารถเขาไปควบคุมไดค ือราคาซื้อขายอาวุธปน เนื่องจากความตองการของ

ประชาชนที่ตองการมีอาวุธปนในครอบครองมีเปนจํานวนมากแตจํานวนอาวุธปนในรานคา

มีจํานวนนอยบางครั้งไมเพียงพอแกความตองการ จึงสงผลใหปจจุบันอาวุธปนมีราคา

แพงมากเมื่อเปรียบเทียบกับวัสดุที่ผลิตและราคาที่โรงงานตั้งไว เชน ปนพกสั้นขนาด

.45 LesBear Premier II ราคา 157,900 บาท ปนพกสั้นขนาด .45 STI apeiro ราคา 175,000

บาท ปนพกสั้นขนาด .38 ซุปเปอร STI Match Master ราคา 191,000 บาท

ในการประกอบธุรกิจการคาอาวุธปน รัฐไมไดมีการจํากัดการแขงขันโดย

มอบใหตัวแทนรานคา หรือบริษัทใดบริษัทหนึ่งเปนผูแทนจําหนายแตเพียงผูเดียว แต

รัฐไดมีการเปดใหบุคคลหรือนิติบุคคลเขามาจัดตั้งรานคาและประกอบธุรกิจการคา

อาวุธได อยางไรก็ตามรัฐก็ไมไดอนุญาตใหมีการเปดรานคาอาวุธปนโดยเสรีแตมีการ

Page 39: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

15

จํากัดจําน วนร า นค า อา ว ุธ ป น ไว ไ ม ใ ห ม ีจํ านว นมา กจนเก ิน ไปด ัง ที ่ม ีคํ าสั ่ง

กระทรวงมหาดไทยที่ 109/2535 ลงวันที่ 10 กุมภาพันธ 2535 หามมิใหมีการอนุญาต

เพิ่มจํานวนรานคาอาวุธปนและหากเห็นสมควรใหสามารถลดจํานวนรานคาอาวุธปนลงได

ดวย และรัฐยังเปนผูจํากัดจํานวนอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนใหแตละรานนําเขา

มาจําหนายโดยมีจํานวนที่เทากันทุกรานเพื่อมิใหเกิดการไดเปรียบเสียเปรียบกัน

อยางไรก็ตามเพื่อใหขาราชการ เจาหนาที่ของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ สามารถซื้ออาวุธปน

มาไวใชในภารกิจของหนวยงานไดในราคาที่ไมสูงจนเกินไป หนวยงานของรัฐหลาย

แหงไดมีการจัดทําโครงการจัดหาอาวุธปนสวัสดิการเพื่อขออนุญาตนําเขาอาวุธปนเพื่อ

เปนสวัสดิการใหกับขาราชการ เจาหนาที่ของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ โดยการนําเขาอาวุธ

ปนสวัสดิการดังกลาวก็มีการมอบหมายใหรานคาอาวุธปนที่เขารวมโครงการสวัสดิการ

เปนผูดําเนินการนําเขาอาวุธปนและการจัดจําหนายใหอีกดวย

นอกจากนี้ยั งมีการกํ าหนดมาตรการในการควบคุมการนําเขาตาม

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธ

ปน พ.ศ. 2490 โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ไดมีคําสั่งกระทรวงมหาดไทยที่

108/2535 ลงวันที่ 10 กุมภาพันธ 2535 จํากัดการออกใบอนุญาตใหบุคคลสั่งหรือ

นําเขาซึ่งอาวุธปนสั้นและเครื่องกระสุนที่ใชสําหรับอาวุธปนสั้น ตองขอรับความเห็นชอบ

จากรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยกอน นายทะเบียนทองที่จึงจะอนุญาตได และ

ตองใหรานคาที่ไดรับอนุญาตใหเปนผูสั่งนําเขา และใหนับอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน

ที่นําเขารวมเขากับจํานวนโควตาของรานนั้นดวย อาจทําใหกอภาระแกบุคคลที่ตองการสั่ง

นําเขาอาวุธปนสั้นและเครื่องกระสุนปนที่ใชสําหรับอาวุธปนสั้นซึ่งจะตองไปผานรานคา

เพื่อสั่งนําเขาแทน ตองเสียเวลาและเสียคาใชจายเพิ่มขึ้นและมีผลตอรานคา ทําใหถูก

ตัดโควตาการสั่งนําเขาของตนเอง

ในป พ.ศ. 2552 รัฐไดมีการผอนผันมาตรการการจํากัดจํานวนรานคาอาวุธปน

โดยไดมีคําสั่งกระทรวงมหาดไทยที่ 289/2552 ลงวันที่ 8 กันยายน 2535 ใหสามารถเพิ่ม

รานคาอาวุธปนไดโดยตองไดรับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

กอนออกใบอนุญาต แตถึงแมจะมีกฎหมายอนุญาตใหตั้งรานคาอาวุธปนเพิ่มมากขึ้น

และยังมีการจัดทําโครงการจัดหาอาวุธปนเพื่อเปนสวัสดิการแกขาราชการพลเรือน

Page 40: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

16

ตํารวจ และทหาร ซึ่งมีการนําเขาอาวุธปนประเภทสวัสดิการใหกับขาราชการพลเรือน

ตํารวจ และทหารจํานวนมาก ในสวนของประชาชนทั่วๆไป ยังตองซื้ออาวุธปนจาก

รานคาอาวุธปนเทานั้น และจากกลไกทางการตลาดซึ่งความตองการอาวุธปนมี

มากกวาจํานวนอาวุธปนที่รานไดรับตามโควตาแตละปเปนสาเหตุของการทําใหอาวุธปน

ของรานคาอาวุธปนมีราคาสูงมาก นอกจากนี้ผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนมีการ

รวมกลุมกันในการกําหนดราคาอาวุธปนไดอยางเสรี จึงทําใหราคาอาวุธปนมีราคาสูง

มากกวาราคาตนทุนจากโรงงานผูผลิตหลายเทาตัว

จากสถิติขอมูลถึงเดือนมกราคม 2558 มีจํานวนรานคาอาวุธปนและรานประกอบ

ซอมแซมอาวุธปน ในทองที่กรุงเทพมหานคร และในทองที่ตางจังหวัด รวมถึงการกําหนด

จํานวนอาวุธปนสําหรับการคาและกําหนดจํานวนเครื่องกระสุนปนสําหรับการคาในแตละป

ดังตารางตอไปนี้

ระยะเวลา รานคาอาวุธปน

รานประกอบซอมแซมอาวุธปน

พ.ศ. กทม. ภูมิภาค

จํานวนรานคาทั้งหมด

กทม. ภูมิภาค

จํานวนรานประกอบ

ซอมแซมอาวุธปนทั้งหมด

2552 257 121 378 11 26 37

2553 260 121 381 11 26 37

2554 367 118 485 11 26 37

2555 381 121 502 11 26 37

2556 381 121 502 11 26 37

2557 381 121 502 11 26 37

ตารางที่ 1 สถิติจํานวนรานคาอาวุธปน

ที่มา : สวนรักษาความสงบเรียบรอย 1 สํานักการสอบสวนและนิติการ กรมการปกครอง

กระทรวงมหาดไทย ขอมูล ณ วันที่ 11 กุมภาพันธ 2558

Page 41: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

17

ชนิดอาวุธปน จํานวน (กระบอก)

อาวุธปนยาวทุกชนิด ไมเกินใบอนุญาตละ 50 กระบอก

อาวุธปนสั้นทุกชนิด ไมเกินใบอนุญาตละ 30 กระบอก

ตารางที่ 2 การกําหนดจํานวนอาวุธปนสําหรับการคา

ที่มา : คําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 289 / 2552 ลงวันที่ 8 กันยายน 2552 เรื่อง อนุญาต

รานคาอาวุธปน เรื่องกระสุนปน รานประกอบซอมแซมเปลี่ยนแปลงลักษณะอาวุธ

ปน และกําหนด จํานวนอาวุธปน เครื่องกระสุนปนสําหรับการคา

Page 42: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

18

ชนิดเครื่องกระสุนปน จํานวนนัด

กระสุนปนลูกโดด ทุกชนิด/ขนาด ไมเกินใบอนุญาตละ 2,000 นัด

กระสุนปนลูกซอง ทุกชนิด/ขนาด ไมเกินใบอนุญาตละ 7,500 นัด

กระสุนปนลูกกรด ทุกชนิด/ขนาด ไมเกินใบอนุญาตละ 10,000 นัด

กระสุนปนอัดลม ทุกชนิด/ขนาด ไมเกินใบอนุญาตละ 30,000 นัด

ตารางที่ 3 การกําหนดจํานวนเครื่องกระสุนปนสําหรับการคาตามชนิด ขนาด และจํานวน

ที่มา : คําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 289 / 2552 ลงวันที่ 8 กันยายน 2552 เรื่อง อนุญาต

รานคาอาวุธปน เรื่องกระสุนปน รานประกอบซอมแซมเปลี่ยนแปลงลักษณะอาวุธ

ปน และกําหนด จํานวนอาวุธปน เครื่องกระสุนปนสําหรับการคา

รัฐจะตองเขามาตรวจสอบ ควบคุม กํากับดูแล จํานวนอาวุธปนและเคร่ือง

กระสุนปนที่มีอยูภายในประเทศไทย เพื่อความปลอดภัยและรักษาความสงบเรียบรอย

ใหกับประชาชนในประเทศไทย ซึ่งในการดําเนินการดังกลาวจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมี

มาตรการทางกฎหมายเพื่อใชเปนเคร่ืองมือในการดําเนินการ แตจากอดีตจนถึงปจจุบัน

มาตรการทางกฎหมายตางๆ ที่บังคับใชอยูมีสภาพที่ไมเหมาะสมกับสภาวการณใน

ปจจุบันที ่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว ทําใหเกิดปญหาในทางปฏิบัติเปนอยางมาก

ดังนั้น เพื่อแกไขปญหาดังกลาวจึงจําเปนที่จะตองมีการศึกษาวิเคราะหและวิจัย เพื่อหา

Page 43: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

19

แนวทางและมาตรการทางกฎหมายที่เหมาะสมในการใชควบคุมจํานวนอาวุธปนและ

เครื่องกระสุนปนไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อันจะสงผลใหประชาชนมีความมั่นคง

และปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน บานเมืองเกิดความสงบเรียบรอย อีกทั้ง ยังเปนการ

ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับอาวุธปนใหเหมาะสมตอสถานการณโลกในยุคโลกาภิวัตนและ

การสื่อสารไรพรมแดนในยุคปจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วตลอดเวลา

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 1.2.1 เพื่อศึกษาประวัติความเปนมาและวิวัฒนาการของอาวุธปนและเครื่อง

กระสุนปนตลอดจนคุณลักษณะของอาวุธปนประเภทตาง ๆที่มีอยูในปจจุบัน และกฎหมาย

เกี่ยวกับการควบคุมอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนของประเทศไทยตั้งแตอดีตจนถึง

ปจจุบัน

1.2.2 เพื่อศึกษามาตรการในการควบคุมทะเบียนอาวุธปนตามพระราชบัญญัติ

อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490

1.2.3 เพื่อศึกษาหลักกฎหมายสากลและกฎหมายตางประเทศเกี่ยวกับ

การควบคุมอาวุธปน

1.2.4 เพื่อศึกษาแนวทางในการปรับปรุงหรือแกไขเพิ่มเติมกฎหมายและ

มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมทะเบียนอาวุธปนของประเทศไทยใหมีความ

เหมาะสมกับสภาวการณในปจจุบัน

1.2.5 เพื่อศึกษาผลกระทบตอผูประกอบธุรกิจอาวุธปนเมื่อมีการปรับปรุงหรือ

แกไขเพิ่มเติมกฎหมายและมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมทะเบียนอาวุธปน

1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1.3.1 ศึกษาประวัติความเปนมาและวิวัฒนาการของอาวุธปนและเครื่องกระสุน

ปนตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน

1.3.2 ศึกษาวิเคราะหวิวัฒนาการของกฎหมายวาดวยอาวุธปนและเครื่อง

กระสุนปนของประเทศไทยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน

1.3.3 ศึกษาวิเคราะหสภาพปญหาในการบังคับใชพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 เกี่ยวกับการควบคุม

ทะเบียนอาวุธปนของประเทศไทย

Page 44: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

20

1.3.4 ศึกษาวิเคราะหหลักกฎหมายสากลและกฎหมายตางประเทศเกี่ยวกับ

การควบคุมอาวุธปน

1.3.5 ศึกษาแนวทางในการปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 และมาตรการทาง

กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมทะเบียนอาวุธปนของประเทศไทย ใหมีความเหมาะสมกับ

สภาวการณปจจุบัน

1.3.6 ศึกษาผลกระทบตอผูประกอบธุรกิจอาวุธปนเมื่อมีการปรับปรุงหรือ

แกไขเพิ่มเติมกฎหมายและมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมทะเบียนอาวุธปน

1.4 สมมติฐานของการศึกษา กฎหมายหลักที่บังคับใชเกี่ยวกับการคาอาวุธปนและเครื ่องกระสุนปนของ

ประเทศไทยในปจจุบันยังมีปญหาขอบกพรองหลายประการ จึงเห็นควรศึกษาคนควา

เพื่อหามาตรการทางกฎหมายที่สามารถบังคับใชในการควบคุมทะเบียนอาวุธปนและ

เครื่องกระสุนปนไดอยางมีประสิทธิภาพ และผลกระทบตอผูประกอบธุรกิจอาวุธปนและ

สังคม

1.5 วิธีการดําเนินการศึกษา วิธีการศึกษา ใชวิธีการคนควาจากเอกสาร (documentary research) ดวยการ

คนควาและรวบรวมขอมูลทางดานเอกสารทั้งหมดที่เกี่ยวของ ซึ่งไดมาโดยการคนควา

จากหนังสือ บทความ วารสาร จุลสาร เอกสาร เผยแพรของหนวยงานตางๆ

รายงานการสัมมนา รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ กฎหมายระหวางประเทศตาง ๆการ

สัมภาษณผูเชี่ยวชาญ และบุคคลที่เกี่ยวของและวิเคราะหขอมูลจากเอกสารตางๆ ท้ังที่เปน

ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ โดยเสนอขอมูลการวิจัยในเชิงพรรณนา (descriptive

method)

1.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการศึกษา 1.6.1 ทําใหทราบประวัติความเปนมาและวิวัฒนาการของอาวุธปนและเครื่อง

กระสุนปน

Page 45: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

21

1.6.2 ทําใหทราบวิวัฒนาการของกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธปน

และเครื่องกระสุนปนของประเทศไทยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน

1.6.3 ทําใหทราบถึงสถานการณ และสภาพปญหาในการบังคับใชพระราชบัญญัติ

อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 และมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมทะเบียนอาวุธปนของประเทศไทย

1.6.4 ทําใหทราบแนวทางในการปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ

อาวุธปน เคร่ืองกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 และ

มาตรการทางกฎหมาย เพื่อใหมีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการควบคุมทะเบียน

อาวุธปนของประเทศไทยมากยิ่งขึ้น

1.6.5 ทําใหทราบผลกระทบตอผูประกอบธุรกิจอาวุธปนเมื่อมีการปรับปรุงหรือ

แกไขเพิ่มเติมกฎหมายและมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมทะเบียนอาวุธปน และ

มาตรการที่อาจตองนํามาใชในการเยียวยาผลกระทบที่เกิดขึ้น

Page 46: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

บทที่ 2วิวัฒนาการของอาวุธปน หลักกฎหมาย และแนวทาง

ในการควบคุมทะเบียนอาวุธปนของประเทศไทย

วัตถุประสงคเดิมในการสรางอาวุธปนก็เพื่อใชเปนเครื่องทํารายตอ

มนุษยและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ แตในปจจุบันอาวุธปนถูกใชเปน 2 แนวทาง คือ

1. เพื่อใชเปนเครื่องมือในการทําลายชีวิตคนและสัตว ซึ่งเปนแนวทางที่ไม

ดีและไมถูกตองตามกฎหมายและศีลธรรม

2. เพื่อใชในการคุมครองความปลอดภัยของชีวิต รางกาย และทรัพยสิน

ตลอดจนใชเพื่อการกีฬา ซึ่งเปนแนวทางที่ดี เพราะมนุษยมีสิทธิและหนาที่ในการปองกัน

ตนเองและทรัพยสิน

ปนถือวาเปนอาวุธที่มีอานุภาพรายแรงสามารถทําลายชีวิตคนและสัตวได

ทั้งในระยะไกลและระยะใกลประชิดตัว มีวัตถุประสงคในการสรางเพื่อเปนเครื่องมือ

ประหัตประหารชีวิตที่มีอานุภาพรายแรงตอมนุษยและสัตว สามารถใชยิงไดอยาง

แมนยําโดยมีลูกกระสุนปนที่ใชดินปนเปนกําลังขับดัน นอกจากนี้ในปจจุบันมีการ

พัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย เชน การใชกลองสองเล็งเปาโดยใชแสงเลเซอร การใชกลอง

เล็งเปาที่สามารถมองเห็นเปาหมายไดในเวลากลางคืน และยังมีการพัฒนาลูกกระสุนปน

อีกมากมายหลายแบบ ทําใหปนเปนเครื่องมือในการทําลายลางชีวิตของมนุษยที่มี

ประสิทธิภาพและหวังผลไดมากยิ่งขึ้น

2.1 วิวัฒนาการของอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน

2.1.1 อาวุธปนและเครื่องกระสุนปน (Firearms and Ammuntion) วิวัฒนาการของปน เริ่มแรกโดยชาวจีนไดคนพบดินปนครั้งแรกที่หมูบานฮั่ว

ฉิงและไดมีการเลนดอกไมไฟกันอยางแพรหลายในประเทศจีน ตอมาเมื่อชาวสเปน

ไดมาติดตอคาขายกับชาวจีนก็ไดนําไปแพรหลายในยุโรปในราวป ค.ศ.1130 และ

ตอมาในป ค.ศ.1260 ชาวจีนไดคิดคนปนที่ทําจากโลหะเปนครั้งแรก ในปลายศตวรรษ

ที่ 14 ไดเริ่มมีการผลิตปนประจุปากที่ใชยิงดวยมือโดยกระบอกเปนโลหะทรงกระบอกปลาย

ขางหนึ่งตัน มีรูเล็กเจาะไว เมื่อบรรจุดินปนเขาไป

Page 47: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

23

ทางปากลํากลองแลวอัดใหแนนดวยหมอนกระสุนแลวใสลูกกระสุนเขาไป เวลาจะยิงก็

ใชไฟจุดเขาที่รูที่เจาะไว ซึ่งปนประจุปากในสมัยเริ่มแรกนี้เรียกวา Cannon Lock หรือ

Hand Cannon1

ภาพที่ 1 ปนที่เริ่มในศตวรรษที่ 14 เปนเสมือนปนใหญขนาดยอม

ใชงานไมสะดวก มือขางหนึ่งถือปน อีกขางหนึ่งถือไฟไวจุด

ที่มาภาพจากความรูเรื่องอาวุธปนเบื้องตน รวบรวมโดย พ.ต.ท.ศุภฤกษ อาภรณรัตน (4

สิงหาคม 2558)

ภาพที่ 2 Cannon Lock หรือ Hand Cannon

ที่มาภาพจากความรูเรื่องอาวุธปนเบื้องตน รวบรวมโดย พ.ต.ท.ศุภฤกษ อาภรณรัตน (4

สิงหาคม 2558)

1 ความรูเรื่องอาวุธปนเบื้องตน รวบรวมโดย พ.ต.ท.ศุภฤกษ อาภรณรัตน นักนิติวิทยาศาสตร 8 ว.

กลุมตรวจสอบอาวุธปนและฟสิกสสํานักนิติวิทยาศาสตรบริการ สถาบันนิติวิทยาศาสตร

Page 48: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

24

ภาพที่ 3 การยิง Cannon Lock หรือ Hand Cannon

ที่มาภาพจากความรูเรื่องอาวุธปนเบื้องตน รวบรวมโดย พ.ต.ท.ศุภฤกษ อาภรณรัตน (4

สิงหาคม 2558)

เมื่อคริสตศตวรรษที่ 16 ก็เริ่มมีการประดิษฐปนสั้นขึ้นและในชวงกลาง

คริสตศตวรรษที่ 17 ปนคาบศิลาก็ไดเขามาแทนที่หอกยาวซึ่งเคยเปนอาวุธหลักของ

ทหารราบในสมัยนั้น ปนคาบศิลาในสมัยศตวรรษที่ 16 เรียกวาอารกิวบัส (Arquebus)

หรือปนคาบชุด กลไกของปนชนิดนี้คือใสดินปนลงบนจานดินปนแลวใสกระสุนกลมๆ

และดินปนทางปากกระบอกปนแลวกระทุงใหดินปนและกระสุนไปอยูในรังดินปนทาง

ทายลํากลอง เมื่อเหนี่ยวไกก็จะมีเหล็กรูปงูตีที่จานดินปนจะเปนการจุดสายชนวนไปท่ี

ทายลํากลองทําใหดินปนระเบิดขึ้น แรงระเบิดจะทําใหกระสุนพุงออกไปทางปากลํากลอง

อยางรวดเร็ว2

ภาพที่ 4 ปนคาบชุดหั่วหลงจิงของราชวงศหมิง

ที่มาภาพจาก วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี https://th.wikipedia.org/wiki/ 4

สิงหาคม 2558

2 วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ปนคาบศิลา [Online] , Available URL https://th.wikipedia.org/wiki/ปน

คาบศิลา. 4 สิงหาคม 2558

Page 49: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

25

ในชวงเวลาเดียวกันนี้ก็มีการพัฒนาปนคาบชุดเปน "ปนสั้นแบบลูกลอ"

(Wheellock) แตอยางไรก็ดีปนคาบชุดก็มีขอเสียอยูมากเชน บรรจุกระสุนชา มีความ

แมนยํานอย ไมสามารถใชไดเมื่ออากาศชื้นเพราะจะทําใหจุดชนวนดินปนไมติด แต

อยางไรก็ตามปนคาบชุดก็เปนสิ่งที่เปลี่ยนโฉมหนาสงครามของยุโรป และทําใหกษัตริย

ยุโรปมีสถานภาพมั่นคงขึ้นเพราะทําใหมีผูกอกบฏยากเนื่องจากสงครามที่ใชปนไฟจะเสีย

คาใขจายในการรบสูงมาก ปนคาบชุดสามารถทําใหอาณาจักรที่สําคัญลมสลาย เชนอิน

คา เอซเท็ค เปนตนแตมันก็สามารถสรางอาณาจักรใหมีเอกราชได เชน จักรวรรดิ

รัสเซียสามารถใชปนไฟขับไลมองโกลออกไปไดแลวสถาปนาราชวงศโรมานอฟ

(romanov) ขึ้น ตอมาไดมีการดัดแปลงปนคาบชุดใหพกพาไดสะดวกขึ้นเปนปนสั้นซึ่งเปน

ที่นิยมของทหารมาในสมัยนั้น3

ภาพที่ 5 ปนสั้นแบบลูกลอ

ที่มาภาพจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ปนคาบศิลา https://th.wikipedia.org/wiki. 4 สิงหาคม

2558

ในชวงกลางศตวรรษที่ 17 ไดมีการพัฒนาปนไฟแบบคาบชุด ใหเปนปนคาบ

ศิลา (Flintlock อานวาฟรินทล็อก) ขึ้น ซึ่งมีกลไกคือใสหินเหล็กไฟที่ตัวนกของปนแลว

บรรจุกระสุนและดินปนทางปากกระบอกแลวกระทุง จากนั้นเมื่อเหนี่ยวไกเหล็กรูปนก

สับหินเหล็กไฟทําใหเกิดประกายไฟลามไปที่รังดินปนทางทายกระบอกทําใหดินปน

ระเบิดและผลักกระสุนใหพุงไปขางหนา ตอมาอาวุธชิ้นนี้ไดกลายเปนอาวุธหลักของ

กองทัพยุโรปและอเมริกา เมื่อศตวรรษที่ 19 ซึ่งเปนยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมไดมีการ

ประดิษฐเกลียวในลํากลองทําใหกระสุนพุงไปขางหนาในแนวตรง มีพิสัยไกลกวาเดิม และมี

ความแมนยํามากขึ้น และมีการประดิษฐแกบในตัวปนทําใหไมตองคอยใสดินปนอีกตอไปเห็น

3 วิก ิพ ีเด ีย สาราน ุกรมเสร ี ป นคาบศิลา [Online] , Available URL

https://th.wikipedia.org/wiki/ปนคาบศิลา. 4 สิงหาคม 2558

Page 50: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

26

ไดจากสงครามไครเมีย การมีกลองเล็งซึ่งทําใหมองเห็นเปาหมายในระยะที่ใกลและแมนยํา

ทําใหเกิดหนวยซุมยิงขึ้น เห็นไดจากสงครามกลางเมืองอเมริกา4

ภาพที่ 6 ปนคาบศิลา แบบ Flintlock

ที่มาภาพจากความรูเรื่องอาวุธปนเบื้องตน รวบรวมโดย พ.ต.ท.ศุภฤกษ อาภรณรัตน (4

สิงหาคม 2558)

2.1.2 วิวัฒนาการอาวุธปนของประเทศไทย จากหลักฐานทางประวัติศาสตรพบวาประเทศไทยมีการนําอาวุธปนที่เดิม

เรียกกันวาปนไฟมาใชตั้งแตมีการติดตอทางการคากับประเทศโปรตุเกส โดยชาว

โปรตุเกสไดนําปนไฟเขามาในประเทศไทยในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 (ครองราชย

พ.ศ. 2034 - พ.ศ. 2072) โดยเฉพาะในสมัยสมเด็จพระชัยราชาธิราช (ครองราชย พ.ศ.

2076 - พ.ศ. 2089) มีการจางกองพลปนไฟและทหารรับจางชาวโปรตุเกสเขามา

เปนทหารในราชสํานัก ปนที่นําเขามามีสองแบบหลักๆ คือ ปนไฟแบบพกพาซึ่งเปนปน

ขนาดสั้น บรรจุกระสุนทีละ 1 นัด ใชยิงในระยะกลาง และปนคาบศิลาเปนปนยาว

ที่ออกแบบมาใหยิงในระยะไกล5 ซึ่งในรัชสมัยของสมเด็จพระชัยราชาธิราช ไทยไดนํามาใชสู

รบกับพมาจนไดรับชัยชนะอยางงายดายในป พ.ศ. 2089 จนมีการตั้งกองอาสาโปรตุเกส

ขึ้นมาเพื่อทําหนาที่สูรบโดยใชอาวุธปนไฟ และสอนการใชอาวุธปนไฟใหกับชาวไทย

และหลังจากนั้น 2 ป (พ.ศ. 2091) ในสมัยของสมเด็จพระศรีสุริโยไท ปนไฟก็มามี

บทบาทในการสูรบกับพมาเปนอยางมาก

4 วิก ิพ ีเด ีย สาราน ุกรมเสร ี ป นคาบศิลา [Online] , Available URL

https://th.wikipedia.org/wiki/ปนคาบศิลา. 4 สิงหาคม 25585 สรารักษ สุวรรณเสรี, อาคม ศรยาภัย ผูพิพากษา, กฎหมายและคดีอาวุธปน (กรุงเทพมหานคร : หจก.

แสงจันทรการพิมพ,2553) หนา 2

Page 51: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

27

ในป พ.ศ. 2135 ปนไฟไดเขามาเผยแพรในสยามอยูเปนระยะหนึ่งแลว

แตก็เปนปนเล็กเทานั้น ควาญทายชางพระที่นั่งและคนกลางชางสมเด็จพระเอกาทศรถ

ก็ถูกปนตาย แมแตสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเองก็ถูกปนไฟที่พระหัตถเพียงแต

ทรงมีบุญบารมีอยูมากที่ถูกปนหลังจากฟนพระมหาอุปราชาสิ้นพระชนมแลว6

ปนคาบศิลา เปนปนเล็กยาวที่ไดรับความนิยมตอจากปนคาบชุด เริ่มเขา

มาในไทยสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช เปนปนที่พัฒนาการจุดชนวนใหมีความ

สะดวกมากยิ่งขึ้น โดยใชหินเหล็กไฟแทนชุดจุดไฟ และมีแผนเหล็กติดตั้งไวที่จานดินหู เมื่อ

ตองการยิงจะตองงางนกแลวจึงลั่นไก นกที่คาบหรือจับหินเหล็กไฟ จะสับลงมาตีกับ

เหล็ก เกิดประกายไฟเผาไหมดินหู แลวลามเขาลํากลองเชนเดียวกับปนคาบชุด ปน

คาบศิลามีการใชอยางแพรหลายมาก และใชมาถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระ

จุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 มีทั้งชนิดลํากลองธรรมดา และชนิดปากลํากลอง

เปนรูปมังกรหรือสัตวอื่นๆ สวนปนที่มีการนําเขาตอมาคือ ปนแกป เปนปนที่จุดชนวนดวย

ดอกทองแดงบรรจุดินดํา ซึ่งท้ัง 3 ชนิดที่ยังคงปอนกระสุนทางปากลํากลองทั้งสิ้น7

2.1.3 ความหมายของอาวุธปน พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และ

สิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 24908 มาตรา 4 (1) ไดบัญญัติความหมายของอาวุธปนไว ดังนี้

“อาวุธปน” หมายความรวมตลอดถึงอาวุธทุกชนิดซึ่งใชเครื่องสงกระสุน

โดยวิธีระเบิดหรือกําลังแรงดันของแกสหรืออัดลม หรือเครื่องกลไกอยางใดซึ่งตองอาศัย

อํานาจของพลังงานและสวนหนึ่งสวนใดของอาวุธน้ันๆ ซึ่งรัฐมนตรีเห็นวาสําคัญและไดระบุ

ไวในกฎกระทรวง

6 วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ปนไฟ [Online] , Available URL https:/th.wikipedia.org/wiki/ปนไฟ. 4

สิงหาคม 25587 ภาคผนวก ปนคาบศิลา ปนนกสับ [Online] , Available URL

http://king.lib.kmutt.ac.th/kingtarkisnCD /appendix_6.html. 4 สิงหาคม 25588 “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ.

2490”, ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 64 ตอนที่ 42 (9 กันยายน 2490) : 556

Page 52: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

28

กฎกระทรวงฉบับที่ 3 (พ.ศ.2491) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาวุธ

ปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 24909 ขอ 1 ได

กําหนดให สวนของอาวุธปนที่มีความสําคัญใหถือเปน “อาวุธปน” ตามความในมาตรา 4 (1)

แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียม

อาวุธปน พ.ศ. 2490 ดวย คือ

1. ลํากลอง

2. เครื่องลูกเลื่อน หรือสวนประกอบสําคัญของเครื่องลูกเลื่อน

3. เครื่องลั่นไก หรือสวนประกอบสําคัญของเครื่องลั่นไก

4. เครื่องสงกระสุนปน ซองกระสุนปน หรือสวนประกอบสําคัญของสิ่งเหลานี้

กฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2522) ออกตามความในพระราชบัญญัติ

อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 249010

ขอ 2 ไดกําหนดไววา อาวุธปนที่นายทะเบียนจะออกใบอนุญาตใหไดตามมาตรา 7

หรือมาตรา 24 ตองเปนอาวุธปน ชนิด และขนาด ดังตอไปนี้

1.อาวุธปนชนิดลํากลองมีเกลียวที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางปากลํากลอง

ไมเกิน11.44 ม.ม.

2. อาวุธปนชนิดลํากลองไมมีเกลียว ดังตอไปนี้

1) ขนาดเสนผานศูนยกลางปากลํากลองไมถึง 20 ม.ม.

2) ปนประจุปาก ปนลูกซอง และปนพลุสัญญาณ

3) อาวุธปนที่เครื่องกลไกสําหรับบรรจุกระสุนเองใหสามารถยิงซ้ําได

ดังตอไปนี้

9 “กฎกระทรวงฉบับที่ 3 (พ.ศ.2491) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุ

ระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490”, ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 45 ตอนที่

47 ฉบับพิเศษ (17 สิงหาคม 2491) : 110 “กฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2522) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490”, ราชกิจจานุเบกษา

เลมที่ 96 ตอนที่ 140 (14 สิงหาคม 2522) : 13

Page 53: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

29

(ก) ขนาดความยาวลํากลองไมถึง 160 ม.ม.

(ข) ปนลูกซอง

(ค) ปนลูกกรดขนาดเสนผาศูนยกลางปากลํากลองไมเกิน 5.6 ม.ม.

4) อาวุธปนชนิดไมมีเครื่องบังคับเสียงใหเบาผิดปกติ

5) อาวุธปนชนิดที ่ไมใชกระสุนเปนที่บรรจุวัตถุเคมีที ่ทําใหเกิด

อันตรายหรือเปนพิษหรือไมใชเครื่องกระสุนปนที่บรรจุเชื้อโรค เชื้อเพลิง หรือวัตถุ

กัมมันตภาพรังสี

2.1.4 ประเภทของอาวุธปน 2.1.4.1 ปนสั้นหรือปนพก (Pistol) อาวุธปนขนาดเล็กที่สุดน้ันคือปนสั้นหรือปนพก ปนสั้นน้ันมีดวยกันสาม

ชนิด คือ แบบยิงทีละนัด ปนลูกโม และปนพกกึ่งอัตโนมัติ ปนลูกโมจะมีจํานวนการยิง

ตามชองใสกระสุนทรงกระบอก ในแตละชองของทรงกระบอกจะบรรจุกระสุนเอาไวหนึ่งนัด ปน

พกกึ่งอัตโนมัติจะมีชองปนเพียงชองเดียวที่ดานทายของลํากลองและมีแมกกาซีนที่สามารถ

เปลี่ยนไดจึงทําใหพวกมันสามารถยิงไดมากกวาหนึ่งนัด ปนลูกโมมาเตบาของอิตาลีเปน

แบบลูกผสมที่หายาก ในการเหน่ียวไกแตละครั้งจะหมุนกระบอกทันทีจนทําใหมันยิงไดอยาง

รวดเร็ว ปนเวบลียของอังกฤษก็เปนปนลูกโมอัตโนมัติเชนกัน มันเกิดขึ้นประมาณ

ศตวรรษที่ 20

ปนสั้นแตกตางจากปนเล็กยาว ปนไรเฟล หรือปนลูกซองดวยขนาดที่เล็ก

กวา ไมมีพานทาย อํานาจกระสุนที่ไมทรงพลังเทา และถูกออกแบบมาเพื่อใชดวยหนึ่งหรือ

สองมือ ในขณะที่คําวา "ปนพก" สามารถใชเพื่อบรรยายถึงปนสั้น มันมักหมายถึงปนพกที่

ยิงทีละนัดหรือแบบที่ปอนกระสุนอัตโนมัติ และปนลูกโมก็จะหมายความโดยตรง

คําวา"ปนพกกึ่งอัตโนมัติ"ใชและบางครั้งก็เขาใจผิดวาเปนปนอัตโนมัติ

เนื่องจากอันที่จริงแลวคําวาอัตโนมัติของมันไมไดหมายถึงกลไกการยิงแตเปนการปอน

กระสุน เมื่อยิงปนพกกึ่งอัตโนมัติจะใชแกสเพื่อดีดปลอกกระสุนเกาออกและใสกระสุน

ใหมเขาไปแทนโดยอัตโนมัติ โดยปกติแลว (แตก็ไมเสมอไป) กลไกการยิงก็เปนระบบ

อัตโนมัติเชนกัน ปนพกอัตโนมัติจะยิงกระสุนหนึ่งนัดตอการเหนี่ยวไกหนึ่งครั ้ง ไม

เหมือนกับอาวุธปนอัตโนมัติอยางปนกลซึ่งยิงตลอดนานเทาที่เหนี่ยวไก และจะมีปลอก

Page 54: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

30

กระสุนที่ยังไมไดใชในแมกกาซีน อยางไรก็ตามปนพกบางรุนก็เปนแบบอัตโนมัติ

เต็มที ่ ดังนั ้นเพื ่อหลีก เลี ่ยงความสับสน ทั ้ง "กึ ่งอ ัตโนมัติ" และ"บรรจุกระสุน

อัตโนมัติ" จึงหมายถึงอาวุธปนที่ยิงหนึ่งนัดตอการเหนี่ยวไก

กอนศตวรรษที่ 19 ปนสั้นทั้งหมดเปนแบบยิงทีละนัด ตอมาในป ค.ศ.

1836 แซมมวล โคลท (Sammual Colt) นักประดิษฐชาวอเมริกันคิดประดิษฐปนรี

วอลเวอรซิงเกิ้ลแอ็คชั่นขึ้นมาไดสําเร็จ ทําใหปนสั้นสามารถยิงกระสุนไดมากกวาหนึ่ง

นัด และกลายเปนที่นิยมอยางรวดเร็ว

ในทศวรรษที่ 1870 มีการออกแบบปนพกบรรจุกระสุนอัตโนมัติขึ ้น

และเมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ปนพกกึ่งอัตโนมัติก็ไดรับความนิยมแทนที่ปน

ลูกโม และหลังจากศตวรรษที่ 20 เปนตนมา ปนสั้นสวนมากที่ถูกใชโดยกองทัพ ตํารวจ

และพลเรือนเปนปนพกกึ่งอัตโนมัติ ถึงแมวาปนลูกโมยังคงเปนที่แพรหลายอยู แตกองทัพ

และตํารวจนิยมใชปนพกกึ่งอัตโนมัติ เพราะวาความจุของแมกกาซีนที่มากและ

ความสามารถในการบรรจุกระสุนไดอยางรวดเร็ว แตปนลูกโมยังเปนที่ชื่นชอบในหมูนัก

สะสมปนเพราะวามันทรงพลังมากกวาปนรุนใหมและมีความทนทาน ใชงาย และมี

ความแข็งแกรง ทําใหมันเหมาะกับการใชอยางสมบุกสมบัน

ปนสั้นมีหลายรูปรางและขนาด ตัวอยางเชน "เดอรริงเยอร" เปนปนที่มี

ขนาดเล็กมาก ลํากลองที่สั้น มักมีหนึ่งหรือสองลํากลองแตบางครั้งก็มีมากกวานั้น ซึ่ง

ตองบรรจุกระสุนดวยมือหลังจากทําการยิง “ปนสําหรับการดวลปน” มันถูกใชอยางมากใน

หมูสุภาพบุรุษ พวกเขามักมีมันเพื่อแสดงถึงตําแหนงและความสูงศักดิ์ ปนลูกโมและปน

พกบรรจุกระสุนอัตโนมัติมีขนาดที่หลากหลาย ซึ่งปนพกแบบใหมมีหลายขนาด ในแตละ

ขนาดจะมีขอดีและขอดอย ปนที่เล็กกวามักจะตองแลกดวยกระสุนที่นอยลง ในขณะที่ปน

ที่ใหญกวาก็จะมีความแมนยํามากกวา

ปนสั้นมีขนาดเล็กและมักงายที่จะพกพา ดังนั้นทําใหมือทั้งสองนั้นวาง

พอที่จะทําอยางอื่นได ปนสั้นที่มีขนาดเล็กสามารถเก็บซอนไดงาย ทําใหมันถูกเลือกเปน

อาวุธสําหรับปองกันตัว ในกองทัพปนสั้นมักใชโดยผูที่ไมคาดวาจะตองใชอาวุธปนจริงๆ

อยางนายพลและนายทหาร และสําหรับผูที่ไมมีที่วางเพียงพอที่จะใชปนเล็กยาวอยาง

นักบินหรือพลขับยานพาหนะตางๆ สวนทหารพลรมมักเลือกใชปนคารบินซึ่งเปน

Page 55: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

31

ปนเล็กยาวขนาดสั้นแทนเพราะวาขนาดที่เล็กสะดวกตอการเคลื่อนยายแตก็ยังมีอํานาจการยิง

สูงเพียงพอตอการรบของมัน นอกจากนี้ปนสั้นยังถูกใชโดยพลปนเล็กยาวในฐานะอาวุธ

สํารอง อยางไรก็ดีเมื่อสิ้นสุดศตวรรษที่ 20 ความเชื่อถือไดในการยิงและอํานาจการยิงที่สูงยิ่ง

รวมทั้งขนาดท่ีเล็กกระทัดรัดมากขึ้นของปนเล็กยาวจูโจม ทําใหปนสั้นแทบหมดประโยชน

ในการรบ นอกจากกองทัพแลวปนสั้นก็มักเปนอาวุธของตํารวจและพลเรือนตาม

กฎหมาย

ปนสั้นยังถูกใชในกีฬาอีกดวย ถึงแมวาการลาสัตวที่เปนกีฬานั้นจะไม

เหมาะกับปนสั้นก็ตาม นักลาสัตวบางคนที่ตองการลาในที่ที่แคบก็มักเลือกที่จะใชปนสั้นแทน

เพราะกระสุนปนสั้นมีราคาถูกกวากระสุนของปนเล็กยาวและมีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะใช

กับสัตวหลายชนิด11

ภาพที่ 7 ปนพกอัดลม

ที่มาภาพจาก http://www.gunsandgames.com/smf/index.php?topic=2079.30.

4 สิงหาคม 2558

ภาพที่ 8 ปนพกแบบประจุปาก

ที่มาภาพจาก http://www.weekendhobby.com/gun/webboard/Question.asp?ID=11711.

4 สิงหาคม2558

11 วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี อาวุธปน [Online] , Available URL: https:/th.wikipedia.org/wiki/

อาวุธปน.

4 สิงหาคม 2558

Page 56: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

32

ภาพที่ 9 ปนพกแบบยิงทีละนัด

ที่มาภาพจาก http://www.thaisecondhand.com/product/10417496.

4 สิงหาคม2558

ภาพที่ 10 ปนพกแบบเดอริงเยอร ลํากลองมากกวา 1 ลํากลอง

ที่มาภาพจาก http://topicstock.pantip.com/wahkor/topicstock/2012/.

4 สิงหาคม 2558

Page 57: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

33

ภาพที่ 11 ปนพกแบบลูกโม

ที่มาภาพจาก http://www.gun.in.th/board/index.php?topic=30854.0.

4 สิงหาคม 2558

ภาพที่ 12 ปนพกแบบออโตเมติกหรือกึ่งอัตโนมัติ

ที่มาภาพจาก http://pantip.com/topic/30289657. 4 สิงหาคม 2558

Page 58: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

34

ภาพที่ 13 ปนพกรูปแบบอื่นๆ แบบไฟแช็ก 2 – 3 ลํากลอง

ที่มาภาพจาก http://www.spantique.com/webboard_997959_5851_th.

4 สิงหาคม 2558

ภาพที่ 14 ปนพกรูปแบบอื่นๆ แบบปากกาบรรจุกระสุนยิงทีละนัด

ที่มาภาพจาก http://www.phitsanulokhotnews.com/2012/10/05/24722.

4 สิงหาคม 2558

2.1.4.2 ปนยาว (Rifle) ปนยาวในปจจุบันสวนใหญจะเปนปนเล็กยาวหรือปนลูกซอง ในทาง

ประวัติศาสตรปนยาวนั้นคือปนคาบศิลา ปนเล็กยาวมีลํากลองที่ดานในทําเปนรองเกลียว

และยิงกระสุนทีละนัด ในขณะที่ปนลูกซองลํากลองไมมีเกลียวยิงกระสุนไดทั้งที่เปน

กระสุนลูกปราย กระสุนลูกโดด กระสุนแซบบ็อท หรือกระสุนพิเศษ (อยางแกสน้ําตา)

ปนเล็กยาวมีบริเวณปะทะของกระสุนที่เล็กมาก แตมีระยะหวังผลที่ไกลและมีความแมนยําสูง

สวนปนลูกซองนั้นมีบริเวณปะทะของกระสุนขนาดใหญ แตมีระยะหวังผลใกล และมีความ

Page 59: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

35

แมนยําคอนขางนอย อยางไรก็ตามบริเวณปะทะของกระสุนที่ใหญมากขึ ้น ทําให

สามารถชดเชยความแมนยําได เห็นไดจากการใชปนลูกซองในการแขงขันยิงเปาบิน

ภาพที่ 15 ปนไรเฟล

ที่มาภาพจาก https:// oakgunner.wordpress.com/2011/12/21/m700-remington.

4 สิงหาคม 2558

ปนเล็กยาวและปนลูกซอง นิยมใชในการลาสัตวและปองกันที่อยู

อาศัยหรือที่ทําธุรกิจ โดยปกติแลวในการลาสัตวจะใชปนเล็กยาว ในขณะที่การลานกจะใช

ปนลูกซอง นอกจากนี้ปนลูกซองยังนิยมใชเพื่อปองกันที่อยูอาศัยหรือท่ีทําธุรกิจ เพราะวา

มันสามารถยิงมานกระสุนที่แผครอบคลุมพื้นที่บริเวณปะทะไดกวาง สรางความเสียหายได

มาก และการที่กระสุนลูกซองมีระยะหวังผลที่สั้นกวาทําใหกระสุนไมทะลุผนังจนสราง

ความเสียหายตอบุคคลอื่นๆ ที่อยูใกลเคียง

Page 60: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

36

ภาพที่ 16 ปนลูกซอง

ที่มาภาพจาก http://www.gungallery.in.th/2012/index.php?topic=87.0.

4 สิงหาคม2558

ปนเล็กยาวและปนลูกซองนั้นมีหลากหลายแบบโดยขึ้นอยูกับวิธี

ในการเติมกระสุน แบบลูกเลื่อนและแบบงัดนั้นทํางานดวยมือท้ังสองขาง ตองใชเวลาในการ

นําปลอกกระสุนออก ทั้งสองแบบมักถูกใชกับปนเล็กยาว สวนแบบสไลดหรือแบบปมพที่

ดีดกระสุนออกโดยอัตโนมัติ แบบนี้มักใชโดยปนลูกซองแตก็มีบริษัทผูผลิตไมนอยที่

นําไปใชกับปนเล็กยาว

ทั้งปนเล็กยาวและปนลูกซองยังมีแบบที่ตองบรรจุกระสุนดวยมือ

แทนที่จะเปนระบบกลไก โดยมีทั้งแบบหนึ่งหรือสองลํากลอง อยางไรก็ดีเนื่องมาจาก

ราคาที่แพงมากและมีความยุงยากในการผลิต แบบที่มีสองลํากลองจึงผลิตออกมานอย

โดยปนเล็กยาวแบบสองลํากลองนั้นมักใชลาสัตวที่อัฟริกา

ปนเล็กยาวถูกใชโดยพลแมนปนในหลายๆ ประเทศแมกระทั่งใน

ยุโรปและสหรัฐฯ ตั้งแตศตวรรษที่ 18 เมื่อปนเล็กยาวปรากฏตัวขึ้นครั้งแรก หนึ่งในการ

แขงขันปนเล็กยาวที่เกาแกที่สุดของอเมริกาเกิดขึ้นเมื่อพ.ศ. 2318 เมื่อแดเนียล มอร

แกนไดทําหนาที่พลแมนปนในเวอรจิเนียในสงครามประกาศอิสรภาพของอเมริกา ใน

บางประเทศพลแมนปนคือความภูมิใจของชาติ ปนเล็กยาวพิเศษบางชนิดถูกอางวามี

ระยะถึง 1 ไมล (1,600 เมตร) ถึงแมวาสวนใหญแลวจะนอย ในครึ่งหลังของศตวรรษ

ที่ 20 กีฬาปนลูกซองนั้นเปนที่นิยมมากกวาปนเล็กยาว

Page 61: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

37

ในกองทัพ ปนเล็กยาวแบบลูกเลื่อนพรอมกับกลองสองจะหมายถึง

ปนซุมยิง อยางไรก็ตามในสงครามเกาหลีปนเล็กยาวแบบลูกเลื่อนและกึ่งอัตโนมัติที่ถูก

ใชโดยทหารราบนั้นจะสามารถเปลี่ยนเปน"ปนเล็กยาวอัตโนมัติ" ได12

2.1.4.3 ปนที่ใชในกิจการทหารหรือสงคราม หมายถึงอาวุธปนที่ผลิตขึ้นมาโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชในกิจการทหาร

โดยเฉพาะหรือใชในการสูรบในการสงครามโดยตรง ซึ่งอาวุธปนเหลานี้จะมีประสิทธิภาพ

ในการยิงสูงและมีอํานาจในการทําลายลางมากกวาอาวุธปนธรรมดา โดยมีระบบการยิง

ทั้งแบบอัตโนมัติอยางเดียวหรือยิงไดทั้งระบบอัตโนมัติและกึ่งอัตโนมัติ เชน ปนกล

หนัก ปนกลเบา ปนเล็กยาว ปนเล็กยาวบรรจุเอง ปนเล็กสั้นบรรจุเอง ปนเล็กกล ปนกล

มือ เปนตน ซึ่งอาวุธปนที่ ใชในกิจการทหารหรือสงครามนี้ประชาชนไมสามารถมีไวใน

ครอบครองได เนื่องจากเปนอาวุธปนที่นายทะเบียนออกใบอนุญาตใหประชาชนมีไวใน

ครองครองไมได ตามขอ 2 แหงกฎกระทรวงฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2522) ออกตามความใน

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน

พ.ศ. 249013

12 วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี อาวุธปน [Online] , Available URL https:/th.wikipedia.org/wiki/

อาวุธปน.

4 สิงหาคม 255813 “กฎกระทรวงฉบับที่ 11 (พ.ศ.2522) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน

วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490”, ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 96 ตอนที่

140 ฉบับพิเศษ (14 สิงหาคม 2522) : 1

Page 62: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

38

ภาพที่ 17 ปนกลหนัก (Heavy machine gun)

ที่มาภาพจาก http://gungold.com/forum/index.php?topic=9813.0 .

4 สิงหาคม 2558

ภาพที่ 18 ปนกลเบา (Machine gun) . 4 สิงหาคม 2558

ที่มาภาพจาก http://www. thaifighterclub.org/webboard/13691.

4 สิงหาคม 2558

Page 63: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

39

ภาพที่ 19 ปนเล็กกล (Automatic Rifle)

ที่มาภาพจาก http://www.parathikarn.police.go.th/web/sp/gun/sp_gun.php.

4 สิงหาคม 2558

ภาพที่ 20 ปนเล็กยาวบรรจุเอง (Self Loadinf Rifle)

ที่มาภาพจาก http://www.parathikarn.police.go.th/web/sp/gun/Galant. 4 สิงหาคม2558

ภาพที่ 21 ปนเล็กสั้นบรรจุเอง (Self Loadinf Carbine)

ที่มาภาพจาก http://sanpawut.police.go.th/New%20folder/web/sp/. 4 สิงหาคม 2558

Page 64: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

40

ภาพที่ 22 ปนเล็กยาวจูโจม (Assault rifle)

ที่มาภาพจาก http://www.jokergameth.com/board/showthread.php?t=172735.

4 สิงหาคม2558

ภาพที่ 23 ปนกลมือ (Sub Machtine gun)

ที่มาภาพจาก http://www.weekendhobby.com/gun/webboard/. 4 สิงหาคม 2558

2.1.5 ความหมายของเครื่องกระสุนปน (Ammunition) พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และ

สิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 แกไขเพิ่มเติมโดยมาตรา 3 แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2501

มาตรา 4 (2) ไดบัญญัติความหมายของเครื่องกระสุนปนไว ดังนี้

“เครื่องกระสุนปน” หมายความรวมตลอดถึงกระสุนโดด กระสุนปราย

กระสุนแตก ลูกระเบิด ตอรปโด ทุนระเบิด และจรวด ทั้งชนิดที่มีและไมมีกรดแกส

เชื้อเพลิง เชื้อโรค ไอพิษ หมอกหรือควัน หรือกระสุน ลูกระเบิด ตอรปโด ทุนระเบิด และ

Page 65: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

41

จรวด ที่มีคุณสมบัติคลายคลึงกัน หรือเครื่อง หรือสิ่งสําหรับอัดหรือทํา หรือใชประกอบ

เครื่องกระสุนปน

ภาพที่ 24 สวนประกอบของเครื่องกระสุนปน

ที่มาภาพจาก http://2013.gun.in.th/index.php?topic=8403.0. 5 ตุลาคม 2558

ภาพที่ 25 กระสุนปนไรเฟลขนาดตางๆ

ที่มาภาพจาก https://oakgunner.wordpress.com/2012/10/ 5 ตุลาคม 2558

Page 66: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

42

ภาพที่ 26 กระสุนปนพกขนาดตางๆ

ที่มาภาพจาก http://www.weekendhobby.com/gun/webboard/. 5 ตุลาคม 2558

2.1.5.1 สวนประกอบของเครื่องกระสุนปน 1) ลูกกระสุนปน (Bullet) คือสวนโลหะรูปทรงกระบอกที่อยูปลายสุดของกระสุนปนซึ่ง

เมื่อเวลายิงแลวเปนสวนที่วิ่งไปปะทะกับเปาหมาย สวนใหญของปลายหัวกระสุนจะมี

ลักษณะกลม (Ball) แตถาเปนกระสุนที่ใชในราชการทหารปลายลูกกระสุนจะมีลักษณะ

ปลายแหลม ซึ่งเปนไปตามขอตกลงระหวางประเทศ สําหรับกระสุนปนที่ใชยิงแขงขันในการ

กีฬา จะนิยมใชลูกกระสุนปลายตัด (Clean cutting) เพื่อเวลากระสุนทะลุเปาจะเกิดรู

ชัดเจน เปนการสะดวกในการนับรูกระสุนที่ถูกเปาเวลาใหคะแนน โลหะที่ใชทําหัว

กระสุนนี้ อาจเปนตะกั่วลวนหรือตะกั่วฉาบโลหะอื่นเคลือบบางๆ หรืออาจเปนตะกั่วอยู

ภายในเปนแกน แลวมีเปลือกทําดวยโลหะผสม เชน ทองแดง หรือ นิกเกิลหุมไวอีก

ชั้นหนึ่งก็ได ลูกกระสุนที่มีเปลือกหุมนี้ (Jacket bullets) เรียกวา ลูกกระสุนเปลือกแข็ง

และถาเปลือกที่หุม หุมมิดถึงปลายลูกกระสุนเรียกวากระสุนหัวแข็ง (Metal cased

bullets) ถาหุมไมมิด สวนปลายลูกกระสุนเปนแกนตะกั่วโผลออกมา เรียกวากระสุนหัว

ออน (Soft point bullets) ลูกกระสุนประเภทนี้ เมื่อไปกระทบกับเปาแลว ตะกั่วที่ออนจะ

เยินตัว แลวยนทําใหปลายหัวกระสุนบานออก เกิดบาดแผลขนาดใหญได ลูกกระสุนปนที่

มีความเร็วตนตั้งแต 2,000 ฟุตตอวินาที ขึ้นไป จะตองเปนแบบ Jacked Bullet เพราะ

ถาเปนแบบ Lead Bullet จะทําใหสวนกน และผิวดานขางของลูกกระสุนปนละลาย

ไดทําใหมีตะกั่วติดคางอยูภายในลํากลองปน อันทําใหเกิดผลเสียตอความแมนยําของปน

นั้น ที่ลูกกระสุนปนดานขางสวนใหญจะมีรองอยูโดยรอบ ในลูกกระสุนปนแบบ Lead

Page 67: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

43

Bullet บางแบบอาจมีหลายรองในลูกเดียว แตใน Jacketed Bullet แลวถามีก็มีเพียง

รองเดียวเทานั้น รองดังกลาวนี้ใน Lead Bullet ใชสําหรับใสสารหลอลื่นลูกกระสุนปน

ซึ่งเปนพวกขี้ผึ้งหรือไขมัน ทําหนาที่หลอลื่นลูกกระสุนปนใหวิ่งผานลํากลองปนไปได

สะดวกขึ้น แตสําหรับ Jacketed Bullet แลวรองดังกลาวทําหนาที่สําหรับยึดปากปลอก

กระสุนปนใหติดกับลูกกระสุนปน โดยการบีบปากปลอกกระสุนปนเขาไปในรองโดยรอบ

รองดังกลาวมีชื่อเรียกวา Cannalure นอกจากนี้ยังทําหนาที่ปองกันความชื้นไมใหเขาไป

ในกระสุนปนอีกดวย

ภาพที่ 27 ลูกกระสุนปน (Bullet)

ที่มาภาพจาก http://board.postjung.com/715424.html. 5 ตุลาคม 2558

2) ปลอกกระสุนปน (Cartridge Case) เปนสวนที่หุมหัวกระสุนที่ภายในบรรจุดินปนและแกปกับ

ชนวนไว ปลอกกระสุนโดด โลหะท่ีใชทําปลอกกระสุนมีหลายชนิด คือ ทองเหลือง

อลูมิเนียม เหล็ก ทองแดง แตที่นิยมมากที่สุดคือทองเหลืองโดยปลอกกระสุนปนที่ทําดวย

ทองเหลืองคุณภาพดี สามารถนํากลับไปอัดกระสุนปนยิงใหมไดอีกประมาณ 3 - 4 ครั้ง

Page 68: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

44

ภาพที่ 28 ปลอกกระสุนปนที่ทําดวยทองเหลือง

ที่มาภาพจาก http://2013.gun.in.th/index.php?topic=28952.0. 5 ตุลาคม 2558

ปลอกกระสุนมีการพัฒนาครั้งใหญเพื่อใชในปนใหญขนาด

เบาและในอาวุธปนขนาดเล็กเมื่อประมาณครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 โดยหัวกระสุนซึ่ง

เปนหัวกระสุนกลมซึ่งกอนหนาเคลื่อนที่ไดดวยดินปน ไดถูกผสมเขาในปลอกกระสุนที่มี

แกป ดินปน และหัวกระสุนในหีบหอเดียวกัน ขอไดเปรียบหลักของปลอกกระสุน

ทองเหลืองคือประสิทธิภาพและแรงดันจากแกสที่ไวใจได เมื่อแรงดันแกสกดตอปลอก

กระสุนเพื่อดันมันออกไปจะดันมันเขากับดานในของลํากลอง ทําใหสามารถปองกัน

การรั่วไหลของแกสรอนซึ่งอาจทําใหผูยิงบาดเจ็บได ปลอกกระสุนทองเหลืองยัง

เปดทางใหกับอาวุธปนกลแบบใหมโดยรวมลูกกระสุน ดินปน และไพรเมอรเขา

ดวยกัน

กอนที่จะมีปลอกกระสุนในรูปแบบปจจุบัน ปลอกกระสุนแบบดั้งเดมิ

เปนการรวมดินปนเขาเปนลูกกลมในถุงหนังสัตวขนาดเล็ก (หรือหอเปนมวนกระดาษ)

รูปแบบของปลอกกระสุนแบบนี้ตองถูกอัดใหแนนเขาไปในลํากลองทางปากกระบอก

และทั้งดินปนในชองสัมผัสหรือแกปที่อยูบนชองสัมผัสจะจุดระเบิดดินปนในปลอกกระสุน14

สวนประกอบของปลอกกระสุนปจจุบัน ประกอบดวย

14 วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี [Online] , Available URL https://th.wikipedia.org/wiki/

อาวุธปน. 5 ตุลาคม 2558

Page 69: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

45

- ฐานกระสุน (Rim) สวนใหญขนาดของกระสุน และชื่อผูผลิต

กระสุน จะถูกตอกเอาไวที่ฐานกระสุน15

ภาพที่ 29 ฐานกระสุน (Rim)

ที่มาภาพจาก http://2013.gun.in.th/index.php?topic=28952.0. 5 ตุลาคม 2558

- รองขอเกี่ยวปลอก (Extractor Groove) เปนสวนคอดที่อยูใกล

ฐานกระสุน มีไวสําหรับใหขอเกี่ยวปลอกที่อยูในตัวปน สามารถเกี่ยวปลอกกระสุนเพื่อ

ดึงปลอกกระสุนออกจากรังเพลิงไปยังตัวเตะปลอก ใหปลอกกระสุนกระเด็นออกจากปนตอไป

ภาพที่ 30 รองขอเกี่ยวปลอก (Extractor Groove)

ที่มาภาพจาก http://2013.gun.in.th/index.php?topic=28952.0. 5 ตุลาคม 2558

ปจจุบันอาวุธปนสมัยใหมทุกแบบใชปลอกกระสุนที่มีหัวกระสุน

พรอมดินปนและแกปภายในหรือไพรเมอร (primer) โดยในอาวุธปนจะมีเข็มแทงชนวน

15 Gun in Thailand[Online] , Available URL http://2013.gun.in.th/index.php?topic=28952.0. 5

ตุลาคม 2558

Page 70: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

46

เพื่อกระแทกไพรเมอรที่สวนทายของปลอกกระสุนซึ่งมันจะไปจุดระเบิดดินปนภายใน

เพื่อสงหัวกระสุนออกไปจากลํากลองปนสูเปาหมาย

ภาพที่ 31 สวนทายปลอกกระสุนปน

ที่มาภาพจาก http://2013.gun.in.th/index.php?topic=28952.0. 5 ตุลาคม 2558

3) ดินขับ (Powder) ดินปนที่ถูกบรรจุอยูภายในปลอกกระสนุ

จัดอยูในกลุมของดินขับ สมัยแรกเริ่มนั้น ดินขับที่ใชสงหัวกระสุนออกไปยังเปาหมายนั้น

จะใช ดินดํา (Black Powder) ตอมาเปลี่ยนมาใชเปน ดินควันนอย (Smokeless Powder) ดิน

ทั้ง 2 ชนิดมีขอแตกตางกันดังนี้

(1) ดินดํา ในระยะเริ่มแรกนั้น ดินดําเปนดินปนชนิดเดียวที่

มนุษยสามารถสรางขึ้นมาได เพื่อใชเปนดินขับของกระสุนปน โดยจะประกอบดวย ดินประ

สิว กํามะถัน และถาน เมื่อทั้ง 3 อยางมารวมกันและมีการเผาไหมเกิดขึ้น ก็จะเกิดการ

ขยายตัวของกาซอยางรวดเร็ว เปน

แรงดันมหาศาลที่จะขับดันหัวกระสุนใหพุงออกไปได

(2) ดินควันนอย หรือเรียกกันในปจจุบันวา ดนิขับหรือดนิสง

กระสุน ไดถูกคิดคนและพัฒนาขึ้นมาเพื่อใหมีคุณสมบัติที่เหมาะกับการนําไปใชในแต

ละงานมากขึ้น ซึ่งมีสวนประกอบหลัก คือ ไนโตรเซลลูโลส (Nitrocellulose) เปนแหลง

ใหกาซรอนและแรงดัน โดยจะแบงเปนอีกหลายชนิด เชน ดินขับฐานเดี่ยว ฐานคู และ

Page 71: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

47

ฐานสาม เปนตน ซึ่งแตละแบบก็มีสวนผสม และความรุนแรงแตกตางกันไป แตสําหรับ

กระสุนปนเล็ก สวนใหญจะใชดินขับฐานเดี่ยวเปนหลัก

ขอแตกตางของดินดํา และดินควันนอยนั้น คือเมื่อนําดิน

ดําและดินควันนอยในปริมาณเทาๆ กันมาวางไวในที่กลางแจงแลวเอาไฟจุด จะพบวาดิน

ดําเกิดการระเบิดและมีควันออกมามาก แตดินควันนอยนั้นลุกจะไหมเรื่อยๆ และมีควัน

ออกมาบางเล็กนอย แตถานําดินทั้ง 2 ชนิดนี้ไปอัดในที่จํากัดเชนในลํากลองปน ดินควันนอย

นั้นจะกลายเปนดินซึ่งลุกไหมและแปรสภาพเปนกาซไดโดยอยางรวดเร็ว และสงกําลัง

ไดสูงกวาดินดําหลายเทา

ภาพที่ 32 ดินขับ (Powder) แบบตางๆ

ที่มาภาพจาก http://2013.gun.in.th/index.php?topic=28952.0. 5 ตุลาคม 2558

ภาพที่ 33 Ball powder

ที่มาภาพจาก http://2013.gun.in.th/index.php?topic=28952.0. 5 ตุลาคม 2558

Page 72: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

48

ภาพที่ 34 Flattened ball powder

ที่มาภาพจาก http://2013.gun.in.th/index.php?topic=28952.0. 5 ตุลาคม 2558

ภาพที่ 35 Flake powder

ที่มาภาพจาก http://2013.gun.in.th/index.php?topic=28952.0. 5 ตุลาคม 2558

Page 73: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

49

ภาพที่ 36 Stick powder

ที่มาภาพจาก http://2013.gun.in.th/index.php?topic=28952.0. 5 ตุลาคม 2558

4) แกป (Primers) เปนสวนที่อยูตรงจานทายของปลอกกระสุน เมื่อเวลายิง

ปนหรือลั่นไกปน เข็มแทงชนวนจะกระแทกตรงจานทายของปลอกกระสุน ทําใหแกป

เกิดระเบิด และจุดระเบิดไปยังดินปนที่อยูภายในปลอกกระสุน เมื่อดินปนระเบิด ก็จะ

ขับดันหัวกระสุนใหวิ่งออกจากลํากลอง

แกป หรือ Primer ถือวาเปนวัตถุระเบิดประเภทหนึ่ง ทํามาจาก

สารเคมีหลายอยางผสมกัน เชน ลีดสไตเนต (Lead Styphnate) เปนตน ซึ่งแตละโรงงาน

ก็จะมีสูตรลับเปนของตัวเอง สารตัวน้ีจะจุดตัวไดไว การกระแทกเพียงเล็กนอยก็สามารถจุด

ตัวเองไดเเลว ทําใหถูกนํามาใชเปนตัวจุดระเบิดดินขับใหเกิดการเผาไหม ดวยหลักการทํางาน

งาย ๆนั่นคือการใชแรงกระแทกจากเข็มแทงชนวนที่พุงมาชนเมื่อเราเหนี่ยวไกทําใหเกิดการ

ระเบิดขึ้นนั่นเอง ซึ่งสวนประกอบของแกป ประกอบดวย 4 สวนประกอบ ดังนี้

Page 74: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

50

ภาพที่ 37 จานทายของปลอกกระสุนบริเวณบรรจุแกป

ที่มาภาพจาก http://2013.gun.in.th/index.php?topic=28952.0. 5 ตุลาคม 2558

ก. จอกแกป (Primer Cup) สําหรับบรรจุสวนประกอบตางๆ

ของแกป

ข. ดินระเบิด (Priming Mixture) เปนวัตถุระเบิดที่มีความไวสูง

ค. กระดาษหรือผาสําหรับปดหนาดิน (Foil Paper) เพื่อ

ปองกันไมใหดินระเบิดหลุดออกจากจอกแกป

ง. ทั่ง (Anvil) เปนตัวรับแรงกระแทกจากเข็มแทงชนวน16

2.2 แนวความคิดและทฤษฎีการคุมครองสิทธิเสรีภาพและแนวคิดสากลเกี่ยวกับความรับผิดและการลงโทษเพื่อรักษาความสงบเรียบรอยของรัฐ ร ัฐเสรีประชาธิปไตย เปนรัฐที ่ยอมรับและใหความคุ มครองสิทธิและ

เสรีภาพของบุคคลซึ่งถือวามนุษยแตละคนจําเปนตองมีและใชเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ

ของตนเองไปตามความประสงคของบุคคลนั้น เมื่อรัฐไดรับรองสิทธิและเสรีภาพดวย

การบัญญัติรับรองไวในรัฐธรรมนูญยอมทําใหกฎหมายหรือองคกรทั้งหลายที่เกิดขึ้น

จากรัฐธรรมนูญจะขัดหรือแยงหรือลวงละเมิดจํากัดตัดสิทธิใหผิดไปจากที่รัฐธรรมนูญ

16 Gun in Thailand [Online] , Available URL http://2013.gun.in.th/index.php?topic=8403.0. 5

ตุลาคม 2558

Page 75: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

51

กําหนดไวไมได สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญจึงมีสถานะเปนสวนหนึ ่งของ

รัฐธรรมนูญอันเปนกฎหมายที่มีคุณคาสูงสุดซึ่งองคกรตางๆ ของรัฐ ไดแก องคกรนิติ

บัญญัติ องคกรบริหารและองคกรตุลาการ จะตองใหความเคารพและใหความ

คุมครองโดยการใชอํานาจขององคกรเหลานี้จะตองถูกผูกพันอยูภายใตหลักความชอบ

ดวยรัฐธรรมนูญ17

2.2.1 สิทธิและเสรีภาพของประชาชน คําวา “สิทธิ” (Right) หมายถึงประโยชนที่กฎหมายรับรองและคุมครอง

ใหแกบุคคลในอันที่จะกระทําการเกี่ยวกับทรัพยสินหรือบุคคลอื่น สิ่งใดที่รัฐธรรมนูญ

กําหนดเปนสิทธิ หมายความวา เปนกรณีที่รัฐใหสิทธินั้น แกประชาชน โดยรัฐมีพันธะที่

จะตองปฏิบัติตามหรือตองทําใหประชาชนไดรับสิทธินั้น

คําวา “เสรีภาพ” (Liberty) หมายถึง ภาวะของมนุษยที่ไมอยูภายใตการ

ครอบงําของผูอื่น มีอิสระที่จะกระทําการหรืองดเวนกระทําการตามที่ตองการ สิ่งใดที่

รัฐธรรมนูญกําหนดเปนเสรีภาพ หมายความวา เปนกรณีที่ประชาชนมีเสรีภาพตามที่

กําหนดนั้น โดยรัฐไมมีหนาที่โดยเฉพาะที่จะตองจัดหาสิ่งที่เปนเสรีภาพให แตรัฐมี

หนาที่ทั่วไปที่จะงดเวนการกระทําใดที่จะขัดขวางการมีเสรีภาพนั้น

ดังนั้น สิทธิและเสรีภาพจึงมีความแตกตางกันตรงที่

1) “สิทธิ” เปนประโยชนที่ตองมีกฎหมายรับรองและคุมครองไว บุคคลจึง

จะเกิดมีสิทธิเชนนั้นได แตถากฎหมายไมไดใหการรับรองหรือคุมครองไว ประชาชนก็จะไม

มีสิทธิเชนนั้น ในขณะที่ “เสรีภาพ” เปนภาวะโดยอิสระของมนุษย แมจะไมมีกฎหมาย

รับรองหรือคุมครองไว บุคคลก็ยังคงมีเสรีภาพนั้น

“สิทธ”ิ ที่รัฐใหการรับรองและคุมครองแลวนั้น รัฐมีหนาที่โดยเฉพาะเจาะจงที่

จะตองทําใหประชาชนไดรับสิทธินั้น ในขณะที่ “เสรีภาพ” นั้น รัฐไมมีหนาที่ที่

จะตองจัดหาใหแตอยางใด

17 รองศาสตราจารย ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ, เรื่อง “การใชสิทธิทางศาลของบุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิ

หรือเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญมาตรา 28 ในกรณีที่ศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุดแลว”, รายงานการ

วิจัย สํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2551

Page 76: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

52

สําหรับสิทธิและเสรีภาพตางๆ ที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ฉบับ

พุทธศักราช 2550 ไดบัญญัติใหการรับรองและคุมครองไวนั้น หากแยกออกเปนประเภท

ใหญๆ จะแบงออกไดเปน 3 ประเภท คือ

1) สิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล

2) สิทธิและเสรีภาพในทางเศรษฐกิจ และ

3) สิทธิและเสรีภาพในการมีสวนรวมทางการเมือง แตถาแบงออกเปน

สวนๆ ตามสาระของสิทธิและเสรีภาพ อาจแบงออกไดเปน 12 สวน โดยแตละสวน มี

สาระสําหรับพอสรุป ไดดังนี้

(1) ความมีอยูของสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ รับรองและ

คุมครองศักดิ์ศรีความเปนมนุษยรวมทั้งสิทธิและเสรีภาพตางๆ และกําหนดขอบเขตการ

ใชอํานาจองคกรตางๆ เพื่อไมใหกระทบกับสาระสําคัญของสิทธิและเสรีภาพตาม

รัฐธรรมนูญ

(2) ความเสมอภาค กําหนดหลักเรื่องความเสมอภาคและการไมเลือก

ปฏิบัติตอบุคคลที่มีความแตกตางกัน เพื่อใหทุกคนเสมอกันในกฎหมาย และไดรับ

ความคุมครองตามกฎหมายเทาเทียมกัน

(3) สิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล รับรองและคุมครองสิทธิและเสรีภาพ

ในชีวิตและรางกาย ในเคหสถาน การเลือกที่อยูอาศัย การเดินทาง เกียรติยศ ชื่อเสียง

ความเปนสวนตัว การสื่อสาร การนับถือศาสนา และการปองกัน มิใหรัฐบังคับใชแรงงาน

(4) สิทธิในกระบวนการยุติธรรม รับรองและคุมครองสิทธิและเสรีภาพ

ของบุคคลเกี่ยวกับความรับผิดทางอาญาที่ไมตองรับโทษหนักกวาที่บัญญัติไวใน

กฎหมายที่ใชอยูในขณะที่กระทําความผิด ความเสมอภาคและการเขาถึงกระบวนการ

ยุติธรรมไดโดยงาย และการไดรับความชวยเหลือทางกฎหมาย

(5) สิทธิในทรัพยสิน รับรองความมั่นคงในการถือครองทรัพยสิน และ

คุมครองสิทธิของผูถูกเวนคืนทรัพยสินที่ตองไดรับการกําหนดคาทดแทนที่เปนธรรม

(6) สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ รับรองและคุมครองเสรีภาพในการ

ประกอบอาชีพการแขงขันทางธุรกิจที่เปนธรรม ความปลอดภัย สวัสดิภาพ และการดํารง

ชีพของคนทํางาน

Page 77: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

53

(7) เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น รับรองและคุมครองเสรีภาพในการ

แสดงความคิดเห็น คุมครองปองกันมิใหรัฐสั่งปดกิจการหนังสือพิมพ วิทยุกระจายเสียง

และวิทยุโทรทัศน คุมครองใหประชาชนไดรับขอมูลขาวสารที่หลากหลาย และปองกันมิ

ใหมีการยึดครองหรือแทรกแซงทั้งทางตรงและทางออม

(8) สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา รับรอง และคุมครอง ใหมีความเสมอ

ภาคในการไดรับการศึกษาซึ่งรัฐจะตองจะตองจัดใหอยางทั่วถึง มีคุณภาพและเหมาะสม

คุมครองเสรีภาพทางวิชาการที่ไมขัดตอหนาที่พลเมืองหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน

(9) สิทธิในการไดรับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ รับรองและ

คุมครองใหประชาชนไดรับบริการทางสาธารณสุขจากรัฐอยางเสมอภาค

(10) สิทธิในขอมูลขาวสารและการรองเรียน รับรอง และคุมครอง การเขาถึง

ขอมูลขาวสารสาธารณะ การรับรูและการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน การรองทุกข

การโตแยงการปฏิบัติราชการในทางปกครอง และสิทธิของบุคคลในการฟองหนวยงาน

ของรัฐ

(11) เสรีภาพในการชุมนุมและการสมาคม รับรองและคุมครอง เสรีภาพ

ในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ คุมครองใหไดรับความสะดวกในการใชพื้นที่

สาธารณะ และคุมครองการรวมกันเปนกลุม รวมทั้งการตั้งพรรคการเมืองในระบบรัฐสภา

(12) สิทธิชุมชน รับรองและคุมครองสิทธิชุมชน ชุมชนทองถิ่น และชุมชน

ทองถิ่นดั้งเดิม และคุมครองบุคคลในการอนุรักษ บํารุงรักษา และการไดรับประโยชนจาก

ทรัพยากรธรรมชาติ

(13) สิทธิพิทักษรัฐธรรมนูญรับรองและคุมครองบุคคลในการตอตาน โดย

สันติวิธีตอการกระทําเพื่อใหไดมาซึ่งอํานาจในการปกครองดวยวิธีการที่ไมเปนไปตาม

วิถีทางตามรัฐธรรมนูญ

สิทธิและเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยฉบับ พุทธศักราช

2550 ไดบัญญัติใหการรับรองและคุมครองไวหลายประการนั้น แบงออกไดเปน 2

ประเภท คือ

1) สิทธิและเสรีภาพที่สมบูรณ กลาวคือ เปนสิทธิและเสรีภาพที่รัฐไม

สามารถจํากัดตัดทอนได เชน สิทธิเสรีภาพในการนับถือศาสนา เปนตน

Page 78: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

54

2) สิทธิและเสรีภาพที่รัฐสามารถจํากัดขอบเขตได แตการจํากัดดังกลาว

ตองทําโดยกฎหมายและตองเปนไปตามเงื่อนไขที่รัฐธรรมนูญกําหนดเทานั้น เชน สิทธิของ

เด็กและเยาวชนในการอยูรอดและไดรับการพัฒนาดานรางกาย จิตใจ และสติปญญา ตาม

ศักยภาพในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม หรือเสรีภาพในการเดินทางที่อาจถูกจํากัดได

เฉพาะเพื่อความ มั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบรอยหรือสวัสดิภาพของประชาชน การผัง

เมือง หรือเพื่อสวัสดิภาพของผูเยาว เปนตน18

2.2.2 ประวัติความเปนมาของการคุมครองสิทธิและเสรีภาพ ชาวกรีกและชาวโรมันโบราณไดชื่อวาไดทําการคิดคนทดลองปฎิบัติ

เกี่ยวกับการเมืองการปกครองไว และไดทิ้งมรดกทางวิชาการที่สําคัญยิ่งรวมถึงปริศนา

บางประการไวใหแกคนรุนหลัง G.Oestrich เปนผูที่ไดทําการคนควาในเรื่องประวัติ

ความเปนมาของสิทธิมนุษยชนโดยการมาตอบคําถามวา คนโบราณเหลานั้นรูจักหรือมี

สิทธิมนุษยชนหรือไม คําตอบที่ G.Osestrich ไดรับคือ ยังไมรูจัก โดยไดใหเหตุผลวา

จากถอยคําที่มีการบันทึกไวทั้งหมด เกี่ยวกับเสรีภาพ ความเสมอภาค ศักดิ์ศรีความเปน

มนุษย และที่เกี่ยวกับความเคารพในการเปนมนุษย ที่ไดมีการศึกษามา เปนเรื่องที่ไม

เกี่ยวกับการเรียกรองสิทธิที่ไมอาจละเมิดไดสําหรับทุกคน แมคําสอนของพวกสโตอิคใน

สมัยโรมันซึ่ งสอนเกี่ยวกับความเสมอภาคระหวางมนุษยดวยกันก็ เปนเพียง

แนวความคิดเกี่ยวกับจริยธรรมทางสังคมเทานั้น หาไดมุงสูการสรางสรรคระบบ

การเมืองและระบบเศรษฐกิจแตอยางใดไม

ในยุคของ อริสโตเติล (Aristotle) คําวา เสรีภาพ และแนวความคิด

เกี่ยวกับเสรีภาพไดเปนที่รูจักในสมัยนั้น แตแนวคิดเกี่ยวกับแดนแหงสิทธิเสรีภาพยังไม

เกิดขึ้นในสมัยนั้น เนื่องจากมนุษยในสมัยนั้นเปนเพียงสวนหนึ่งของระบบการเมืองของ

รัฐความมีอยูของปจเจกบุคคลเปนผลจากความมีอยูของรัฐ ปจเจกบุคคลจะมีที่ที่

แนนอนของตนในรัฐ และจะเปนสมาชิกที่มีบทบาทในรัฐไดตอเมื่อเปนเพศชาย และ

18 กาญจนารัตน ลีวิโรจน และคณะ, “ศาลรัฐธรรมนูญกับการคุมครอง สิทธิเสรีภาพของประชาชน

ภายใตรัฐธรรมนูญ”, รวมบทความทางวิชาการของสํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ ชุดที่ 12

(กรุงเทพมหานคร : บริษัท พี. เพรส จํากัด, 2557) : 1 - 5

Page 79: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

55

ไมไดอยูในสถานะทาส ในสมัยโรมันมีแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธที่ไดรับรองโดย

กฎหมายแตจะจํากัดอยูเฉพาะสวนของความเปนเอกชนตามสถานะของแตละบุคคล

เทานั้น ดังนั้นแนวความคิดเกี่ยวกับเสรีภาพในสมัยโบราณจึงจํากัดเฉพาะการเขาไปมี

สวนรวมทางการเมืองเทานั้น กลาวคือเปนเสรีภาพภายในรัฐ (Freedom in State) ไมใช

เสรีภาพจากรัฐ (Freedom from State)

โดยสรุปในสมัยกรีกและโรมันโบราณระบอบการปกครองที่ดีมุงไปที่

สํานึกที่ดีของผูปกครองมิใชอยูที่การใหหลักประกันสิทธิตามรัฐธรรมนูญของประชาชน

แตอยางใด และไดมีการเริ่มตนแนวคิดทางปรัชญาที่สามารถพัฒนาตอไปเปนสิทธิขั้น

พื้นฐานตางๆ ของบุคคล แตไมสามารถเปลี่ยนแปลงแนวคิดนั้นๆใหมาเปนกฎหมายใชบังคับ

ได ทั้งกรีกและโรมันตางไมสามารถทําใหรัฐเขามาเปนผูปกปองสิทธิขั้นพื้นฐานเหลานี้ได

แตพลเมืองก็ตางพอใจที่รัฐใหความเคารพในขอบเขตความสัมพันธแบบเอกชนของตน

ในสมัยกลางตอนตน การปกครองไดอยูภายใตอิทธิพลของศาสนาคริสต โดย

ศาสนาคริสตไดรับอิทธิพลมากจากสํานักสโตอิค (Stoics) มารวมเขากับแนวคิดทาง

ศาสนา ซึ่งคือ คําสอนที่วามนุษยนั้นเปนภาพเหมือนของพระผูเปนเจาและมนุษยเปน

ผลงานที่พระผูเปนเจาไดสรางขึ้นเปนชิ้นสุดทาย เซนต ออกัสติน (St. Augustin) ได

สรางสรรคผลงานขึ้นในคริสตศตวรรษที่หา ชื่อวา “decivitate dei” หรือ “อาณาจักรแหง

สวรรค” ในงานเขียนชิ้นนี้ ไดมีอิทธิพลตอคริสตจักรไปอีกหลายทศวรรษ

นักบุญออกัสติน (St. Augustin) ได สรางความสัมพันธแบบสองขั้วข้ึน ขั้วแรก

คือ อาณาจักรแหงโลก และขั้วที่สอง คือ อาณาจักรแหงสวรรค โดยกําหนดเปนภารกิจ

สําหรับผูปกครองอาณาจักรแหงโลกใหทําหนาที่เตรียมพลเมืองเพื่อไปสูอาณาจักรแหง

สวรรค โดยการทําใหพลเมืองยึดถือคําสอนของศาสนา ในชวงกลางของสมัยกลาง

ความสัมพันธของสองขั้วไดกลายมาเปนความสัมพันธของสองอํานาจ กลาวคือ ฝาย

อาณาจักร และ ฝายศาสนจักร ซึ่งเกิดความขัดแยงขึ้นระหวางอํานาจทั้งสองโดยทามกลาง

ความขัดแยงไดเกิดการพัฒนาสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานขึ้นมา เพราะแมผู ปกครอง

ไดรับมอบหมายจากพระผูเปนเจาใหมีอํานาจในการปกครองโลก แตผูปกครองก็ยัง

ตองเคารพในกฎหมายของพระผูเปนเจาดวย และกฎของพระผูเปนเจานี้ตอมาได

Page 80: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

56

พัฒนาเปนหลักกฎหมายธรรมชาติซึ่งทําใหผูปกครองบานเมืองตองปกครองบานเมือง

ดวยความเปนธรรม

ตอมาในสมัยของ นักบุญโทมัส อไควนัส (St.Thomas Aquinas) ไดมี

การเรียกรองใหผูปกครองบานเมือง ไมใหกระทําการใดๆที่เปนปฎิปกษหรือขัดแยงตอ

ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย(dignitas humana) และยังรวมไปถึงชีวิต เสรีภาพ และ

กรรมสิทธิ์ของมนุษย หากผูปกครองบานเมืองฝาฝนที่จะกระทําการดังกลาว พลเมือง

หรือประชาชนในบานเมืองก็มีสิทธิที่จะไมเชื่อฟงและตอตานผูปกครองดังกลาวไดโดย

ในหนังสือ “de regime principum” เลมที่ 1 บทที่ 6 นักบุญโทมัส อไควนัส

(St.Thomas Aquinas) ไดเขียนไววา “อาจกลาวไดวาเปนอันตรายอยางยิ่งยวดสําหรับ

พลเมืองและผูปกครอง หากจะมีคนเพียงกลุมเดียววางแผนกอการวินาศกรรมเพื่อทํา

รายผูปกครองถึงตาย แมวาผูปกครองดังกลาวจะเปนทรราชก็ตาม” จึงยอมเปนการ

ดีกวาถาการทรราชดังกลาวใชการลงประชามติกันเปนการทั่วไป เพราะเมื่อการเลือก

กษัตริยเปนสิทธิของพลเมือง การถอดถอนกษัตริยพลเมืองก็ยอมสามารถกระทําได

เชนเดียวกัน แมวาพลเมืองเหลานี้จะไดถวายสัตยปฎิญาณวาจะจงรักภักดีตอ

กษัตริยพระองคนั้นตลอดไป ก็ไมอาจถือไดวาพลเมืองเหลานี้เปนผูไมจงรักภักดีตอ

กษัตริย เนื่องจากกษัตริยไมไดทรงซ่ือสัตยตอพลเมืองอันเปนพระราชกรณียกิจหนึ่งของ

กษัตริยแลว หากพลเมืองหรือประชาชนไมสามารถตอตานกษัตริยได ก็คงจําตองหันไปพึ่ง

บารมีของพระผูเปนเจา แตนักบุญโทมัส อไควนัส (St. Thomas Aquinas) ไดกลาวไวดวย

วา หากพลเมืองเหลานั้นไมอยูในศีลธรรมที่ควรจะเปน การปกครองแบบทรราชเปน

มาตรการหนึ่งในการลงโทษพลเมืองเหลานั้น ประเด็นสําคัญของการปกครองในสมัย

กลาง คือการกําหนดหนาที่ใหผูปกครองบานเมืองมีหนาที่ที่จะตองรักษากฎหมาย และ

การที่พลเมืองมีสิทธิตอตานผูปกครองที่ไมซื่อสัตยหรือเปนทรราชได ซึ่งแนวคิดนี้ได

พัฒนาเปนสองแนวคิดใหญ คือ แนวคิดเกี่ยวกับเหตุผลและกฎหมายธรรมชาติ และ

แนวคิดในการพัฒนาสิทธิสําหรับฐานันดรและเสรีภาพตางๆ แตทั้งสองแนวคิดมี

จุดมุงหมายเดียวกัน กลาวคือ การจํากัดอํานาจปกครองเชิงภววิสัย (Objective) จากที่

มีการเรียกรองใหผูปกครองปกครองอยางเปนธรรม เปนการยับยั้งชั่งใจ (Self-

Restraint) หรือการจัดอํานาจเชิงอัตตวิสัย (SubjectiveRestriction) ซึ่งแนวความคิด

Page 81: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

57

ทั้งสองเปนสิ่งสําคัญในการสรางสรรคสิทธิขั้นพื้นฐานเชิงอัตตวิสัย (Subjective Right)

กลาวคือ พลเมืองมีสิทธิเรียกรองเอาจากรัฐได19

2.2.3 ทฤษฎีคุมครองสิทธิและเสรีภาพตามหลักนิติปรัชญา คําวา ”นิติ” ในภาษาสันสกฤตเขาใจวาหมายถึง ขนบธรรมเนียม แตมาใน

ระหลังนี้ ในวงนักกฎหมายไทยเขาใจวา “นิติ” หรือ “เนติ” แปลวา กฎหมาย

เพราะเราแปลคําวา”Barrister at Law” เปน “เนติบัณฑิต” แตตามศัพทดั้งเดิมของ

อินเดียแทๆ นิติ แปลวา ขนบธรรมเนียม เชน ราชนิติ โลกนิติ ฯลฯ ในอินเดียคําวา

นิติศาสตรจึงหมายถึงวิชาเกี่ยวกับราชนิติประเพณี เปนความรูที่ราชปุโรหิตจะตองรู

เพราะราชครูหรือปุโรหิตเปนที่ปรึกษาราชการแผนดิน คําวานิติศาสตรตามความหมาย

ของอินเดียจึงมีความหมายใกลเคียงกับคําวา “รัฐศาสตร” ในภาษาไทยปจจุบัน

เพราะฉะนั้น ผูรูทางนิติศาสตรของคนอินเดียจึงหมายถึงผูทรงปญญาที่จะใหคําแนะนําเรื่อง

กิจการบานเมือง คําที่หมายถึงกฎหมายแทๆ ของไทยเราแตเดิมเรียกวา “ธรรมะ” เชน

กฎหมายดั้งเดิมของไทยเราเรียกวา “พระธรรมศาสตร” มิไดเรียกวา “พระนิติศาสตร” คําวา

“พระธรรมศาสตร” เปนคําศักดิ์สิทธิ์ในความคิดของคนไทยสมัยกอน

คําวา “นิติปรัชญา” เปนคําที่ใชในความหมายอยางใหม แปลวา ปรัชญา

ของกฎหมาย เปนคําใหมที่แปลคําวา “Rechtsphilosophie” ในภาษาเยอรมันซึ่ง

ภาษาอังกฤษเรียกวา “Philosophy of Law” นิติปรัชญาคือการศึกษาเกี่ยวกับกฎหมาย

ในลักษณะทั้งมวล (As a Whole) เปนการตรึกตรองทางนามธรรมชั้นสูง นิติปรัชญาจึง

ไมเหมือนวิชานิติศาสตรในแงที่วานิติศาสตรโดยแทที่สอนกฎหมายเฉพาะเรื่องเฉพาะ

สาขา แตนิติปรัชญามิไดแยกศึกษากฎหมายเปนเรื่องๆ แตศึกษาปญหาเจาะลึกในขั้น

รากฐานวา “กฎหมายแทๆ คืออะไร” ไมไดศึกษากฎหมายเฉพาะสวนใดสวนหนึ่ง เชน

นิติกรรม หนี้ ละเมิด กฎหมายแพง กฎหมายอาญา เปนสวนๆ ไป การศึกษานิติปรัชญา

19 บงกช เอกกาญธนกร, “ปญหาเกี่ยวกับการพกพาอาวุธปนในประเทศไทย”, วิทยานิพนธ

นิติศาสตรมหาบัณฑิต, (คณะนิติศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร), 2557 หนา 41 - 43

Page 82: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

58

จึงมีลักษณะเปนการศึกษาในระดับความคิดบริสุทธิ์ชั้นสูง หรือการคิดกฎหมายอยาง

ปรัชญา (To thing of law philosophically)20

ปรัชญาหรือทฤษฎีทางกฎหมายที่เกี่ยวของกับการคุมครองสิทธิและ

เสรีภาพของมนุษยที่สําคัญประกอบดวยทฤษฎีของสํานักกฎหมาย 3 สํานัก ดังนี้

2.2.3.1 สํานักกฎหมายธรรมชาติ (Natural Law School) สํานักกฎหมาย

ธรรมชาติมีความคิดทางกฎหมายวากฎหมายเปนเรื่องของเหตุผล ดังคํากลาวของ

Cicero ที่วา“กฎหมายที่แทจริง คือเหตุผลที่ถูกตอง ...” (True law is right reason) คํา

วาเหตุผล (Ratio, Reason) นี้ หมายถึงระบบที่เปนระเบียบที่มีอยูเปนอันหนึ่งอัน

เดียวกันกับระบบของจักรวาลที่เรียกวา “เหตุผลสากล (Universal Reason)” สวน

เหตุผลที่มีอยูในจิตใจของมนุษยที่ทําใหมนุษยรูผิดชอบชั่วดีก็นับวาเปนสวนหนึ่งของ

เหตุผลสากลที่มนุษยไดรับมา ดวยเหตุผลที่มีอยูในจิตใจนี้มนุษยจึงสามารถเขาถึง

เหตุผลสากลที่มีอยูในจักวาลนี้ได หลักการสําคัญของความคิดของสํานักกฎหมาย

ธรรมชาติสรุปไดดังตอไปนี้

1) สํานักนี้ยืนยันวาโลกหรือจักรวาลเปนสิ่งที่มีระบบระเบียบทาง

ศีลธรรม (Moral Order) ไมใชสิ่งที่มีระบบระเบียบทางกายภาพลวนๆ (Physical

Order) ตามกฎเกณฑทางวิทยาศาสตรทางธรรมชาติเทานั้น ระบบระเบียบสากลนี้

เรียกวา “กฎหมายธรรมชาติ (Natural Law, Law of Nature)” และมีอยูโดยภาวะวิสัย

โดยภาวะวิสัยของมันไมขึ้นอยูกับเจตจํานงหรืออําเภอใจของมนุษย

2) ยืนยันวาธรรมชาติมนุษย (Human Nuture) มีเหตุผล (Ratio)

คือมีความสามารถในการที่จะรูถึงระบบระเบียบทางศีลธรรมหรือความรับผิดชอบชั่วดี

ซึ่งเปนกฎหมายธรรมชาติได

3) เชื่อวากฎเกณฑที่ใชอยูในสังคมมนุษยรวมทั้งกฎหมาย

บานเมืองมีบอเกิดมาจากเหตุผลของมนุษยและเปนสวนหนึ่งของระบบกฎหมาย

20 ศาสตราจารย ดร.ปรีดี เกษมทรัพย, “นิติปรัชญา PHILOSOPHY OF LAW” โครงการตําราและ

เอกสารประกอบการสอน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพเดือนตุลา,

2553) หนา 63 - 64

Page 83: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

59

ธรรมชาติดวย กฎเกณฑในสังคมมนุษยจึงควรสอดคลองกับเหตุผลธรรมชาติหรือ

กฎหมายธรรมชาติ

4) ยืนยันวาความเปนธรรม ความยุติธรรม และศีลธรรมเปนสิ่งที่มี

ความสัมพันธอยางใกลชิดกับกฎหมายบานเมือง หนาที่สําคัญของวิชานิติศาสตร

โดยเฉพาะวิชานิติปรัชญาคือการคนควาใหเขาใจถึงความสัมพันธเหลานั้น21

กฎหมายธรรมชาติสามารถแบงออกไดเปน 3 สมัย คือ

1) สมัยกรีก-โรมัน - กฎหมายในสมัยโรมัน เปนกฎหมายอันเกิด

จากจารีตประเพณีของชนชาติ หรือเกิดจากความเชื่อของกลุมชนที่อาศัยอยูรวมกันเปนสวน

ใหญ โดยความเชื่อตาง ๆนั้น มีตนกําเนิดมาจากสาเหตุหลายปจจัย เชน มนุษยนับถือพระ

อาทิตย เพราะพระอาทิตยนําความอบอุนและแสงสวางมาใหแกมนุษย เปนตน ดังนั้น

กฎหมายในยุคนี้จะเนนไปในดานความเชื่อที่ไมสามารถจับตองได ไมสามารถพิสูจนได

แตเปนความเชื่อที่มีเหตุและผลในตัวเอง

2) สมัยกลาง - ตอมา สังคมมนุษยมีความเจริญขึ้น ศาสนาเริ่ม

เขามามีอํานาจและบทบาททางการเมืองการปกครอง กฎหมายธรรมชาติจึงถูกอางอิง

วาเปนกฎที่มาจากความประสงคของพระเจา ทําใหคนในสมัยนี้มีความศรัทธาในพระ

เจาอยางมาก หากใครฝาฝนหรือมีความเห็น ทัศนคติที่แยงกับคําจากพระเจาจะถูกมอง

วาเปนพอมด แมมด และถูกตัดสินโทษดวยการประหารชีวิตโดยวิธีการท่ีทารุณโหดราย

อาทิ การจับมัดและเผาทั้งเปน เปนตน ทําใหในสมัยนี้แมจะเปนยุคสมัยที่ศาสนา

เจริญรุงเรืองที่สุด แตก็ถือวาเปนยุคที่มีความโหดรายปาเถื่อนที่สุดเชนกัน มนุษยในสมัยนี้

จะมีความเชื่อในโลกหนา อาทิ การทําบุญมาก ๆเกิดมาในชาติหนาจะร่ํารวย ความเชื่อเชนนี้

สงผลใหมนุษยไมมองอยูกับปจจุบัน

3) สมัยใหม - หลังจากที่สังคมมนุษยศรัทธาในศาสนามาแลวเปน

ระยะเวลารวม 100 กวาป ไดมีการคนพบสิ่งที ่ไมสามารถพิสูจนไดโดยคัมภีรหรือ

ความเชื ่อตางๆ คือ “สิ่งตางๆที่เกิดในวิทยาศาสตร” อาทิ มีการคนพบวาโลกมิไดมี

21 รองศาสตราจารยสมยศ เชื้อไทย “นิติปรัชญาเบื้องตน (Introduction to Philosophy of Law)”,

( กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพวิญูชน จํากัด, 2553) หนา 108

Page 84: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

60

ลักษณะแบน แตมีลักษณะกลม มีการคนพบวาโลกมิไดเปนจุดศูนยกลางภายหลังจาก

การคนพบระบบสุริยะที่มีดวงอาทิตยเปนจุดศูนยกลาง เปนตน จากการคนพบเหลานี้

ทําใหมนุษยตั้งขอสงสัยวา ทําไมพระเจาซึ่งเปนผูสรางโลกถึงไมสรางโลกเปนจุด

ศูนยกลาง ทําใหมนุษยเสื่อมศรัทธาในพระเจาลงไป และหันกลับมาสนใจโลกใน

ปจจุบันที่พิสูจนไดกันมากขึ้น ในทางกฎหมาย เมื่อมนุษยกลับมามองตนเองมากขึ้น จึง

ไดพบความมีสิทธิและเสรีภาพในตนเอง ในการเรียนกฎหมายก็จะใชหลักเหตุและผล

มากขึ้น

ปจจุบันนี้มีผูกลาวถึงเรื่องสิทธิมนุษยชน (Human Right) กันมาก หาก

เรามองดวยจิตใจเปนกลางประกอบกับมีทัศนะทางประวัติศาสตรแลว เราก็พอจะสรุป

ไดวากระบวนการตอสูเพื่อสิทธิมนุษยชนก็เปนสวนหนึ่งของการฟนฟูความคิดของ

สํานักกฎหมายธรรมชาติดวยเหมือนกัน การตอสูเพื่อสิทธิมนุษยชนในดานความคิด

จะตองตอสูกับความคิดของสํานักกฎหมายบานเมือง (Legal Positivism) อยาง

หลีกเลี่ยงไมพน หากความคิดของสํานักกฎหมายบานเมืองยังมีผูนิยมนับถืออยูอยาง

เหนียวแนนในประเทศไทยอยูตราบใดความคิดเรื่อง “สิทธิมนุษยชน” ยังไมมีทางจะ

หยั่งรากในผืนแผนดินไทยไดอยูตราบนั้น22

2.2.3.2 สํานักประวัติศาสตร (Historical School) หลังจากที่กฎหมาย

ธรรมชาติ (Natural Law) ไดเฟองฟูในยุโรป จนกระทั่งในยุค Enlightenment ไดมี

ประมวลกฎหมายแพงของฝรั่งเศส หรือที่เรียกวา Code Napoleon ขึ้นเปนแบบฉบับใน

การบัญญัติประมวลกฎหมายของประเทศอื่นๆ ในยุโรป และความคิดนี้ไดเผยแพรเขา

ไปในประเทศเยอรมันโดยศาสตราจารย Thibaut แหงมหาวิทยาลัยไฮเดลเบิรก

(Hidelberg) ไดเขียนบทความสนับสนุนใหมีการตราประมวลกฎหมายแพงเยอรมัน

ขึ้นมา โดยใหเหตุผลวา หากตราประมวลกฎหมายแพงตามแบบอยางประมวลกฎหมาย

ของฝรั่งเศส จะกอใหเกิดประโยชนตอชนชาติเยอรมัน 2 ประการ คือ

1) นําแนวความคิดวาดวยเสรีภาพ เสมอภาค และภราดรภาพ

อันเปนแนวความคิดประชาธิปไตยมาเผยแพรอยางจริงจัง

22 เรื่องเดียวกัน, หนา 110

Page 85: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

61

2) เพื่อจะไดนําประมวลกฎหมายมาใชทดแทนกฎหมายทองถิ่น

ตางๆ ที่มีอยูมากมายในขณะนั้น ซึ่งจะทําใหชนชาติเยอรมันมีชีวิตอยูภายใตประมวล

กฎหมายอันเดียวกัน ทําใหชนชาติเยอรมันซึ่งกระจัดกระจายอยูภายใตอํานาจรัฏฐาธิปตย

ตางๆ รวมตัวเขาเปนชาติหนึ่งชาติเดียว23

สํานักประวัติศาสตรอธิบายวากฎหมายนั้นเกิดจาก“จิตวิญญาณ

ประชาชาติ (Volksgeist)” หมายถึงความรูสึกผิดชอบชั่วดีที่มีอยูในชนชาติใดชาติหนึ่ง

ซึ่งไดเกิดขึ้นตั้งแตดั้งเดิมเริ่มตนของชนชาติและวิวัฒนาการไปตามกาลเวลา ไดรับการ

ปรุงแตงและวิวัฒนาการจากขอเท็จจริงตางๆ ในทางประวัติศาสตร ภูมิศาสตร แตละชน

ชาติจึงมีความรูสึกผิดชอบชั่วดี ทัศนคติตอความสัมพันธประเภทตางๆ ของสังคมแตกตาง

ไปตามสภาพของแตละชาติ

ความผิดชอบชั่วดีเหลานั้นจะปรากฏออกมาในรูปจารีตประเพณี

ตอมาเมื่อสังคมเจริญขึ้นกฎเกณฑความประพฤติในรูปจารีตประเพณีจะถูกปรุงแตงให

สลับซับซอนจนกลายเปนหลักกฎหมายในวิชานิติศาสตร ดวยเหตุนี้ กฎหมายของแตละ

ชนชาติจึงแตกตางไปจากของชาติอื่นๆ ไมสามารถที่จะเอากฎหมายของประเทศหนึ่งมา

ใชเปนกฎหมายของอีกประเทศหนึ่งได การทําประมวลกฎหมายจึงไมควรทําโดยพลการ

โดยถือเอาอํานาจและเจตจํานงของรัฐเพียงอยางเดียว หรือใชเหตุผลที่มีอยูในความคิด

ของนักปราชญสรางเปนกฎเกณฑเปนระบบระเบียบขึ้นแลวบัญญัติออกมาในรูป

กฎหมายดวยอํานาจของรัฐก็ไมได เชนเดียวกันประมวลกฎหมายที่ดีนั้นจะตองเปนผล

จากการศึกษาคนควาทางประวัติศาสตรใหหยั่งถึงจิตวิญญาณประชาชาติและหลัก

นิติศาสตรที่พัฒนาตอเนื่องจากจิตวิญญาณประชาชาตินั้นแลวนําเอาความรูที่ศึกษาทั้ง

สองดานมาผสมผสานเรียบเรียงออกมาเปนระบบระเบียบจนเปนกฎหมายที่เรียกวา

ประมวลกฎหมาย จึงจะไดกฎหมายที่สอดคลองกับจิตวิญญาณประชาชาติอยางแทจริง

ประมวลกฎหมายซึ่งเปนผลตามแนวความคิดของสํานักประวัติศาสตรคือประมวล

กฎหมายแพงเยอรมันนั่นเอง24

23 เรื่องเดียวกัน, หนา 113 – 114 24 เรื่องเดียวกัน, หนา 118 - 119

Page 86: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

62

2.2.3.3 สํานักกฎหมายบานเมือง (Legal Positivism)

หลังจากที่สํานักกฎหมายธรรมชาติมีความรุงโรจนถึงขนาดที่

แนวความคิดของสํานักกฎหมายธรรมชาต ิ(Natural Law School) จนไดรับการบัญญัติ

เปนกฎหมายลายลักษณอักษรที่ใชบังคับภายในบานเมือง (Positive law) แทบทั้งหมด

ตอมาจึงมีกฎหมายลายลักษณอักษรเกิดขึ้นมากมาย และมีประมวลกฎหมายขึ้นใน

ประเทศฝรั่งเศส และประเทศอื่นๆ ในยุโรป จนมีความรูสึกวากฎหมายทั้งระบบ

ประกอบดวยกฎหมายลายลักษณอักษรที่บัญญัติขึ้นเปนสวนสําคัญของกฎหมายเพียง

สวนเดียวที่ควรมีอยู รวมทั้งเกิดความรูสึกวาสิ่งที่บัญญัติเปนกฎหมายขึ้นนั้นแทจริงแลว

เปนไปตามเจตนารมณของรัฏฐาธิปตย(Sovereign) กลาวคือ รัฏฐาธิปตยสามารถจะ

ตราหรือบัญญัติกฎหมายไปในทิศทางหรือแนวทางใดก็ได กรณีนี้จึงทําใหแนวโนมใน

การบัญญัติกฎหมายเปลี่ยนแปลงไป กลาวคือ ระยะกอนหนานี้การบัญญัติกฎหมาย

เปนไปตามเหตุผล (reason) ตามธรรมชาติตามแนวความคิดของสํานักกฎหมาย

ธรรมชาติก็เปลี่ยนแปลงเปนการบัญญัติกฎหมายตามเจตจํานง (will) ของรัฏฐาธิปตย

กฎหมายแทนที่จะเปนเรื่องของเหตุผล จึงกลายเปนเรื่องของเจตจํานง (will) หรือ

อํานาจ (Power) ของรัฐ แนวความคิดในการบัญญัติกฎหมายจึงเปลี่ยนแปลงไปเปน

การบัญญัติโดยเจตจํานงของผูมีอํานาจ

แนวความคิดสํานักกฎหมายบานเมืองปฏิเสธกฎหมายที่สูงกวา

(Higher Law) หรือ กฎหมายธรรมชาติ (Natural Law) สิ่งที่ยอมรับวาเปนกฎหมาย

ที่แทจริงคือกฎหมายบานเมืองหรือกฎหมายที่ใชบังคับอยู (Positive Law) เทานั้น

กฎหมายบานเมือง (Positive Law) เปนกฎหมายที่ตั้งอยูโดยไมตองอาศัยกฎหมายที่สูงกวา

เนื่องจากรัฏฐาธิปตยซึ่งเปนผูมีอํานาจสูงสุดที่จะออกกฎหมายได โดยไมอาจโตแยงถึง

ความถูก ความผิด ความดี ความชั่ว หรือความยุติธรรม เพราะถือวาสิ่งเหลานี้เกิดจาก

กฎหมายที่รัฏฐาธิปตยมีอํานาจจะบัญญัติขึ้น ดวยเหตุนี้จึงมีคํากลาววา “กฎหมายของ

รัฏฐาธิปตยไมอาจเปนความอยุติธรรมได เพราะกฎหมายของรัฏฐาธิปตยนั้นเองเปนผู

Page 87: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

63

กําหนดความยุติธรรม ความอยุติธรรม ความถูกความผิด ความดีความชั่ว” ซึ่งเปนการ

ปฏิเสธความคิดเรื่องความเปนธรรมอันเกิดจากรากฐานความคิดทางกฎหมาย25

แมทฤษฎีกฎหมายบานเมืองจะกอตัวขึ้นตามความตองการ

ของรัฐในสมัยนั้นที่ตองการความมั่นคงของอํานาจหรือความชัดเจนของกฎหมายที่จะ

บัญญัติขึ้นใชเพื่อการจัดระเบียบสังคมกําลังพัฒนาในรูปแบบของรัฐชาติสมัยใหม และ

เพื่อเปนหลักประกันสิทธิและเสรีภาพของประชาชนดวย แตเมื่อทฤษฎีนี้ยังมีความเชื่อ

ที่วากฎหมายเปนอํานาจหรือคําสั่งของรัฏฐาธิปตยหรือผูมีอํานาจสูงสุดในการปกครอง

ประเทศอยูเชนนี้ จึงกอใหเกิดลักษณะเปนดาบสองคมในตัวเอง ซึ่งสุดแลวแตคุณธรรม

ของรัฏฐาธิปตยวาจะปกครองในรูปแบบเผด็จการหรืออธรรม หรือปกครองดวยความเปนธรรม

ผลของปรัชญากฎหมายบานเมืองทําใหคําวา “กฎหมาย” ไมใช

เรื่องของเหตุผลที่ถูกตองหรือความยุติธรรมตามหลักปรัชญากฎหมายธรรมชาติอีก

ตอไป แตกฎหมายกลายเปนเรื่องเจตจํานงของรัฏฐาธิปตยหรือผูปกครองสูงสุดของรัฐ

หรืออํานาจของรัฐแทน แนวความคิดในการบัญญัติกฎหมายจึงเปลี่ยนจากการบัญญัติ

ตามเหตุผลไปเปนการบัญญัติโดยอํานาจรัฐ ดังนี้ กฎหมายจะเปนกฎหมายไดก็แตการ

บัญญัติของผูมีอํานาจอธิปไตย โดยดําเนินการบัญญัติไวตามวิธีการที่กําหนดไวเทานั้น

ดังที่กลาวกันมาวา

“กฎหมายคือคําสั่งของรัฏฐาธิปตยผูที่ไมปฏิบัติตามจะตองถูก

ลงโทษ” ซึ่งปรากฏในคําสอนของพระบรมวงศเธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ อันมีความ

วาเราจะตองระวังอยาคิดเอากฎหมายไปปนกับความดี ความชั่ว ฤๅความยุติธรรม

กฎหมายเปนคําสั่งเปนแบบที่เราจะตองปฏิบัติตาม แตกฎหมายนั้นบางทีก็จะช่ัวไดฤๅไม

เปนยุติธรรม อะไรไมยุติธรรมมีบอเกิดหลายแหง เชน ตามศาสนาตาง ๆ แตกฎหมายนั้น

เกิดขึ้นไดแหงเดียว คือ จากผูปกครองแผนดิน ฤๅที่ผูปกครองแผนดินอนุญาตเทานั้น”

25 เรื่องเดียวกัน, หนา 123 – 124

Page 88: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

64

2.2.4 แนวคิดสากลเกี่ยวกับความรับผิดและการลงโทษ26

2.2.4.1 ความรับผิดตามกฎหมาย

ความรับผิดของผูกระทําความผิดอาจแบงออกไดเปน 2 ประเภท

คือ ความรับผิดทางอาญาและความรับผิดทางแพง ความรับผิดทางอาญาจะเกิดขึ้นเมื่อ

มีการกระทําอันเปนการกระทบกระเทือนตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของ

ประชาชน หรือตอผลประโยชนรวมกันของคนในสังคม ความรับผิดทางอาญามี

วัตถุประสงคเพื่อลงโทษ (Punish) ผูกระทําความผิด โดยเจาหนาที่ของรัฐจะเปน

ผูดําเนินการเพื่อใหไดมาซึ่งตัวผูกระทําความผิดและเปนผูลงโทษผูกระทําความผิด ทั้งนี้

ไมวาจะมีผูไดรับความเสียหายโดยตรงจากการกระทําความผิดนั้นหรือไมก็ตาม สวน

ความรับผิดทางแพง มีวัตถุประสงคเพื่อชดใชความเสียหาย (Compensate) ใหแกผู

ไดรับความเสียหายอันเนื่องมาจากการกระทํานั้น ความรับผิดทางแพงจึงเปนการ

เยียวยาผูเสียหาย มิใชการลงโทษ ดังนั้น เมื่อกลาวถึงการลงโทษจึงเปนที่เขาใจกัน

โดยทั่วไปวาหมายถึงการลงโทษอาญา

2.2.4.2 ความรับผิดทางอาญา

การพิจารณาวาการกระทําใดควรมีความรับผิดทางอาญาและ

ตองถูกลงโทษนั้น แนวคิดดั้งเดิม (Moral Wrongness Approach) เห็นวาตองเปนการ

กระทําที่ผิดศีลธรรม (Moral wrongness) เทานั้น ซึ่งมีขอโตแยงวาการกระทําที่จะมีความ

รับผิดทางอาญาไดจะไมรวมถึงการกระทําที่เปนเพียงการฝาฝนผลประโยชนรวมกันของ

คนในสังคมที่ยังไมชัดเจนวาสังคมจะเห็นวาการกระทํานั ้นผิดศีลธรรมหรือไม

นอกจากนี้ กฎเกณฑทางศีลธรรมเบี่ยงเบนไดงายเนื่องจากเปนเรื่องของอารมณ

ความรูสึก มิใชเหตุผลของเรื่องอยางแทจริง โดยผลของขอโตแยงดังกลาวประกอบกับ

ความเฟ องฟูของแนวความคิดมนุษยนิยม (Humanitarianism) ซึ่งถือวาสิทธิและ

เสรีภาพของปจเจกบุคคล (Individual autonomy) เปนสิ่งที่มิอาจลวงละเมิดได ทําให

แนวคิดเกี่ยวกับความรับผิดทางอาญาเปลี่ยนแปลงไป โดยเห็นวา การกระทําที่เปน

26 คณะกรรมการปรับปรุงกฎหมายเพื่อการพัฒนาประเทศ “รายงานการศึกษาและขอเสนอแนะ

เกี่ยวกับหลักเกณฑในการกําหนดโทษอาญา”, (คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย สํานักงานคณะกรรมการ

กฤษฎีกา),2547

Page 89: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

65

ปฏิปกษตอสิทธิหรือเสรีภาพ หรือที่เปนอันตรายตอบุคคลอื่นเทานั้นที่เปนความผิด

อาญา (Harms to Others’ Approach) ซึ่งแมแนวคิดนี้จะสามารถแกไขปญหาการนํา

อารมณความรูสึกของคนในสังคมมาเปนเครื่องมือในการกําหนดความรับผิดอาญาได

แตก็ยังไมสามารถแกไขปญหาทั้งหมดได โดยหากถือตามแนวคิดนี้อยางเครงครัดแลว

จะไมสามารถกําหนดใหผูกระทําการบางอยางมีความรับผิดอาญาได โดยเฉพาะอยาง

ยิ่ง การกระทําที่ไมเปนอันตรายตอบุคคลอื่นแตอาจเปนอันตรายตอตัวผูกระทําเองและ

มีผลกระทบทางออมตอสังคมสวนรวม เชน การขับขี่รถจักรยานและรถจักรยานยนต

โดยไมสวมหมวกนิรภัย หรือผูขับรถยนตที่ไมรัดเข็มขัดนิรภัย เปนตน

ตอมา แนวความคิด เกี่ ยวกับความรับผิดทางอาญาได

เปลี่ยนแปลงไป โดยเห็นวา ควรใช “ความสงบเรียบรอยของสังคม” เปนเกณฑในการ

พิจารณาวาการกระทําใดสมควรมีความรับผิดอาญา (Community Welfare

Approach) ตามแนวคิดนี้ การกระทําที่มีผลกระทบตอความสงบเรียบรอยหรือ

ศีลธรรมอันดีของประชาชนเทานั้นที่เปนความผิดอาญา แนวคิดนี้แกไขปญหาของ

แนวคิดดั้งเดิมและแนวคิดเกี่ยวกับการกระทําที่เปนอันตรายตอผูอื่นได ทั้งยังมีลักษณะ

พลวัตรมากกวา กลาวคือ การกระทําใดที่สังคมหนึ่งถือวามีผลกระทบตอความสงบ

เรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน อาจไมเขาลักษณะเปนการกระทําที่มี

ผลกระทบตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนในอีกสังคมหนึ่งก็ได

และการกระทําที่สังคมถือวามีผลกระทบตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของ

ประชาชนในชวงเวลาหนึ่งอาจไมเปนการกระทําที่มีผลกระทบตอความสงบเรียบรอย

หรือศีลธรรมอันดีของประชาชนในอีกชวงเวลาหนึ่งก็ได เชน เดิมกฎหมายไทยอนุญาตให

สูบฝนได แตตอมาถือวาฝนเปนยาเสพติดซึ่งหามเสพยและมีไวในครอบครอง เปนตน ซึ่ง

ทําใหการกําหนดความรับผิดทางอาญาของการกระทําตาง ๆ สอดคลองกับความ

ตองการที่แทจริงของสังคม

1) การลงโทษอาญา

การลงโทษอาญานั้นเปนการลงโทษที่รุนแรงและกระทบตอ

สิทธิและเสรีภาพในชีวิต รางกาย และทรัพยสินของผูกระทําความผิด โดยมี

วัตถุประสงคเพื่อใหสาสมกับความรายแรงของการกระทํา (Retribution) เพื่อดัดนิสัย

Page 90: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

66

ของผูกระทําความผิด (Reformation) เพื่อปองปรามมิใหผูอื่นเอาเปนเยี่ยงอยาง

(Deterrent) และเพื่อตัดผูกระทําผิดออกไปจากสังคมเปนการชั่วคราวหรือถาวร

(Incapacitation) จึงเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวาโทษอาญาควรใชกับการกระทําที่มี

ผลกระทบตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนอยางรายแรงเทานั้น

ศาสตราจารย Herbert L.Packer แหงมหาวิทยาลัยแสตนฟอรด เสนอหลักเกณฑในการ

กําหนดโทษอาญาซึ่งเปนที่ยอมรับอยางกวางขวางไวดังนี้

(1) คนสวนใหญในสังคมเห็นวาการกระทํานั้นคุกคามหรือเปน

อันตรายรายแรงตอการ อยูรวมกันของคนในสังคม โดยมีลักษณะเปนอาชญากรรมรายแรง

ที่มีผลกระทบตอความปลอดภัยของบุคคลและสังคม เชน การฆาผูอื่น การขมขืน การ

ใชกําลังการประทุษราย การชิงทรัพย เปนตน

(2) การลงโทษทางอาญาตองทําใหการกระทําผิดนั้น ๆลด

นอยลง

(3) การลงโทษอาญาตองไมทําใหพฤติกรรมที่พึงประสงคของ

สังคมตองลดนอยลง

(4) หากเปนความผิดอาญาแลว จะสามารถบังคับใช

กฎหมายอยางเสมอภาคและเทาเทียมกัน ทั้งนี้ โดยตองคํานึงถึงประสิทธิภาพในการ

สืบหาและจับกุมผูกระทําความผิดเปนสําคัญ

(5) กระบวนการยุติธรรมทางอาญาตองมีประสิทธิภาพใน

การพิสูจนความผิดและลงโทษผูกระทําความผิด โดยไมกอใหเกิดภาระแกการดําเนิน

กระบวนการจนเกินขอบเขตทั้งดานคุณภาพและปริมาณ

(6) ไมมีทางเลือกอื่นที่เหมาะสมกวาการลงโทษทางอาญา

หลักเกณฑในการกําหนดโทษอาญาที่เสนอโดยศาสตราจารย

Packer สอดคลองกับหลักเกณฑในการกําหนดโทษอาญาที่เสนอโดยคณะกรรมการ

ปฏิรูปกฎหมายของแคนาดา (Law Reform Commission of Canada) วาการกระทํานั้น

ตองเปนความผิดอาญาที่แทจริง กลาวคือ เปนอันตรายรายแรงตอบุคคลอื่น ขัดตอความ

สงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (Fundamental values) หรืออาจเปน

อันตรายตอสังคม และโทษอาญาที่จะกําหนดนั้นตองสามารถแกไขปญหาที่เกิดขึ้นจาก

Page 91: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

67

การกระทํานั้นได และตองไมมีผลกระทบตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของ

ประชาชนเสียเอง

2) ประเภทของโทษอาญา

โทษอาญาอาจแบงออกไดเปน 4 ประเภท คือ โทษที่กระทบ

ตอชีวิตของผูกระทําความผิด โทษที่กระทบตอเสรีภาพของผูกระทําความผิด โทษที่

กระทบตอการดํารงชีวิตตามปกติของผูกระทําความผิด และโทษที่กระทบตอทรัพยสิน

ของผูกระทําความผิด

(1) โทษที่กระทบตอชีวิตของผูกระทําความผิด

โทษประเภทนี้ไดแกการประหารชีวิตผูกระทําความผิด

โทษนี้ใชเฉพาะการกระทําความผิดที่รุนแรงมากหรือที่มีผลกระทบตอความสงบ

เรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนอยางมาก ทั้งนี้ เพื่อใหสาสมกับความรายแรง

ของการกระทําความผิด ตัดผูกระทําความผิดซึ่งมีสันดานอันเปนผูรายออกจากสังคม

อยางถาวร และยับยั้งความคิดรายของผูที่คิดจะกระทําความผิด

มีขอสังเกตวาหลายประเทศไดยกเลิกโทษประหารชีวิต

แลวเนื่องจากเหตุผลดานมนุษยธรรมและการประหารชีวิตไมมีผลเปนการลดคดี

อุกฉกรรจ ทั้งยังอาจทําใหผูกระทําความผิดที่มีโทษถึงประหารชีวิต แตยังไมถูกจับกุม

กระทําความผิดตอๆ ไปโดยไมเกรงกลัวโทษ เพราะถึงอยางไรความผิดครั้งแรกหากถูก

จับกุมไดก็มีโทษถึงประหารชีวิตอยูแลว แตหลายประเทศ รวมทั้งประเทศไทย ยังคงใช

โทษประหารชีวิตอยู

(2) โทษที่กระทบตอเสรีภาพของผูกระทําความผิด

โทษประเภทนี้ไดแกการจําคุกและกักขัง มีวัตถุประสงค

เพื่อตัดผูกระทําความผิดออกจากสังคมเปนการชั่วคราว (กรณีจําคุกโดยมีกําหนดเวลา

และการกักขัง) หรือเปนการถาวร (กรณีจําคุกตลอดชีวิต) และอาศัยชวงเวลาดังกลาว

ในการดัดนิสัยของผูกระทําความผิดกอนที่จะกลับคืนสูสังคม โทษจําคุกเปนการนํา

ผูกระทําความผิดไปควบคุมไวในเรือนจําและอยูภายใตการควบคุมดูแลอยางใกลชิด

ของเจาหนาที่ของรัฐ มักใชกับความผิดที่รายแรงหรือความผิดที่ฝาฝนตอศีลธรรมหรือ

ความสงบเรียบรอยของสังคมอยางมาก สวนโทษ

Page 92: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

68

กักขังนั้นเปนการกักตัวผูกระทําความผิดไวในสถานที่ที่กําหนด เชน ในบานของผูกระทํา

ความผิดเอง เปนตน มักใชกับผูกระทําความผิดสถานเบา

ในอดีตประเทศตาง ๆ กําหนดโทษจําคุกแกการกระทํา

ความผิดเกือบทุกประเภท ทั้งความผิดรายแรงและความผิดไมรายแรง เพราะนอกจากจะ

เปนการตัดผูกระทําความผิดออกจากสังคมไดอยางเด็ดขาดแลว การจําคุกยังทําให

ผูกระทําความผิดหลาบจํา ไมกระทําความผิดซ้ําดวย แตการกําหนดโทษจําคุกโดยไม

คํานึงถึงสภาพความรายแรงของการกระทําความผิดทําใหมีผูถูกจําคุกเปนจํานวนมาก

จนกระทั่งเรือนจําไมเพียงพอจําคุกผูกระทําความผิด สภาพความเสื่อมโทรมของ

เรือนจํามีผลกระทบตอสุขภาพของผูตองโทษ ทั้งยังทําใหเรือนจํากลายเปนแหลง

เรียนรูการกระทําความผิดรายแรง แมรัฐจะลงทุนดานบุคลากรและงบประมาณเพื่อเพิ่ม

จํานวนเรือนจํา แตก็ไมสามารถแกไขปญหาดังกลาวได ตอมา หลายประเทศ เชน

สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย เปนตน ไดเปลี่ยนแนวทางการลงโทษจําคุกใหม โดยใช

โทษจําคุกเฉพาะความผิดรายแรง และนําโทษกักขังมาใชกับความผิดไมรายแรง

โดยการกักขังผูกระทําความผิดไวในบานของผูกระทําความผิดเอง (House arrest) หรือ

ในสถานที่ที่กําหนด และติดตั้งอุปกรณอิเล็กทรอนิคสเพื่อปองกันผูกระทําความผิด

หลบหนี การเปลี่ยนแนวทางการลงโทษจําคุกนี้ชวยลดคาใชจายของรัฐที่เกี่ยวกับการ

จําคุกไดเปนจํานวนมาก และเปนการปองกันมิใหผูที่กระทําความผิดไมรายแรงเขา

ไปอยูรวมกับผูที่กระทําความผิดรายแรงอันเปนเหตุที่จะทําใหเกิดการเรียนรูการกระทํา

ความผิดจากผูกระทําความผิดรายแรง

(3) โทษที่กระทบตอการดํารงชีวิตตามปกติของผูกระทํา

ความผิด

โทษประเภทนี้ ไดแกการสั่ ง ใหทํางานเพื่อสังคม

(Community service) ในเรื่องตาง ๆ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูกระทําความผิดโดยไมมี

เจตนารายไดรูสํานึกในการกระทําของตน และหลาบจํา การลงโทษประเภทนี้มิไดใช

เฉพาะผูกระทําความผิดที่เปนบุคคลธรรมดาเทานั้น แตยังใชไดกับผูกระทําความผิดที่เปน

นิติบุคคลดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งในคดีเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม เชน การสั่งใหนิติบุคคลที่

ปลอยมลพิษออกสูสภาพแวดลอมตองดําเนินการกําจัดมลพิษที่ตนปลอยออกไป หรือโดย

Page 93: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

69

การจายเงินสนับสนุนแกองคกรพิทักษสิ่งแวดลอม เปนตน สําหรับประเทศไทยนั้นมาตรการ

นี้ยังไมถือเปนโทษ แตอาจถูกนํามาใชในการคุมประพฤติหากศาลจะไมลงโทษผูกระทํา

ความผิด

(4) โทษที่กระทบตอทรัพยสินของผูกระทําความผิด

โทษประเภทนี้ไดแกการปรับและการริบทรัพยสินของ

ผูกระทําความผิด การปรับเปนโทษที่บังคับเอากับทรัพยสินของผูกระทําผิดตามที่ศาล

กําหนด โดยมักจะกําหนดโทษปรับเปนจํานวนเงินที่แนนอน ซึ่งเปนโทษที่ใชกันทั่วไปใน

ความผิดที่ไมรุนแรง แตการกําหนดโทษปรับที่มีอัตราคาปรับสูงจะใชกับความผิดทาง

เศรษฐกิจหรือความผิดที ่กระทําโดยนิติบุคคล เชน ความผิดเกี่ยวกับการซื้อขาย

หลักทรัพย เปนตน สวนการริบทรัพยสินนั้นเปนการริบทรัพยสินที่มีไวเปนความผิด

หรือที่ใชในการกระทําความผิด หรือที่ไดมาจากการกระทําความผิดเพื่อมิใหผูกระทํา

ความผิดใชหรือไดประโยชนจากทรัพยสินนั้นอีกตอไป เชน ความผิดคดียาเสพติด หรือ

อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ เปนตน

2.3 ความเปนมาของกฎหมายอาวุธปนในประเทศไทย27

ความเปนมาของกฎหมายอาวุธปนในประเทศไทยนั้น เกิดจากแนวความคิดวา

อาวุธปนเปนศาสตราวุธอันรายแรง สามารถที่จะทําอันตรายตอชีวิตและรางกายแกบุคคล

ไดโดยงาย หากอยูในความครอบครองของบุคคล และนําไปใชในทางมิชอบแลว ยอมกอใหเกิด

ความเสียหายแกผูอื่น และอาจทําใหผูอื่นไดรับอันตรายถึงชีวิตได ดังนั้นความคิดที่จะออก

กฎหมายควบคุมการมีอาวุธปนไวในครอบครองของบุคคลจึงมีมานานแลว ในสมัยกรุง

ศรีอยุธยา พ.ศ. 2295 ไดมีการออก “กฎใหแกผูรักษาเมืองผูรั้งกรมการเมือง จ.ศ.

114” กําหนดใหมีการทําตําหนิรูปพรรณปนไววา

“............ถาลูกบานนั้นมีปนไวสําหรับตัวใช ก็ใหเอาปนนั้นมาชวยบอกแก

ผูใหญ นายบาน และใหผูใหญบานนั้นวัดชั่นยาว และกฎหมายเอารูปพรรณปนน้ันไว ถา

27 กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, คูมือปฏิบัติงานอาวุธปน พ.ศ. 2548 เลมที่ 1 ฉบับรวม

กฎหมายอาวุธปน, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพอาสารักษาดินแดน กรมการปกครอง, 2549) หนา

161 - 164

Page 94: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

70

แลหาจาฤกมิไดก็ใหเอาไปใหผูรักษาเมือง ผูรั้งกรมการจาฤกปนนั้นลงไวในลํากลองปน

นั้นใหสําคัญตามกฎ แลวใหมอบปนนั้นไวใหแก เจาของใหเอาไวสําหรับตัว...............”

ตอมาก็ไดมีขอบังคับเกี่ยวกับอาวุธปน เทาที่ปรากฏสวนใหญมักอยูในรูป

ของประกาศ กลาวคือ ในป จ.ศ. 1220 (พ.ศ. 2401) ไดมี “ประกาศตั้งผูจับคนยิงปนใน

แขวงกรุงเทพฯ โดยมิไดบอก ปากเสียง” และในป จ.ศ. 1220 นั้นเองก็ไดมี “ประกาศเรื่อง

ยิงปนใหขออนุญาตกอน”

ในป จ.ศ. 1229 (พ.ศ. 2401) มี “ประกาศหามไมใหพนักงานผูยิงปน

พิธีตรุษทําอยางอายนาก อายแยม ปเถาะนพสก” ในประกาศฉบับนี้มีความบัญญัติวา อายนาก

หลวงสุรินทรเดช และอายแยมขุนจงใจยุทธ ทําความผิดใหขัดเคืองใตฝาละอองฯ ใหลง

พระราชอาญาจําไว ณ คุก ถาพนักงานยิงปนในพระราชพิธีตรุษ ณ วันที่ 14 ฯ 4 ค่ํา ปเถาะ

นพศก ถาผูที่ตองเกณฑยิงปนกระทําความผิดใหขัดเคืองใตฝาละอองฯ เหมือนอยางอาย

นาก อายแยม จะเอาตัวผูนั้นทําโทษถึงประหารชีวิตพรอมดวยกันกับอายนาก อาย

แยมนั้น

ตอมาไมปรากฏแนชัดวาเปนปใดไดมี “ประกาศยิงปนอาฎานา ฝ ง

ตะวันตก”

ในป จ.ศ. 1236 (พ.ศ. 2417) มี “ประกาศเรื่องปนแคตริงกัน” โดยกําหนด

หามมิใหซื้อขาย แลกเปลี่ยน หรือหาไวใชสอยซึ่งปนแคตริงกัน

ในป จ.ศ. 1246 (พ.ศ. 2427) มี “ประกาศหามเครื่องศาสตราวุธ กระสุนดิน

ดํา” โดยกําหนดหามมิใหนําเครื่องศาสตราวุธและกระสุนดินดําและเครื่องระเบิดตางๆ

เขามาในราชอาณาจักร และในป จ.ศ. 1246 (พ.ศ. 2427) มี “ประกาศเจานครเชียงใหม

หามมิใหราษฎรลักลอบซื้อเครื่องศาสตราวุธ กระสุนดินดํา”

ตอมา ร.ศ. 118 (พ.ศ. 2442) มี “ประกาศขอบังคับสําหรับอาวุธตางๆ กระสุน

ดินปน ซึ่งมาจากตางประเทศใหใชไปพลางกอน ร.ศ. 118” โดยหามมิใหผูใดบรรทุก

เครื่องศาสตราวุธกระสุนดินดําเขามาในราชอาณาจักรสยาม เวนแตจะไดรับอนุญาตจาก

เจาพนักงานฝายสยามกอน และใหตราพระราชบัญญัติสําหรับเครื่องกระสุนปนตางๆ เขา

โดยผิดกฎที่กําหนดไวมีโทษปรับหรือจําขัง หรือทั้งจําทั้งปรับและใหริบเปนของรัฐบาล

สยาม

Page 95: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

71

ในป ร.ศ. 118 (พ.ศ. 2442) อีกเชนกันไดมี “ประกาศหามมิใหถืออาวุธปนและ

ยิงปนและใหจุดใตตามเพลิงในเวลากลางคืนในมณฑลตางๆ” แตประกาศฉบับนี้ยกเลิกไป

ในป ร.ศ. 128 (พ.ศ. 2452)

ในป ร.ศ. 125 (พ.ศ. 2449) ก็ไดมี “ประกาศขอบังคับสําหรับการที่จะนําปน

และปศตันกระสุนดินดําเขามาในมณฑลภูเก็ต” ซึ่งเปนการในอํานาจขาหลวง เทศาภิบาล

และผูวาราชการเมืองในมณฑลภูเก็ต ออกใบอนุญาตใหนําปนเขามาในเมืองไดตาม

ขอบังคับท่ีกําหนดไว

ในป ร.ศ. 131 (พ.ศ. 2455) จึงไดมี “พระราชบัญญัติอาวุธปน และเครื่อง

กระสุนปน รัตนโกสินทรศก 131”28 พระราชบัญญัติฉบับนี้หามมิใหผูใดทํา หรือซอมแซม

หรือคาขาย หรือมีอาวุธปน เคร่ืองกระสุนปนในราชอาณาจักรโดยมิไดรับอนุญาตจากรัฐบาล

และหามมิใหสั่งเขามาในราชอาณาจักรหรือซึ่งอาวุธปน เครื่องกระสุนปน เวนแตจะไดรับการ

อนุญาตจากรัฐบาล สวนอาวุธปนและเคร่ืองกระสุนปนที่ใชในการทําสงครามหามมิใหออก

ใบอนุญาตในการนําเขา ทํา ซื้อขาย ซอมแซม เปนอันขาด แต เมื่อประกาศใช

พระราชบัญญัติอาวุธปน และเครื่องกระสุนปนรัตนโกสินทรศก 131(พ.ศ.2455) นั้นให

ใชบังคับเฉพาะในกรุงเทพมหานคร (ตั้งแต 1 ตุลาคม ร.ศ. 131 เปนตนไป) และไดกําหนดวา

ถาจะใชบังคับในมณฑลอื่นจะประกาศในราชกิจจานุเบกษาจนกระทั่ง วันที่ 7 สิงหาคม ร.ศ.

132 (พ.ศ. 2456) จึงมี “ประกาศใหใชพระราชบัญญัติอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนรัตนโกสินทร

ศก 131”29 กําหนดใหใชบังคับใน 17 มณฑล ตั้งแต 1 พฤศจิกายน ร.ศ. 132 (พ.ศ.2456)

เปนตนไป

หลังจากไดประกาศใชพระราชบัญญัติอาวุธปน และเครื่องกระสุนปน รัตนโกสิ

นทรศก 131 แลวก็ไดมีประกาศและกฎเสนาบดีตางๆ ที่ออกตามบทบัญญัติของ

พระราชบัญญัติอาวุธปนและเครื่องกระสุน รัตนโกสินทรศก 131 และในป พ.ศ. 2458 ก็

ไดมีพระบรมราชโองการ “ประกาศแกไขเปลี่ยนแปลง พระราชบัญญัติอาวุธปน และ

28 “พระราชบัญญัติอาวุธปน และเครื่องกระสุนปน รัตนโกสินทรศก 131”, ราชกิจจานุเบกษา เลม

ที่ 29 ฉบับพิเศษ (28 กรกฎาคม 131) : 12029 “ประกาศใหใชพระราชบัญญัติอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนรัตนโกสินทรศก 131” , ราชกิจจา

นุเบกษา เลมที่ 30 (21 กันยายน 2456) : 299

Page 96: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

72

เครื่องกระสุนปน รันตโกสินทรศก 131”30 โดยกําหนดคําวาอาวุธปนเสียใหม ให

หมายความวาอาวุธปนทุกชนิดรวมทั้งปนที่ใชยิงไดโดยวิธีอัดลม หรือเครื่องกลอยาง

ใดๆ และตลอดถึงสวนใดของอาวุธปนๆ ดวย แตไมกินความไปถึงปนสําหรับเด็กเลน

จนถึงป 2477 จึงประกาศใช “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุ

ระเบิด และดอกไมเพลิง พุทธศักราช 2477”31บทบัญญัติของพระราชบัญญัติฉบับนี้มี

สาระสําคัญดังนี้

1. หามมิใหผูใดมีอาวุธปน เครื่องกระสุนปนบางชนิด เชน อาวุธปน และ

เครื่องกระสุนปนที่ใชในการสงคราม

2. กําหนดการอนุญาตใหบุคคลผูมิไดออกรานคาอาวุธปน หรือผูทํามี

อาวุธปน เครื่องกระสุนปนไดโดยการไดรับอนุญาตกอน

3. มีการอนุญาตใหผูออกรานคาอาวุธปน หรือผูสั่งทํา ซอม และคาอาวุธปน

และเครื่องกระสุนปนไดโดยไดรับอนุญาตกอน

4. วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง หามมิใหผูใดทํา สั่งนําเขา คาหรือมีเวนแตจะไดรับ

อนุญาตกอน

5. ถาผูใดฝาฝนบทบัญญัติแหงกฎหมายนี้ ตองระวางโทษจําคุก ปรับ และทั้ง

จําทั้งปรับ

พระราชบัญญัติอาวุธปน และเครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง

พุทธศักราช 2477 นั้น ไดมีการแกไขเพิ่มเติมรวม 5 ครั้ง ดังนี้

1. “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิดและดอกไมเพลิง

แกไขเพิ่มเติม พุทธศัก ราช 2477”32 ซึ่งเปนการแกไขบทเฉพาะกาลโดยกําหนดใหผูมีอาวุธปน

และเครื่องกระสุนปนโดยไมไดรับอนุญาตไปขอรับใบอนุญาตได

30 “ประกาศแกไขเปลี่ยนแปลง พระราชบัญญัติอาวุธปน และเคร่ืองกระสุนปน รันตโกสินทรศก 131”,

ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 32 (3 ตุลาคม 2458) : 276 31 “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง พุทธศักราช 2477” , ราช

กิจจานุเบกษา เลมที่ 51 (19 สิงหาคม 2477) : 279 32 “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง แกไขเพิ่มเติม

พุทธศักราช 2477” , ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 51 (19 สิงหาคม 2477) : 719

Page 97: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

73

2. “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิดและดอกไมเพลิง

และแกไขเพิ่มเติม พุทธ ศักราช 2477 ( ฉบับที่ 2 )”33 เปนการแกไขคุณสมบัติของผูที่จะ

มาขอใบอนุญาตมีอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน

3. “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง

(ฉบับที่ 4) พุทธศักราช 2479”34 โดยกําหนดยกเวนไมใหบังคับอาวุธปน เครื่องกระสุน

ปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง ซึ่งเจาพนักงานไดรับมาจากรัฐบาลเพื่อทําตามหนาที่

หรือรัฐบาลสั่งเขามา นําเขามา สงออกไป ทําขึ้นมาขาย หรือจําหนายโดยวิธีอื่น แตอาวุธ

ของกระทรวง ทบวง กรม ในรัฐบาลนอกจากกระทรวงกลาโหมและกรมตํารวจให

รัฐมนตรีผูมีหนาที่รักษาการมีอํานาจจํากัด ชนิดและจํานวนได และไมบังคับถึงอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด หรือดอกไมเพลิงในเรือเดินทะเลซึ่งเปนของประจําเรือที่มี

ไดตามปกติ

4. “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง

(ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2484”35 โดยกําหนดใหมีการแกไขวันท่ีและเดือนเทานั้น

5. “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง

(ฉบับที่ 6) พุทธศักราช 2487”36 ซึ่งอนุญาตใหผูที่มีอาวุธปน เครื่องกระสุนปน โดยไมมี

ใบอนุญาต ถายื่นขอใบอนุญาตตามกําหนดผูนั้นไมตองรับโทษ

ตอมาก็ไดประกาศใช “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด

และดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490”37 ใชบังคับตั้งแต พ.ศ. 2490 จนถึง

ปจจุบัน ซึ่งพระราชบัญญัติฉบับนี้ไดมีการแกไขเพิ่มเติมรวม 11 ครั้ง ดังนี้

33 “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง แกไขเพิ่มเติม

พุทธศักราช 2477(ฉบับที่ 2)” , ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 52 (28 เมษายน 2478) : 11834 “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 4) พุทธศักราช

2477 ” , ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 54 (26 เมษายน 2480) : 19435 “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 5)

พุทธศักราช 2477” , ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 58 (4 พฤศจิกายน 2484) : 150736 “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื ่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 6)

พุทธศักราช 2477” , ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 61 ตอน 1 (1 มกราคม 2487) : 1

Page 98: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

74

1. “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง

และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2491”38 เปนการแกไขเพิ่มเติมโดยกําหนดใหผูใด

ที่มีอาวุธปนซึ่งไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด

ดอกไมเพลิง พ.ศ. 2477 มาแลว แตใบอนุญาตไดสิ้นอายุลงกอนวันใชพระราชบัญญัตินี้ ก็

ใหนํามาขอรับใบอนุญาตใหมภายในกําหนดเกาสิบวันนับแตวันที่ใชพระราชบัญญัตินี้

หรือในกรณีที่ใบอนุญาตสิ้นอายุภายหลังวันใชพระราชบัญญัตินี้ ก็ใหนํามาขอรับ

ใบอนุญาตใหมภายในกําหนดเกาสิบวันนับแตวันที่ใบอนุญาตสิ้นอายุ

2. “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง

และสิ่ ง เทียมอาวุธปน (ฉบับที่ 3) พ.ศ . 2501” 39 เหตุผลในการประกาศใช

พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ

2.1 เนื่องจากในขณะนี้ไมมีกฎหมายกําหนดไวโดยชัดเจนวาอยางใด

เรียกวา อาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิดใชเฉพาะแตในการสงคราม จึงจําเปนตอง

แกไขเพิ่มเติมกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องนี้เพื่อใหมีความหมายชัดขึ้น กับใหรัฐมนตรีมีอํานาจ

กําหนดวาสิ่งใดเปนอาวุธที่ใชในการสงคราม ซึ่งถือไดวาเปนอาวุธรายแรงอันประชาชน

ไมควรมีไวในครอบครอง

2.2 เพื่อเปดโอกาสใหบุคคลที่มีอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด โดย

มิชอบดวยกฎหมายนําอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิดดังกลาวมาขอรับอนุญาต

เพื่อใหถูกตองตามกฎหมาย โดยเฉพาะในเรื่องใหนํามาจดทะเบียน รัฐบาลไดเคยเปดโอกาส

ใหนํามาจดทะเบียนไดมากอนแลว แตก็ยังปรากฏวามีผูละเลยไมปฏิบัติตามอยูอีกเปน

จํานวนมาก และโดยที่อัตราโทษตามพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุ

37 “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง พ.ศ. 2490” , ราชกิจจา

นุเบกษา เลมที่ 42 เลม 64 (9 กันยายน 2490) : 55638 “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2491”,ราช

กิจจานุเบกษา เลมที่ 5 เลม 65 (27 มกราคม 2491) : 3039 “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2501” ,

ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 75 ตอนที่ 72 (16 กันยายน 2501) : 549

Page 99: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

75

ระเบิด และดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 ยังไมเปนการเหมาะสม จึง

สมควรกําหนดโทษใหเหมาะสมยิ่งขึ้น

2.3 อัตราคาธรรมเนียมซึ่งไดกําหนดไวเดิมนั้น เปนอัตราต่ําอยู ยังไมเปน

การเหมาะสมเมื่อไดคํานึงถึงคาของเงินในปจจุบัน

3. “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และ

สิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2501”40 เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติ

ฉบับนี้ คือ เนื ่องจากในปจจุบ ันนี ้ม ีผู ผลิตอาวุธปนจําหนาย และมีอาวุธปนไวใน

ครอบครองโดยไมไดรับอนุญาตเปนจํานวนมาก ทําใหการปราบปรามอาวุธปนเถื่อนไม

ไดผลตามความมุงหมาย รัฐบาลจึงเปดโอกาสใหบุคคลท่ีมีอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุ

ระเบิดโดยมิชอบดวยกฎหมาย นําเอาอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิดดังกลาวมา

ขอรับอนุญาตเพื่อใหถูกตองตามกฎหมายภายในระยะเวลาที่กําหนด กรณีทํานอง

เดียวกันนี้ รัฐบาลไดเคยเปดโอกาสใหกระทํามาแลว และโดยที่อัตราโทษที่ใชลงโทษแก

ผูกระทําผิดยังไมเหมาะสม สมควรแกไขเพิ่มเติมโทษใหเหมาะสมอีกดวย จึงไดตรา

พระราชบัญญัติฉบับนี้ขึ้น

4. “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และ

สิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2517”41 เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติ

ฉบับนี้ คือ เพื่อใหศาลใชดุลพินิจในการพิพากษาคดีเกี่ยวกับบทลงโทษผูมีเครื่องกระสุน

ปนเพียงเล็กนอยใหไดรับโทษโดยความเปนธรรม

5. “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และ

สิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2518”42 เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติ

ฉบับนี้ คือ เนื่องจากในปจจุบันนี้มีผูผลิตอาวุธปนจําหนายและมีอาวุธปนไวในความ

40 “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2501”,

ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 84 ตอนที่ 93 (3 ตุลาคม 2510) : 77141 “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 5)

พ.ศ. 2517” , ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 91 ตอนที่ 109 ฉบับพิเศษ (26 มิถุนายน 2517) : 2242 “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 6)

พ.ศ. 2518” , ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 92 ตอนที่ 174 ฉบับพิเศษ (29 สิงหาคม 2518) : 1

Page 100: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

76

ครอบครองโดยไมไดรับอนุญาตเปนจํานวนมาก ทําใหการปราบปรามอาวุธปนเถื่อนไม

ไดผลตามความมุงหมาย และมีการใชอาวุธปนเถื่อนในการโจรกรรมกันทั่วไป จึงควรเปด

โอกาสใหบุคคลที่มีอาวุธปน เครื่องกระสุนปนและวัตถุระเบิดโดยมิชอบดวยกฎหมาย นํา

อาวุธปน เครื่องกระสุนปน และวัตถุระเบิดดังกลาวมาขอรับอนุญาตเพื่อใหถูกตองตาม

กฎหมายภายในระยะเวลาที่กําหนด กรณีทํานองเดียวกันนี้รัฐบาลไดเคยเปดโอกาสให

กระทํามาแลว จึงไดตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้น

6. “คําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ 12 ลงวันที่ 7 ตุลาคม

พ.ศ. 2519” ถูกยกเลิกโดย “คําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับท่ี 44 ลงวันที่ 21

ตุลาคม พ.ศ. 2519” โดยคําสั่งฉบับนี้ไมมีผลในการแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 แตอยางใด

7. “คําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ 44 ลงวันที่ 21 ตุลาคม

พ.ศ. 2519”43 เปนการแกไขบทบัญญัติในเรื่องการออกใบอนุญาตสําหรับการพกพาอาวุธ

ปน การเพ่ิมอัตราโทษการกระทําความผิดที่ฝาฝนพระราชบัญญัตินี้ ตลอดจนการใหหนวย

ราชการและรัฐวิสาหกิจตาง ๆ ที่มีความจําเปนสามารถมีและใชอาวุธปนไดตามความ

เหมาะสม เพื่อปองกันทรัพยสินอันใชเพื่อประโยชนสาธารณะและเปนการลด

ภาระหนาที่ของราชการตํารวจหรือทหาร

8. “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง

และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2522”44 เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติ

ฉบับนี้ คือ โดยที่คําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ 44 ลงวันที่ 21

ตุลาคม พ.ศ. 2519 ไดแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุ

ระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 ใหหนวยราชการและรัฐวิสาหกิจ

สามารถมีและใชอาวุธปนไดเพื่อปองกันทรัพยสินอันใชเพ่ือประโยชนสาธารณะและเปน

43 “คําส่ังของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ 44 ลงวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2519”. ราชกิจจา

นุเบกษา เลมที่ 93 ตอนที่ 134 ฉบับพิเศษ (21 ตุลาคม 2519) : 6144 “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2522”,

ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 99 ตอนที่ 28 ฉบับพิเศษ (1 มีนาคม 2522) : 11

Page 101: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

77

การลดภาระหนาที่ของราชการตํารวจหรือทหาร และไดเปลี่ยนแปลงอัตราโทษตาม

กฎหมายเดิมใหสูงเพิ่มขึ้น การแกไขเพิ่มเติมในครั้งนั้นมีรายละเอียดตางๆ ที่ไมรัดกุม

เพียงพอทําใหไมสามารถออกกฎกระทรวงกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับชนิด ขนาด

จํานวน การมีและใช การเก็บรักษา การพาติดตัว การซอมแซม ฯลฯ และการอื่นอันจําเปน

เกี ่ยวกับอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน

เพื ่อที่จะใหหนวยราชการและรัฐวิสาหกิจบางประเภทสามารถมีและใชได ซึ่งอาจทําให

หนวยราชการและรัฐวิสาหกิจตาง ๆ มีและใชอาวุธปนโดยไมมีมาตรการควบคุมที่

เหมาะสม และนอกจากนั้น ในขณะนี้รัฐบาลไดขยายโครงการใหประชาชนเขามามีสวน

รวมในการชวยเหลือราชการของทหารและตํารวจมากขึ ้น เพื่อการปองกันและรักษา

ความมั่นคงของประเทศและความสงบเรียบรอยของประชาชนใหปลอดจากภัยตางๆ ที่

กําลังคุกคามอยู สมควรใหประชาชนผูใหความรวมมือแกทางราชการดังกลาวสามารถมี

และใชอาวุธบางประเภทและอาจพาติดตัวไดตามความเหมาะสม โดยไมจําตองอยูใน

กฎเกณฑที่ใชบังคับสําหรับประชาชนทั่วไป อนึ่งการแกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งของคณะ

ปฏิรูปการปกครองแผนดินดังกลาวไดกําหนดโทษอาญาแกการกระทําบางอยางไวสูงเกิน

ความจําเปน สมควรแกไขเสียใหมใหเหมาะสมแกความรายแรงแหงการกระทําความผิด และ

โดยที่การกําหนดหลักการใหกําหนดประเภทของอาวุธวาอาวุธใดเปนของสําหรับใชเฉพาะ

ในการสงครามนั้นไมสะดวกแกทางปฏิบัติ เพราะอาวุธตาง ๆมีมากมายหลายประเภทเกิน

กวาที่จะกําหนดใหครบถวนได สมควรเปลี่ยนแปลงหลักการใหมโดยใหกําหนดแต

เฉพาะอาวุธปน เครื่องกระสุนปน และวัตถุระเบิดที่เอกชนอาจมีไดแทนการกําหนด

อาวุธใหเปนอาวุธที่ใชเฉพาะในราชการสงคราม และในประการสุดทาย โดยที่กิจการอัน

เกี่ยวกับอาวุธที่เอกชนไมอาจมีหรือกระทําได ตลอดจนการใหกระทรวง ทบวง กรม และ

รัฐวิสาหกิจตางๆ มีและใชอาวุธไดนั้น เปนกรณีที่มีความสําคัญตอความมั่นคงของ

ประเทศ ดังนั้น สมควรใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม เขามามีส วนในการ

ควบค ุมกิจการด ังกล าวโดยเป นร ัฐมนตร ีผู ร ักษาการตามกฎหมายนี ้ด วย จ ึง

จําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้น

Page 102: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

78

9. “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และ

สิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2530”45 เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติ

ฉบับนี้ คือ เนื่องจากปจจุบันมีการนําอาวุธที่ใชเฉพาะในการสงครามหรืออาวุธที่กฎหมาย

ไมอนุญาตใหมีและใช มาใชในการประกอบอาชญากรรมเพิ่มขึ้นเปนลําดับซึ่งอาวุธ

ดังกลาวมีประสิทธิภาพในการทําลายสูง กอใหเกิดความหวาดกลัวแกประชาชน

ประกอบกับกฎหมายที่ใชอยูในปจจุบันกําหนดโทษผูมีและใชอาวุธดังกลาวไวต่ํา ดังนั้น

เพื่อปราบปรามผูครอบครองอาวุธเหลานี้ใหสิ้นไป สมควรเปลี่ยนแปลงบทกําหนดโทษ

เสียใหมและยกเวนโทษใหแกผูมีอาวุธดังกลาวที่นําอาวุธนั้นๆ มามอบใหแกนายทะเบียน

ทองที่ภายในเวลาที่กําหนด จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

10. “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และ

สิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2543”46 เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติ

ฉบับนี้ คือ โดยที่อัตราคาธรรมเนียมใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและใบอนุญาตใหมี

อาวุธปนติดตัว ไดใชบังคับมาเปนเวลานาน ทําใหอัตราคาธรรมเนียมไมเหมาะสมกับ

สภาวการณในปจจุบัน สมควรแกไขเพิ่มเติมอัตราคาธรรมเนียมดังกลาวใหเหมาะสม

ยิ่งข้ึน จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

11. ประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ฉบับที่ 87/2557 เรื่อง การแกไข

เพิ่มเติมผูรักษาการตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับอํานาจหนาที่ของเจาพนักงานตํารวจ47 โดยขอ 3 ใหยกเลิกความในวรรคหนึ่งและวรรคสองของมาตรา 6 แหงพระราชบัญญัติ

45 “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 8) พ.ศ.

2530” ,

ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 104 ตอนที่ 141 ฉบับพิเศษ (24 กรกฎาคม 2530) : 2246 “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2543” ,

ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 117 ตอนที่ 92 ก (11 ตุลาคม 2543) : 447 “ประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ฉบับที่ 87/2557 เรื่อง การแกไขเพิ่มเติมผูรักษาการ

ตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับอํานาจหนาที่ของเจาพนักงานตํารวจ”, ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 131 ตอน

พิเศษ 134 ( 21 กรกฎาคม 2457) : 18

Page 103: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

79

อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ.2490

ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และ

สิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2522 และใหใชความตอไปนี้แทน

"มาตรา 6 ใหนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจแตงตั้งนายทะเบียนและเจาหนาที่อื่น และ

ออกกฎกระทรวงในเรื่อง

ตอไปนี้ คือ

(1) จํากัดชนิดและจํานวนอาวุธปนของกระทรวง ทบวง กรมอื่น นอกจากของ

ราชการทหารและตํารวจ หรือหนวยราชการตามมาตรา 5 วรรคสอง

(2) วางระเบียบการทะเบียน การขอและการออกใบอนุญาต

(3) กําหนดอัตราคาธรรมเนียมซึ่งตองไมเกินอัตราในบัญชีทาย

พระราชบัญญัตินี้

(4) กิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ในสวนที่เกี่ยวกับ

การออกกฎกระทรวงตามวรรคหนึ่ง (1) ตามมาตรา 5 วรรคสอง และตามมาตรา 55

ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมรวมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมี

อํานาจออกกฎกระทรวงรวมกับนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

ดวย"

2.4 ขั้นตอนการปฏิบัติงานทะเบียนอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนตามพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียม

อาวุธปน พ.ศ. 2490 ไดวางหลักเกณฑในการขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนในประเทศ

ไทยโดยมีวัตถุประสงคโดยตรงในการตรวจสอบคุณสมบัติของบุคคลที่จะขออนุญาตมี

และใชอาวุธปน เพื ่อเปนหลักประกันตอสังคมวาผูที่ไดรับอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน

ไดรับการตรวจสอบอยางละเอียดรอบคอบในทุกๆ ดานจากทางราชการแลว การมี

และใชอาวุธปนของบุคคลดังกลาวจึงไมมีอันตรายตอบุคคลอื่น และเปนการควบคุมจํานวน

ของอาวุธปนเพื่อมิใหมีจํานวนมากเกินไปดวย

Page 104: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

80

2.4.1 การขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน กรณีซื้อจากรานคา

อาวุธปน

2.4.1.1 คุณสมบัติของผูขออนุญาต

1) เปนบุคคลบรรลุนิติภาวะ

2) ไมเปนบุคคลซึ่งไมสามารถใชอาวุธปนไดโดยกายพิการหรือ

ทุพพลภาพ

3) ไมเปนบุคคลไรความสามารถหรือเสมือนไรความสามารถหรือจิต

ฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือวิกลจริต

4) ประกอบสัมมาอาชีพ มีถิ่นที่อยูประจําในทองที่ที่ขออนุญาต

มีชื่อในทะเบียนบานและมีถิ่นที่อยูประจําในทองที่ไมนอยกวา 6 เดือน

5) ไมเปนบุคคลที่มีประวัติเกี่ยวของกับยาเสพติด หรือไมเปนบุคคล

ที่มีความประพฤติชั่วอยางรายแรงอันอาจกระทบกระเทือนถึงความสงบเรียบรอยของ

ประชาชน

6) ไมเคยตองโทษจําคุกในฐานความผิดที่กฎหมายกําหนด ดังตอไปนี้

(1) ไมเปนบุคคลซึ่งตองโทษจําคุกสําหรับความผิดตามกฎหมาย

ลักษณะอาญา ดังตอไปนี้

(ก) มาตรา 97 ถึงมาตรา 111 มาตรา 120 มาตรา 177

ถึงมาตรา 183 มาตรา 249 มาตรา 250 หรือมาตรา 293 ถึงมาตรา 303

(ข) มาตรา 244 ถึงมาตรา 257 และพนโทษยังไมเกิน 5 ป

นับแตว ันพนโทษถึงวันยื่นคําขอใบอนุญาต เวนแตในกรณีความผิดที่กระทําโดย

ความจําเปนหรือเพื่อปองกันหรือโดยถูกยั่วโทสะ

(2) บุคคลซึ่งตองโทษจําคุกสําหรับความผิดอันเปนการฝาฝน

ตอพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง พุทธศักราช

2477 มาตรา 11 มาตรา 22 มาตรา 29 หรือมาตรา 33 หรือพระราชบัญญัติอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 มาตรา 7

มาตรา 24 มาตรา 33 หรือมาตรา 38

Page 105: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

81

(3) บุคคลซึ่งตองโทษจําคุกตั้งแตสองครั้งขึ้นไปในระหวาง

หาปนับยอนขึ้นไปจากวันยื่นคําขอ สําหรับความผิดอยางอื่นนอกจากที่บัญญัติไว

ใน (1) และ (2) เวนแตความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

2.4.1.2 เอกสารประกอบคําขออนุญาตซ้ืออาวุธปนและเครื่องกระสุนปน

1) บัตรประจําตัวประชาชน พรอมสําเนา

2) ทะเบียนบาน พรอมสําเนา

3) บัตรประจําตัวเจาหนาที่ของรัฐ บัตรพนักงานองคกรของรัฐ

หรือบัตรพนักงานรัฐวิสาหกิจ (ฉบับจริงพรอมสําเนา)

4) หลักฐานการประกอบอาชีพ รายได และหลักทรัพย พรอม

สําเนา

5) สําเนาบัตรสมาชิกสนามกีฬายิงปน ซึ่งผูขอใบอนุญาตตอง

เปนสมาชิกมาแลวไมนอยกวา 60 วัน และหนังสือรับรองจากสนามยิงปน (เฉพาะกรณีที่

ขอซือ้อาวุธปนเพื่อการกีฬา ขอซือ้อาวุธปนชนิดเดี่ยวไรเฟลทุกขนาด หรืออาวุธปนพกขนาด

.40 .44 .45 หรือ .357)

6) หลักฐานแสดงวาผานการฝกอบรมวิธีการใชอาวุธปนจาก

หนวยงานที่เกี่ยวของ

7) หนังสือรับรองความประพฤติ และเหตุผลความจําเปนที่ขอ

อนุญาต ที่ออกไวไมเกิน 60 วัน

(1) ผู ขออนุญาตเปนทหาร หรือตํารวจ ผู รับรองตองเปน

ผูบังคับบัญชาโดยตรง ยศตั้งแตยศพันเอก นาวาอากาศเอก นาวาเอก หรือพันตํารวจ

เอกขึ้นไป สําหรับผูที่มียศตั้งแตพันเอก นาวาอากาศเอก นาวาเอก หรือพันตํารวจเอก

ขึ้นไปไมตองมีหนังสือรับรอง

(2) ผูขออนุญาตเปนขาราชการพลเรือน ผู รับรองตองเปน

ผูบังคับบัญชาโดยตรงมีตําแหนงตั้งแตผูอํานวยการกอง หรือเทียบเทาขึ้นไป และหัวหนา

สวนราชการในสวนภูมิภาค

Page 106: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

82

(3) ผูขออนุญาตเปนพนักงานองคกรปกครองทองถิ่น ผูรับรองตอง

เปนผูบังคับบัญชาโดยตรงมีตําแหนงเปนหัวหนาหนวยงาน หรือหัวหนาคณะผูบริหารองคกร

ปกครองทองถิ่น

(4) ผูขออนุญาตเปนลูกจางที่ปฏิบัติหนาที่หรือมีความรับผิดชอบ

เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยหรือรักษาความสงบเรียบรอยภายในพื้นที่สวนบุคคล ผูรับรอง

ตองเปนเจาของกิจการ หรือกรรมการผูจัดการที่ไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการตาม

กฎหมายวาดวยการนั้น

(5) ผูขออนุญาตเปนบุคคลทั่วไปที่ขออนุญาตมีและใชอาวุธปนที่มี

ภูมิลําเนา ในเขตพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร ผูรับรองตองเปนขาราชการพลเรือนระดับ 6 หรือ

เทียบเทาขึ้นไป

(6) ผูขออนุญาตเปนบุคคลทั่วไปที่ขออนุญาตมีและใชอาวุธปนที่

มีภูมิลําเนา ในจังหวัดอื่นๆ ผูรับรองตองเปนนายอําเภอ ปลัดอําเภอผูเปนหัวหนาประจํา

กิ่งอําเภอ กํานัน หรือผูใหญบาน ซึ่งเปนผูปกครองทองที่ที่ผูขอใบอนุญาตมีภูมิลําเนา

(7) ผูขออนุญาตเปนเจาพนักงานของรัฐบาลตางประเทศที่เขา

มาปฏิบัติหนาที่ประจําประเทศไทย ผูรับรองตองเปนเอกอัครราชทูตหรือกงสุลใหญ และ

หนังสือรับรองตองแปลเปนภาษาไทยที่รับรองความถูกตองโดยกระทรวงการตางประเทศ

ของไทย

2.4.1.3 การยื่นคําขออนุญาตซื้ออาวุธปนและเครื่องกระสุนปน

1) ผูขออนุญาตยื่นคําขอตามแบบ ป.1 ตอนายทะเบียนทองที่ที่ผูขอ

อนุญาตมีชื่ออยูในทะเบียนบานพรอมเอกสารหลักฐานประกอบคําขออนุญาต ในคําขอ

จะตองระบุวาจะขออนุญาตซื้ออาวุธปนชนิด ขนาด พรอมเครื่องกระสุนปนจํานวน

เทาใด จะซื้อจากรานคาใดในทองที่ใด และเพื่อวัตถุประสงคใด

2) เจาหนาที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐานประกอบคําขออนุญาต เม่ือ

เห็นวาครบถวน ใหผูขออนุญาตลงลายมือชื่อรับรองสําเนาถูกตองเพื่อเปนหลักฐาน

3) เจาหนาที่ตรวจสอบเอกสารคุณสมบัติของผูขออนุญาตตามแบบ

ปค. 14 วาเปนผูตองหามออกใบอนุญาตตามมาตรา 13 แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิงและสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 หรือไม และ

Page 107: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

83

สอบสวนสภาพความเปนอยูหรือสิ่งแวดลอมตามหลักเกณฑที่กําหนดไวใน ขอ 12 ตาม

คําสั่งกระทรวงมหาดไทยที่ 674/2490 ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2490 ในประเด็นดังตอไปนี้

(1) เปนบุคคลซึ่งตองโทษจําคุกสําหรับความผิดตามกฎหมาย

ลักษณะอาญา ดังตอไปนี้หรือไม

(ก) มาตรา 97 ถึงมาตรา 111 มาตรา 120 มาตรา 177 ถึง

มาตรา 183 มาตรา 249 มาตรา 250 หรือมาตรา 293 ถึงมาตรา 303

(ข) มาตรา 244 ถึงมาตรา 257 และพนโทษยังไมเกิน 5 ป

นับแตวันพนโทษถึงวันยื่นคําขอใบอนุญาต เวนแตในกรณีความผิดที่กระทําโดยความ

จําเปนหรือเพื่อปองกันหรือโดยถูกยั่วโทสะ

(2) เปนบุคคลซึ่งตองโทษจําคุกสําหรับความผิดอันเปนการ

ฝาฝนตอพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง

พุทธศักราช 2477 มาตรา 11 มาตรา 22 มาตรา 29 หรือมาตรา 33 หรือพระราชบัญญัติ

อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิงและสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490

มาตรา 7 มาตรา 24 มาตรา 33 หรือมาตรา 38 หรือไม

(3) เปนบุคคลซึ่งตองโทษจําคุกตั้งแตสองครั้งขึ้นไปใน

ระหวางหาปนับยอนขึ้นไปจากวันยื่นคําขอ สําหรับความผิดอยางอื่นนอกจากที่บัญญัติ

ไวใน (1) และ (2) เวนแตความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษหรือไม

(4) เปนบุคคลซึ่งยังไมบรรลุนิติภาวะหรือไม

(5) เปนบุคคลซึ่งไมสามารถใชอาวุธปนไดโดยกายพิการหรือ

ทุพพลภาพหรือไม เวนแตจะขออนุญาตมีไวเพื่อเก็บ

(6) เปนบุคคลไรความสามารถ หรือเสมือนไรความสามารถ หรือ

จิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือวิกลจริตหรือไม

(7) เปนบุคคลซึ่งไมมีอาชีพและรายไดหรือไม

(8) เปนบุคคลซึ่งไมมีที่อยูเปนหลักแหลงหรือไม

(9) เปนบุคคลซึ่งมีความประพฤติชั่วอยางรายแรงอันอาจ

กระทบกระเทือนถึงความสงบเรียบรอยของประชาชนหรือไม

Page 108: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

84

(10) มีชื่ออยู ในทะเบียนบานตามกฎหมายวาดวยการ

ทะเบียนราษฎรและมีถิ่นที่อยูประจําในทองที่ที่ขออนุญาต ไมนอยกวา 6 เดือนหรือไม

(11) ผูขออนุญาตมีอายุเทาใด เปนหัวหนาครอบครัวหรือผูอาศัย

ผูใดอยู

(12) บานอยูในที่เปลี่ยวหรือไม และในบานนั้นมีผูไดรับ

อนุญาตใหมีอาวุธปนแลวหรือไม

(13) บานที่อยูเปนของผูขออนุญาตเองหรือเปนบานที่ผูขอ

อนุญาตเชาผูอื่นอยู

(14) ความประพฤติของผูขออนุญาตตามปกติเปนอยางใด

(15) เคยตองโทษอาญาอยางใดมาบางหรือไม

(16) เกี่ยวของกับพวกคนพาลหรือนักเลงหรือไม

(17) มีหลักทรัพย สมบัติอะไรบาง ประมาณราคามากนอยเทาใด

(18) ประกอบอาชีพทางดานใด

(19) การขอมีอาวุธปนเพื่อประโยชนอยางใด

(20) มีหนาที่เกี่ยวกับการรักษาเงินหรือทรัพยสินเปนพิเศษ

อยางใดบางหรือไม

(21) เคยถูกผูรายประทุษรายตอทรัพยและรางกาย หรือถูกขูเข็ญ

วาจะทํารายอยางใดบางหรือไม

(22) เปนคนมีสติไมปกติเปนบางครั้งบางคราวหรือไม

(23) เปนคนมีนิสัยฉุนเฉียวหรือเกะกะระรานเพื่อนบาน

ใกลเคียงหรือผูอื่นบางหรือไม

(24) เคยไดรับอนุญาตใหมีอาวุธปนมาแลวหรือไม ถาเคยมี

แลวเหตุใดจึงขออนุญาตอีก

(25) เจาพนักงานผูปกครองทองที่ใกลชิด เชน สารวัตรตํารวจ

นครบาล ผู บังคับกองตํารวจภูธร หัวหนาสถานีตํารวจ กํานัน ผูใหญบาน เห็นสมควร

อนุญาตหรือไม

(26) ถาเปนบุคคลตางดาวตองสอบใหทราบวา

Page 109: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

85

ก. มีภูมิลําเนาอยูในประเทศนานเทาใด

ข. พูดภาษาไทยไดหรือไม

ค. ครอบครัวเปนคนตางดาวหรือคนไทย อยูในประเทศ

ไทยหรือไม

4) เจาหนาที่พิมพลายนิ้วมือผูขออนุญาตซึ่งเปนลูกจางที่ปฏิบัติหนาที่

หรือมีความรับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยหรือรักษาความสงบเรียบรอย

ภายในพื้นที่สวนบุคคล หรือเปนบุคคลทั่วไป เพื่อตรวจสอบประวัติการกระทําความผิด

5) เจาหนาที่ออกหลักฐานการรับเรื่องใหผูขออนุญาตไวเปน

หลักฐาน

2.4.1.4 การพิจารณาคําขออนุญาตซื้ออาวุธปนและเครื่องกระสุนปน

1) เจาหนาที่จัดสงแบบพิมพลายนิ้วมือของผูขออนุญาตไปยังกองทะเบียน

ประวัติอาชญากร สํานักวิทยาการตํารวจ เพื่อตรวจสอบประวัติการตองหาคดีอาญา

2) เจาหนาที่ตรวจสอบจากฐานขอมูลระบบคอมพิวเตอรวาผูขอ

อนุญาตเคยไดรับอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนมากอนหรือไม

3) เมื่อไดรับเอกสารหลักฐานครบถวนแลว ใหเจาหนาทีท่ําความเห็น

เสนอนายทะเบียนทองที่พิจารณา โดยตองพิจารณาถึงฐานะความจําเปนของผูขออนุญาต

เปนรายๆ ไป และพึงตระหนักวาการอนุญาตใหเอกชนมีอาวุธปน เปนการอนุญาตตาม

ความในมาตรา 9 แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง

และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 ที่กําหนดใหการออกใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน

และเครื่องกระสุนปนสําหรับใชในการปองกันตัวหรือทรัพยสิน หรือในการกีฬา หรือยิง

สัตว ซึ่งใบอนุญาตนั้นใหออกสําหรับอาวุธปนแตละกระบอกโดยใหคํานึงถึงหลักสําคัญ

ดังตอไปนี้

(1) การมีเพื่อปองกันตัวหรือทรัพยสิน ตองเปนผูมีหนาที่

เกี่ยวของกับการปราบปรามปองกันประเทศ รักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน

หรือเพื่อชวยเหลือราชการของทหาร ตํารวจ หรือหนวยราชการแลวแตกรณี หรือตอง

เปนผู มีทรัพยสินพอสมควรแกฐานานุรูปที่จะตองมีอาวุธปนไวใชปองกันชีวิตและ

ทรัพยสิน

Page 110: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

86

(2) การมีเพื่อการกีฬา ตองมีหลักฐานครบถวนวาเปนนักกีฬายิง

ปนชนิดและขนาดที่ขออนุญาต

(3) การมีเพื่อยิงสัตว ตองตระหนักวาปจจุบันไมมีสัตวขนาดใหญ

ใหยิงอีกแลว การยิงสัตวจึงเปนการยิงสัตวขนาดเล็กที่เปนศัตรูของเกษตรกร หากการ

ขออนุญาตโดยมีจุดมุงหมายเพื่อการยิงสัตวควรอนุญาตปนยาวชนิดและขนาดที่

เหมาะสม เชน ปนลูกซอง ปนลูกกรดขนาด .22

(4) อาวุธปนที่นายทะเบียนจะออกใบอนุญาตใหได ตองเปนชนิด

และขนาดที่กําหนดไวในกฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2522) ออกตามความใน

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน

พ.ศ. 2490

ก. อาวุธปนชนิดลํากลองมีเกลียวที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางปาก

ลํากลองไมเกิน 11.44 มม.

ข. อาวุธปนชนิดลํากลองไมมีเกลียว ดังตอไปนี้

- ขนาดเสนผาศูนยกลางปากลํากลองไมถึง 20 มม.

- ปนบรรจุปาก ปนลูกซอง หรือปนพลุสัญญาณ

ค. อาวุธปนชนิดที่เครื่องกลไกสําหรับบรรจุกระสุนเองใหยิง

ซ้ําได ดังตอไปนี้

- ขนาดความยาวของลํากลองไมเกิน 160 มม.

- ปนลูกซอง

- ปนลูกกรดขนาดเสนผาศูนยกลางปากลํากลองไมเกิน

5.6 มม.

จ. อาวุธปนชนิดไมมีเครื่องบังคับเสียงใหเบาผิดปกติ

ฉ. อาวุธปนชนิดที่ไมใชกระสุนเปนที่บรรจุวัตถุเคมีท่ีทําใหเกดิ

อันตรายหรือเปนพิษหรือไมใชเครื่องกระสุนที่บรรจุเชื้อโรค เชื้อเพลิง หรือวัตถุ

กัมมันตรังสี

Page 111: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

87

(5) เคร่ืองกระสุนปนที่นายทะเบียนจะออกใบอนุญาตใหไดตองเปน

เคร่ืองกระสุนที่ใชกับอาวุธตามขอ (4) ที่ไดรับอนุญาต แตตองไมเปนเครื่องกระสุนปนชนิด

เจาะเกราะหรือชนิดกระสุนเพลิง

(6) การอนุญาตใหซื้อกระสุนปนใหถือปฏิบัติตามคําสั่ง

กระทรวงมหาดไทยที่ 758/2494 ลงวันที่ 15 ธันวาคม 2494 โดยตองคํานึงถึงเหตุผลและ

ความจําเปนเพียงใดสําหรับอัตราที่อนุญาตใหถือตามกําหนดและอัตราอยางสูง ดังตอไปนี้

ก. กระสุนโดดปนยาวทุกชนิด ไมเกินปละ 60 นัด อนุญาต

ไมเกินคราวละ 15 นัด

ข. กระสุนปนพกทุกชนิด ไมเกินปละ 36 นัด อนุญาตไมเกินคราวละ

12 นัด

ค. กระสุนปนยาวลูกซอง ไมเกินปละ 500 นัด อนุญาตไมเกิน

คราวละ 25 นัด

ง. กระสุนปนอัดลม อนุญาตไมเกินคราวละ 1,000 นัด

จ. กระสุนปนลูกกรด ไมเกินปละ 1,000 นัด อนุญาตไมเกิน

คราวละ 200 นัด

(7) การกลั่นกรองอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน ตามปกติบุคคลแตละ

คนควรมีอาวุธปนไวในครอบครองเพียง 2 กระบอก คืออาวุธปนสั้น 1 กระบอก และอาวุธปน

ยาว 1 กระบอก แตในการออกใบอนุญาตใหจํานวนมากนอยเพียงใดนั้น ใหพิจารณาตาม

หลักฐานความจําเปนของแตละบุคคล และควรเขมงวดอยาใหมีมากเกินความจําเปนและไม

ควรซ้ําขนาดกัน โดยใหประทับตรายางสีแดงถึงวัตถุประสงคที่อนุญาตใหมีและใชอาวุธปน

ในใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน (แบบ ป.4) ใหชัดเจนดวยตรายางสีแดง เชน อนุญาตใหมี

ไวเพื่อปองกันชีวิตและทรัพยสิน อนุญาตใหมีไวเพื่อการกีฬา หรืออนุญาตใหมีไวเพื่อยิงสัตว

(8) เจาหนาที่แจงผลการพิจารณาของนายทะเบียนใหผูขออนุญาต

ทราบ หากนายทะเบียนมีคําสั่งอนุญาตก็ใหออกใบอนุญาตใหซื้ออาวุธปน (แบบ ป.3)

สําหรับซื้ออาวุธปนหรือเครื ่องกระสุนปนสวนบุคคล พรอมทั ้งประทับตราประจํา

ตําแหนงและใหผู ขออนุญาตพิมพลายนิ้วหัวแมมือหรือเขียนชื่อตัว – ชื่อสกุลไวทาย

ใบอนุญาตทั้ง 3 ตอน โดยนายทะเบียนตองลงนาม

Page 112: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

88

รับรองกํากับไวดวยทุกตอนมอบแบบ ป. 3 ตอนที่ 3 ใหผูขออนุญาตพรอมทั้งเก็บ

คาธรรมเนียม 5 บาท ตออาวุธปน 1 กระบอก กระสุนปนนอกจากกระสุนปนอัดลมเก็บ

คาธรรมเนียมรอยละ 1 บาท เศษของรอยละใหเก็บเพิ่มอีก 1 บาท กระสุนปนอัดลมรอยละ 25

สตางค และสงแบบ ป. 3 ตอนที่ 2 ไปยังนายทะเบียนทองที่ที่รานคาอาวุธปนตั้งอยูโดย

ไปรษณีย ไมควรใหผูขออนุญาตถือไปเอง เวนแตเปนกรณีจําเปนจริงๆ จึงอนุโลมไดแต

ตองบันทึกและแจงการผอนผันไปใหนายทะเบียนทองที่ที่รานคาอาวุธปนตั้งอยูทราบดวยทุก

ครั้ง (หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ 15703/2506 ลงวันที่ 16 ตุลาคม 2506) และแนะนําใหผู

ขออนุญาตนําแบบ ป.3 ตอนที่ 3 พรอมดวย ตอนที่ 2 (กรณีผอนผันใหถือไป) ไปซื้ออาวุธปน

จากรานคาในทองที่ที่กําหนดในคําขอ

(9) ผูขออนุญาตนําแบบ ป. 3 ตอนที่ 3 พรอมดวย ตอนที่ 2 (กรณี

ผอนผันใหถือไป) ไปซื้ออาวุธปนจากรานคาในทองที่ที่กําหนดในคําขอ เมื่อไดอาวุธปนแลว

ใหนําอาวุธปนพรอมแบบ ป. 3 ตอนที่ 3 ไปพบนายทะเบียนทองที่ที่รานคาอาวุธปนตั้งอยู

เมื่อนายทะเบียนทองที่ที่รานคาอาวุธปนตั้งอยูตรวจสอบแบบ ป. 3 ตอนที่ 3 และ ตอนที่ 2 ซึ่ง

นายทะเบียนทองที่ที่ออกแบบ ป. 3 สงมาให และอาวุธปน หากถูกตองใหออกใบคูมือประจํา

ปนใหกับผูขออนุญาต และเก็บแบบ ป. 3 ตอนที่ 2 และตอนที่ 3 ไวเปนหลักหลักฐาน

(10) ผูขออนุญาตนําอาวุธปนพรอมใบคูมือประจําปน ไปพบนาย

ทะเบียนทองที่ที่ยื่นคําขอภายใน 15 วัน

(11) นายทะเบียนทองที่ที่ออกใบอนุญาต แบบ ป. 3 ตรวจสอบ

อาวุธปนและใบคูมือประจําปนหากถูกตองตรงกันกับเงื่อนไขในแบบ ป. 3 ก็ออกใบอนุญาต

ใหมีและใชอาวุธปน (แบบ ป.4) ถาผิดเงื่อนไขใหงดการออกใบอนุญาตและสั่งใหจําหนาย

อาวุธปนดังกลาวใหแกบุคคลอื่นตอไป กรณีนําอาวุธปนและใบคูมือประจําปนไปขอใบอนุญาต

ใหมีและใชอาวุธปน (แบบ ป.4) เกินเงื่อนไขเวลาในใบคูมือประจําปน คือ เกิน 15 วัน ถา

หากไมถูกจับกุมดําเนินคดีในระหวางนั้น ก็อนุโลมใหออกใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน

(แบบ ป.4) ได (หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ 27393/2497 ลงวันที่ 7 ธันวาคม 2497)

Page 113: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

89

(12) เก็บคาธรรมเนียมตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ดังนี้

ก. ปนยาวประจุปาก ปนอัดลม ฉบับละ 100 บาท

ข. ปนอื่น ๆ ฉบับละ 100 บาท

ยกเวนคาธรรมเนียมใหแกผูที่ไดรับเหรียญชัยสมรภูมิสําหรับ

การขอมีและใชอาวุธปนกระบอกแรก (หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ 0313/ว 288 ลงวันที่ 22

มิถุนายน 2509)

(13) ถาอาวุธปนที่นํามาขอรับใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน

(แบบ ป.4) ยังไมมีเครื่องหมายทะเบียนทองที่ทําเครื่องหมายให ซึ่งเครื่องหมายดังกลาว

มีลักษณะดังนี้ คือ อักษรยอนามจังหวัดตามดวยเลขลําดับอําเภอหรือกิ่งอําเภอของจังหวัด

นั้นๆ แลวทับ (/) ดวยเลขลําดับอาวุธปนที่ทําเครื่องหมายโดยนายทะเบียนทองที่นั้นมาแลว

เชน ชม 01/380001 เปนตน (คําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 674/2490 ลงวันที่ 10 ตุลาคม

2490 ขอ 19 และหนังสือกระทรวงมหาดไทย ท่ี 0302/ว 3518 ลงวันที่ 17 ธันวาคม 2536)

(14) คัดรายการจากตนขั้วใบอนุญาต ป. 4 ลงในทะเบียนอาวุธประจํา

ตําบล

(15) หากนายทะเบียนทองที่ไมอนุญาต ใหเจาหนาที่แจงผูขออนุญาต

ทราบเปนหนังสือ พรอมทั้งแจงสิทธิอุทธรณตามมาตรา 63 แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิงและสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 แกผูขอ

อนุญาตวาอาจยื่นอุทธรณตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ภายใน 30 วัน นับแต

วันที่ไดรับการแจงปฏิเสธเปนหนังสือ คําอุทธรณใหยื ่นตอนายทะเบียนทองที่ และให

นายทะเบียนทองที่เสนอคําอุทธรณนั ้นตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยโดยมิ

ชักชา คําวินิจฉัยของรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยใหแจงเปนหนังสือไปยังผูยื่นคําขอ

อนุญาต

2.4.2 การขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนกรณีการขอรับโอนอาวุธปนจากหนวยงานราชการ

(หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0313/ว 126 ลงวันที่ 25 มกราคม

2526)

2.4.2.1 การยื่นคําขอ

Page 114: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

90

1) ผูขออนุญาตยื่นคําขอตามแบบ ป.1 ตอนายทะเบียนทองที่

ที่ผูขออนุญาตมีชื่ออยูในทะเบียนบานพรอมดวยหลักฐานเอกสารประกอบคําขอ

อนุญาต คําขอจะตองระบุวาจะขออนุญาตรับโอนอาวุธปน ชนิด ขนาดใด พรอมดวย

เครื่องกระสุนปนจํานวนเทาใด จากหนวยงานราชการใดอยูในทองที่อําเภอ จังหวัดใด

2) เจาหนาที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐานของผูขออนุญาต เม่ือเห็น

วาครบถวนถูกตองใหผูขออนุญาตลงลายมือชื่อรับรองสําเนาถูกตองเพื่อเปนหลักฐาน

3) เจาหนาที่สอบสวนคุณสมบัติของผูขออนุญาต ตามแบบ ปค.14

วาเปนผูตองหามออกใบอนุญาตตามมาตรา 13 แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุน

ปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิงและสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 หรือไม และสอบสวนสภาพ

ความเปนอยูหรือสิ่งแวดลอมตามหลักเกณฑที่กําหนดไวในคําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่

674/2490 ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2490 ขอ 12 เชนเดียวกับการขอซื้ออาวุธปน และเครื่อง

กระสุนปนจากรานคา

4) เจาหนาที่ออกหลักฐานการรับเรื่องใหผูขออนุญาตไวเปน

หลักฐาน

2.4.2.2 ขั้นตอนการพิจารณา

1) เจาหนาที่ตรวจสอบจากหลักฐานขอมูลระบบคอมพิวเตอร

วาผูขออนุญาตเคยไดรับอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนมากอนหรือไม อยางไร

2) เจาหนาที่ทําความเห็นเสนอนายทะเบียนพิจารณาโดยคํานึงถึง

หลักเกณฑการพิจารณาเชนเดียวกับการขออนุญาตซื้ออาวุธปนและเครื่องกระสุนปน

จากรานคา

3) เจาหนาที่แจงผลการพิจารณาของนายทะเบียนใหผูขออนุญาต

ทราบ หากนายทะเบียนมีคําสั่งอนุญาตก็ใหออกใบอนุญาตใหซื้ออาวุธปน (แบบ ป.3)

สําหรับซื้ออาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนสวนบุคคลพรอมประทับตราประจําตําแหนง

และใหผูขออนุญาตพิมพลายนิ้วหัวแมมือหรือเขียนชื่อตัว-ชื่อสกุล ไวทายใบอนุญาตทั้ง

3 ตอน โดยนายทะเบียนตองลงนามกํากับไวดวยทุกตอน

มอบแบบ ป.3 ตอน 3 ใหผูขออนุญาตนําไป สวนตอนที่ 2 ให

สงไปยังนายทะเบียนทองที่ที่หนวยราชการนั้นตั้งอยูโดยทางไปรษณียลงทะเบียน ถาจะ

Page 115: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

91

อนุโลมใหผูขออนุญาตถือไปเองก็ตองบันทึกไวเปนหลักฐานในตนข้ัวใบอนุญาตดังกลาว

และลงนามรับรองแลวแจงใหนายทะเบียนทองที่ที่หนวยงานนั้นตั้งอยูไดทราบดวย

ผูขออนุญาตนําใบอนุญาต แบบ ป.3 ตอนที่ 3 ไปแสดง และ

ขอรับโอนอาวุธปนฯ จากหนวยงานผูโอน ใหหนวยงานผูโอนมีหนังสือแจงใหนาย

ทะเบียนทองที่ที่หนวยงานผูโอนตั้งอยูทราบดวย สวนใบอนุญาต แบบ ป.3 ตอนที่ 3 นั้น

ใหมอบคืนผูรับโอนนําไปแสดงตอนายทะเบียนทองที่นั้นตอไป

เมื่อผูขออนุญาตไดรับมอบอาวุธปนฯ ไปจากหนวยงานที่โอน

แลว ใหนําอาวุธปนฯ ไปพบนายทะเบียนทองที่ที่หนวยงานผูโอนนั้นตั้งอยูเพื่อสลักหลังใน

ใบอนุญาต แบบ ป.3 ตอนที่ 3 การสลักหลังจะกระทําตอเมื่อนายทะเบียนทองที่ไดรับ

หนังสือแจงการโอนจากหนวยงานผูโอน และไดตรวจสอบกับ แบบ ป.3 ตอนที่ 2 วา

ถูกตองตรงกันแลว การสลักหลังใหมีใจความวาผูรับโอนไดรับโอนจากหนวยงานใด

แลวลงชื่อผูรับโอนและนายทะเบียนทองที่พรอมทั้งประทับตราประจําตําแหนง การสลัก

หลังไมเรียกเก็บคาธรรมเนียมและใหใชใบอนุญาต แบบ ป.3 ตอนที่ 3 นั้น เสมือนใบ

คู มือประจําปน สวนใบอนุญาต แบบ ป.3 ตอนที ่ 2 นั ้น นายทะเบียนทองที่ที่

หนวยงานของผูโอนตั้งอยูเก็บไวเปนหลักฐาน

4) ผูขออนุญาตนําใบอนุญาต แบบ ป.3 ตอนที่ 3 และอาวุธปนฯ

ไปขอรับใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน (แบบ ป.4) จากนายทะเบียนทองที่ที่ยื่นคําขอ

ภายใน 15 วัน นับแตวันที่ไดรับมอบใบอนุญาตแบบ ป.3 ตอนที่ 3 ซึ่งสลักหลังแลว

5) นายทะเบียนทองที่ที่ออกใบอนุญาต แบบ ป.3 ตรวจสอบ

อาวุธปน และ แบบ ป.3 ตอนที่ 3 ที่ไดสลักหลังแลว หากถูกตองตรงกันกับเงื่อนไขใน

แบบ ป.3 ก็ออกใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน (แบบ ป.4) ใหแกผูขออนุญาตและ

ยกเวนคาธรรมเนียมใหแกผูไดรับเหรียญชัยสมรภูมิ สําหรับการขอมีและใชอาวุธปน

กระบอกแรกเชนเดียวกับกรณีซื้ออาวุธปนจากรานคา

6) หากอาวุธปนนั้นยั ง ไมมี เครื่องหมายประจําอาวุธปน

(เครื่องหมายทะเบียน) ก็ใหนายทะเบียนทองที่ผูออกใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน

(แบบ ป.4) ทําเครื่องหมายใหทันทีโดยตอกเลขทะเบียนตอจากลําดับเลขทะเบียนของ

อาวุธปนซึ่งไดออกโดยนายทะเบียนทองที่นั้นมาแลว

Page 116: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

92

7) เพิ่มรายการในทะเบียนอาวุธปนประจําตําบล

8) หากนายทะเบียนไมอนุญาต ใหเจาหนาที่แจงผูขออนุญาตทราบ

เปนหนังสือ พรอมทั้งแจงสิทธิอุทธรณตามมาตรา 63 แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิงและสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 แกผูขอ

อนุญาตวาอาจยื่นอุทธรณตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ภายในกําหนด 30 วัน นับ

แตวันที่ไดรับแจงการปฏิเสธเปนหนังสือคําอุทธรณใหยื่นตอนายทะเบียนทองที่ และนาย

ทะเบียนเสนอคําอุทธรณนั้นตอรัฐมนตรีโดยมิชักชา คําวินิจฉัยของรัฐมนตรีใหแจงเปน

หนังสือไปยังผูยื่นคําขออนุญาต

2.4.3 การขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนกรณีการขอรับโอนอาวุธปนระหวางบุคคล

2.4.3.1 การยื่นคําขอ

1) ผูขออนุญาตรับโอนอาวุธปนฯ ยื่นคําขอตามแบบ ป.1 ตอนาย

ทะเบียนทองที่ที่ผูขออนุญาตมีชื่ออยูในทะเบียนบาน พรอมหลักฐานเอกสารประกอบ

คําขอตองระบุวาจะขอรับโอนอาวุธปนชนิดใด ขนาดใด พรอมดวยกระสุนจํานวนเทาใด

จากใคร อยูในทองที่อําเภอใด จังหวัดใด

2) เจาหนาที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐานของผูขออนุญาต เมื่อ

เห็นวาครบถวน ถูกตอง ใหผูขออนุญาตลงลายมือชื่อรับรองสําเนาถูกตองเพื่อเปน

หลักฐาน

3) เจาหนาที่สอบสวนคุณสมบัติของผูขออนุญาต ตามแบบ ป.

14 วาเปนผูตองหามออกใบอนุญาตตามมาตรา 13 แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิงและสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 หรือไม และ

สอบสวนสภาพความเปนอยูหรือสิ่งแวดลอมตามหลักเกณฑที่กําหนดไวในคําสั่ง

กระทรวงมหาดไทย ที่ 674/2490 ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2490 ขอ 12 เชนเดียวกับการขอ

อนุญาตซื้ออาวุธปนและเครื่องกระสุนปนจากรานคา

4) เจาหนาที่พิมพลายนิ้วมือผูขออนุญาตเพื่อตรวจสอบประวัติ

การกระทําความผิด

Page 117: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

93

5) เจาหนาที่ออกหลักฐานการรับเรื่องใหผูขออนุญาตไว เปน

หลักฐาน

2.4.3.2 ขั้นตอนการพิจารณา

1) การพิจารณาดําเนินการ เชนเดียวกันกับการซื้ออาวุธปนและ

เครื่องกระสุนปนจากรานคาและใหเจาหนาที่แจงผลการพิจารณาของนายทะเบียนใหผูขอ

อนุญาตทราบเปนหนังสือ หากนายทะเบียนมีคําสั่งอนุญาตก็ใหออกใบอนุญาตใหซื้อ

อาวุธปน (แบบ ป.3) สําหรับซื้ออาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนสวนบุคคลพรอม

ประทับตราประจําตําแหนงและใหผูขออนุญาตพิมพลายนิ้วหัวแมมือ หรือเขียนชื่อตัว-ชื่อสกุล

ไวทายใบอนุญาตทั้ง 3 ตอน โดยนายทะเบียนตองลงนามรับรองกํากับไวดวยทุกตอน

เจาหนาที่แจงผลการพิจารณาของนายทะเบียนใหผูขออนุญาต

ทราบเปนหนังสือ หากนายทะเบียนมีคําสั่งอนุญาตก็ใหออกใบอนุญาตใหซื้ออาวุธปน

(แบบ ป.3) สําหรับซื้ออาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนสวนบุคคลพรอมประทับตรา

ประจําตําแหนงและใหผูขออนุญาตพิมพลายนิ้วมือหรือเขียนชื่อตัว-ชื่อสกุล ไวทาย

ใบอนุญาตทั้ง 3 ตอน โดยนายทะเบียนตองลงนามรับรองกํากับไวดวยทุกตอน

กรณีผูโอนและผูรับโอนอยูในทองที่อําเภอเดียวกัน นายทะเบียน

ทองที่จะตองตรวจสอบใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน (แบบ ป.4) ของผูโอนและอาวุธ

ปน เมื่อเห็นวาถูกตองใหสลักหลังใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน (แบบ ป.4) วาผูโอน

ไดโอนอาวุธปนใหแกผูรับโอนแลวและลงลายมือชื่อตอหนานายทะเบียน นายทะเบียน

ลงนามกํากับพรอมประทับตราประจําตําแหนงการสลักหลัง ป.4 ไมเสียคาธรรมเนียม

แลวจึงออกใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน แบบ ป.4 ใหม ใหกับผูรับโอนและเก็บ

ใบอนุญาตการรับโอนแบบ ป.3 ตอนที่ 2 และตอนที่ 3 และใบอนุญาต ใหมีและใชอาวุธปน

(แบบ ป.4) ของผูโอนไวเปนหลักฐานเรียกเก็บคาธรรมเนียมใบอนุญาตใหมี และใชอาวุธ

ปน (แบบ ป.4) จากผูรับโอนตามระเบียบและแกไขทะเบียนอาวุธปนประจําตําบลให

เปนปจจุบัน

กรณีผูโอนและผูรับโอนอยูตางทองที่ นายทะเบียนทองที่ที่ผูรับ

โอนยื่นคําขออนุญาตฯออกใบอนุญาตใหรับโอนอาวุธปน และเครื่องกระสุนปน (แบบ

ป.3) ใหแลวจะตองมอบตอนที่ 3 ใหผูขออนุญาต สวนตอนที่ 2 ใหสงไปยังนายทะเบียน

Page 118: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

94

ทองที่ที่ผูโอนมีภูมิลําเนาอยู โดยทางไปรษณียลงทะเบียน ถาจะอนุโลมใหผูขออนุญาต

ถือไปเองก็ตองบันทึกไวเปนหลักฐานในตนขั้วของใบอนุญาตดังกลาว และแจงใหนาย

ทะเบียนทองท่ีที่ผูโอนมีภูมิลําเนาไดทราบดวย

2) หากนายทะเบียนไมอนุญาต ใหเจาหนาที่แจงผูขออนุญาต

ทราบเปนหนังสือ พรอมทั้งแจงสิทธิอุทธรณตามมาตรา 63 แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิงและสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 แกผูขอ

อนุญาตวาอาจยื่นอุทธรณตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ภายในกําหนด 30 วัน

นับแตวันที่ไดรับแจงการปฏิเสธเปนหนังสือ คําอุทธรณใหยื่นตอนายทะเบียนทองที่ และ

ใหนายทะเบียนเสนอคําอุทธรณนั้นตอรัฐมนตรีโดยมิไดชักชา คําวินิจฉัยของรัฐมนตรีให

แจงเปนหนังสือไปยังผูยื่นคําขออนุญาต

2.4.4 การขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนกรณีการขอรับโอนมรดก

2.4.4.1 การยื่นคําขอ

1) ทายาทของเจาของมรดกหรือผูรับพินัยกรรม ยื่นคําขอตาม

แบบ ป.1 ขอรับโอนมรดกอาวุธปนตอนายทะเบียนทองที่ที่ตนมีชื่ออยูในทะเบียนบาน

พรอมเอกสารหลักฐานประกอบคําขออนุญาต คําขอจะตองระบุวาจะขอรับโอนมรดก

อาวุธปนชนิด ขนาดใด พรอมดวยกระสุนจํานวน รับโอน จากใครอยูในทองที่ อําเภอ

จังหวัดใด เพื่อวัตถุประสงคใด

2) เจาหนาที่ดําเนินการเชนเดียวกับการขออนุญาตซื้ออาวุธปน

และเครื่องกระสุนปนจากรานคา หากไมมีคําสั่งแตงตั้งผูจัดการมรดกหรือพินัยกรรม

จะตองสอบใหไดวามีทายาทใดคัดคาน การรับโอนหรือไม และถามีขอโตเถียงถึงสิทธิ

ของทายาท ก็ใหเก็บรักษาอาวุธปนไวจนกวาขอโตเถียงนั้นถึงที่สุด

. 2.4.4.2 ขั้นตอนการพิจารณา

เจาหนาที่ดําเนินการเชนเดียวกับการขอรับโอนระหวางบุคคล

2.4.5 การขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนกรณีสั่งนําเขาอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนเพื่อใชสวนตัว

Page 119: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

95

2.4.5.1 คุณสมบัติของผูขออนุญาต และเอกสารหลักฐานประกอบคําขอ

เชนเดียวกับการขออนุญาตซื้ออาวุธปนจากรานคา

2.4.5.2 การยื่นคําขอ

1) ผูขออนุญาตสั่ง นําเขา ซึ่งอาวุธปนเครื่องกระสุนปน ยื่นคําขอ

ตามแบบ ป.1 ตอนายทะเบียนทองที่ที่ผูขออนุญาตมีชื่ออยูในทะเบียนบานพรอม

หลักฐานตางๆ เชนเดียวกับกรณีซื้ออาวุธปนจากรานคา และกรอกขอความในคําขอ แบบ

ป.1 ใหมีสาระสําคัญวาจะขออนุญาตสั่งหรือนําเขาอาวุธปนชนิดใด ขนาดใด พรอม

ดวยเครื่องกระสุนจํานวนเทาใด จะสั่งหรือนําเขาจากประเทศใด เพื่อวัตถุประสงคอะไร

2) เจาหนาที่สอบสวนคุณสมบัติของผูขออนุญาต เมื่อเห็นวา

ครบถวน ถูกตอง ใหผูขออนุญาตลงลายมือชื่อรับรองสําเนาถูกตองเพื่อเปนหลักฐาน

3) เจาหนาท่ีสอบสวนคุณสมบัติของผูขออนุญาต ตามแบบ ปค. 14

วาเปนผูตองหามตามมาตรา 13 แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุ

ระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 หรือไม และพิจารณาถึงสภาพ

ความเปนอยูและสิ่งแวดลอมตามหลักเกณฑคําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 674/2490

ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2490 ขอ 12 เชนเดียวกับกรณีขอมีและใชอาวุธปนโดยทั่วไป

4) เจาหนาที่พิมพลายนิ้วมือผูขออนุญาตสงกองทะเบียนประวัติ

อาชญากร สํานักงานตํารวจแหงชาติ ตรวจสอบประวัติอาชญากรรม

5) เจาหนาที่ออกหลักฐานการรับเรื่องใหผูขออนุญาตใชเปน

หลักฐาน

2.4.5.3 ขั้นตอนการพิจารณา

1) เจาหนาที่ดําเนินการเชนเดียวกับการขออนุญาตซ้ืออาวุธปนและ

เครื่องกระสุนปนจากรานคาหากนายทะเบียนพิจารณาแลวอนุญาตใหออกใบอนุญาต

ใหสั่ง หรือนําเขาซึ่งอาวุธปน (แบบ ป.2) แบบ ป.2 มี 3 ตอน มอบตอนที่ 3 ใหผูขอ

อนุญาตและสง ป.2 ตอนที่ 2 ไปยังอธิบดีกรมศุลกากร และเรียกเก็บคาธรรมเนียม ดังนี้

(1) ใบอนุญาตใหสั่งหรือนําเขาซึ่งอาวุธปน กระบอกละ 30 บาท

(2) ใบอนุญาตใหสั่งหรือนําเขาซึ่งสวนหน่ึงสวนใดของอาวุธปน

และเครื่องกระสุนปน ฉบับละ 20 บาท

Page 120: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

96

(3) ใบอนุญาตใหสั่งหรือนําเขาซึ่งกระสุนปน นอกจากกระสุนปน

อัดลม จํานวนไมเกินหน่ึงพันนัด ฉบับละ 20 บาท ถาเกินกวาหนึ่งพันนัด ใหเรียกเก็บเพิ่มอีก

รอยละ 2 บาท เศษของรอยใหถือเปนรอย

(4) ใบอนุญาตใหสั่งหรือนําเขาซึ่งกระสุนปนอัดลมรอยละ 50

สตางค เศษของรอยใหถือเปนรอย

2) นายทะเบียนทองที่ที่มีหนังสือแจงกระทรวงมหาดไทยใหทราบ

ถึงเลขที่ใบอนุญาต วัน เดือน ป ที่ออก ป.2 ชนิด ขนาด ประเทศที่สงหรือนําเขา

3) หากนายทะเบียนทองที่ออกใบอนุญาตไปแลว ตอมาผูขอ

อนุญาตประสงคจะเปลี่ยนชนิด ขนาด จํานวน ประเทศ และสถานที่ซื้อ ก็ใหผูขอ

อนุญาตยื่นคําขอ (แบบ ป.1) ขอเปลี่ยนแปลงรายการตอนายทะเบียนทองที่ดวยทุกราย

นายทะเบียนทองที่พิจารณาแลวหากอนุญาตก็ตองแจงกระทรวงมหาดไทยทราบดวย

หมายเหตุ อาวุธปนและเครื่ องกระสุนปนสั้ นกอนออก

ใบอนุญาตตองขอความเห็นชอบรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยกอน ตามคําสั่ง

กระทรวงมหาดไทย ที่ 108/2535 ลงวันที่ 10 กุมภาพันธ 2535

4) หากนายทะเบียนไมอนุญาต ใหเจาหนาที่แจงผูขออนุญาตทราบ

เปนหนังสือ พรอมทั้งแจงสิทธิอุทธรณตามมาตรา 63 แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 แกผูขออนุญาตวาอาจ

ยื่นอุทธรณตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ภายกําหนด 30 วัน นับแตวันที่ไดรับ

แจงการปฏิเสธเปนหนังสือ คําอุทธรณใหยื่นตอนายทะเบียนทองที่ และใหนายทะเบียน

เสนอคําอุทธรณนั้นตอรัฐมนตรีโดยมิชักชา คําวินิจฉัยของรัฐมนตรีใหแจงเปนหนังสือไป

ยังผูขออนุญาต

5) กรมศุลกากรจะมอบอาวุธปน เครื่องกระสุนปน ใหผูขออนุญาต

โดยจะออกใบมอบใหผูขออนุญาต

6) ผูขออนุญาตตองนําอาวุธปน เครื่องกระสุนปน พรอมใบมอบ

จากกรมศุลกากรไปแสดงตอนายทะเบียนทองที่ที่ผูขออนุญาตยื่นคําขอ ภายใน 30 วัน

นับแตวันที่รับมอบไปจากพนักงานของกรมศุลกากร

Page 121: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

97

7) นายทะเบียนทองที่จะตองตรวจสอบใบมอบ และอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน ดังกลาว หากถูกตองก็ออกใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน (ป.4) ใหแกผูขอ

อนุญาต

8) เรียกเก็บคาธรรมเนียมตามปกติ

9) เพิ่มรายการในทะเบียนอาวุธปนประจําตําบล

2.4.6 การขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเคร่ืองกระสุนปนกรณีการขออนุญาตนําอาวุธปน เครื่องกระสุนปนเขามาในราชอาณาจักรสวนตัวชั่วคราว

ในการนําเขาอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนใหผูนําเขาแจงเปนหนังสือ และ

สงมอบอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนไวแกพนักงานศุลกากร ณ ดานแรกที่มาถึง เมื่อ

พนักงานศุลกากรไดรับหนังสือแจงและรับมอบอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนไวแลว

ใหแจงเปนหนังสือไปยังนายทะเบียนทองที่ที่ใกลที่สุด (มาตรา 16 แหงพระราชบัญญัติ

อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490)

2.4.6.1 คุณสมบัติของผูขออนุญาต ผูขออนุญาตตองมีคุณสมบัติเชนเดียวกับการขออนุญาตซื้ออาวุธ

ปนและเครื่องกระสุนปนจากรานคา

2.4.6.2 เอกสารหลักฐานประกอบคําขอ

ใชเอกสารหลักฐานประกอบคําขอเชนเดียวกับการขออนุญาตซื้อ

อาวุธปนและเครื่องกระสุนปนจากรานคา หากผูขออนุญาตเปนเจาหนาที่การทูตตองมี

หนังสือรับรองจากกระทรวงการตางประเทศของไทยดวย

2.4.6.3 การยื่นคําขอ

1) ผูขออนุญาตยื่นคําขอตามแบบ ป.1 ตอนายทะเบียนทองที่ที่

ผูขออนุญาตมีถิ่นที่อยูคําขอตองระบุวาจะขออนุญาตนําเขาอาวุธปนประเภท ชนิด

ขนาดใด พรอมเครื่องกระสุนปนจํานวนเทาใดจากประเทศใด เพื่อวัตถุประสงคอะไร

2) เจาหนาที่ดําเนินการเชนเดียวกับการขออนุญาตสั่ง นําเขา

อาวุธปนและเครื่องกระสุนปนเพื่อใชสวนตัว

2.4.6.4 ขั้นตอนการพิจารณา

Page 122: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

98

1) เจาหนาที่ดําเนินการเชนเดียวกับการขออนุญาตสั่ง นําเขา

อาวุธปนและเครื ่องกระสุนปนเพื่อใชสวนตัว ถานายทะเบียนทองที ่พิจารณาแลว

อนุญาตก็ออกใบอนุญาตใหนําเขาซึ่งอาวุธปนฯ (แบบ ป.2) ใหมอบ ป.2 ตอนที่ 3 ใหผูขอ

อนุญาต สงแบบ ป.2 ตอนที่ 2 ไปยังอธิบดีกรมศุลกากร หรือนายทะเบียนทองที่เก็บรักษา

อาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนนั้นอยู และเรียกเก็บคาธรรมเนียมการออกใบอนุญาต ป.2

เชนเดียวกับการสั่งนําเขาอาวุธปน เครื่องกระสุนปนเพื่อใชสวนตัว

หากพิจารณาแลวไมอนุญาตใหนายทะเบียนสั่งเปนหนังสือให

ผูนําเขาสงอาวุธปน หรือเครื่องกระสุนปนนั้นกลับออกนอกราชอาณาจักรภายในกําหนดเวลา

ไมนอยกวาสามสิบวันและไมเกินหกเดือนนับแตวันที่ผูนําเขาไดรับคําสั่ง ในกรณีที่ไม

สามารถแจงนําเขาทราบได ใหนายทะเบียนโฆษณาคําสั่งนั้นทางหนังสือพิมพและปด

ประกาศในที่เปดเผยเปนเวลาไมนอยกวา 7 วัน เมื่อพนกําหนดใหถือวาผูนําเขาไดทราบ

คําสั่งนั้นแลว (มาตรา 17 แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด

ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490)

2) ถาผูขอไดรับอนุญาตจากนายทะเบียนทองที่ใหพนักงานของ

กรมศุลกากรหรือนายทะเบียนทองที่ที่เก็บรักษาอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนนั้นอยู

มอบอาวุธปน เครื่องกระสุนปนใหแกผูขออนุญาตพรอมดวยใบมอบ

3) ใหผูขออนุญาตนําเขาอาวุธปนและใบมอบไปยื่นคําขอรับ

ใบอนุญาต ภายในกําหนดหกสิบวัน นับแตวันที่รับแจงความการอนุญาตนั้นเปนหนังสือ

(วันที่ไดรับอนุญาตใหนําเขาตามแบบ ป.2)

4) นายทะเบียนทองที่ที่ผูขออนุญาตยื่นคําขอ จะตองตรวจใบมอบ

อาวุธปน เครื่องกระสุนปน ดังกลาว หากถูกตองก็ออกใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน

ชั่วคราว (แบบ ป.4) และเรียกเก็บคาธรรมเนียมฉบับละ 10 บาท ใบอนุญาตใหมีและใช

อาวุธปนชั่วคราว มีอายุการใชไดหกเดือนนับแตวันออก

5) เพิ่มรายการในทะเบียนอาวุธปนประจําตําบล และรายงาน

กระทรวงมหาดไทย

Page 123: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

99

หมายเหตุ อาวุธปนและเครื่ องกระสุนปนสั้น กอนออก

ใบอนุญาตตองขอความเห็นชอบรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยกอน ตามคําสั่ง

กระทรวงมหาดไทย ที่ 108/2535 ลงวันที่ 10 กุมภาพันธ 2535

2.4.7 การแจงยายอาวุธปน 2.4.7.1 เอกสารหลักฐานประกอบคําขอ

1) ใบอนญุาตใหมีและใชอาวุธปนและเคร่ืองกระสุน (แบบ ป.4)

2) อาวุธปน

3) ทะเบียนบาน พรอมสําเนา

4) บัตรประจําตัวประชาชน พรอมสําเนา

2.4.7.2 การแจงยายออก

1) ผูไดรับใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนยื่นคําขอตามแบบ ป.1

ตอนายทะเบียนทองที่ที่อาวุธปนขึ้นทะเบียนอยูภายใน 15 วัน นับแตวันยายออก พรอม

ดวยเอกสารหลักฐานที่กําหนด

2) นายทะเบียนทองที่ตรวจสอบอาวุธปน ใบอนุญาตใหมีและใช

อาวุธปน (แบบ ป.4) ทะเบียนอาวุธปนประจําตําบล หากหลักฐานถูกตองใหบันทึกใน

ใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน (แบบ ป.4) และประทับตราไวเปนหลักฐาน แลวคืน

ใบอนุญาตใหผูยื่นคําขอ

3) จําหนายรายการในทะเบียนอาวุธปนประจําตําบล และตนขั้ว

ใบอนุญาต

2.4.7.3 การแจงยายเขา

1) ผูไดรับใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน ยื่นคําขอตามแบบ ป.

1 ตอนายทะเบียนทองที่ที่ยายเขาไปอยูใหมภายใน 15 วัน นับแตวันยายเขา พรอมดวย

เอกสารหลักฐานที่กําหนดและใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน (แบบ ป.4) ที่ไดบันทึก

แจงยายออกจากนายทะเบียนทองที่เดิมแลว

2) นายทะเบียนทองที่ตรวจสอบอาวุธปน ใบอนุญาตใหมีและใช

อาวุธปน (แบบ ป.4) และทะเบียนบาน หากหลักฐานถูกตองใหบันทึกลงในใบอนุญาตใหมี

Page 124: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

100

และใชอาวุธปน (แบบ ป.4) และประทับตราไวเปนหลักฐาน แลวคืนใบอนุญาตใหผู

ยื่นคําขอ

3) ลงรายการในทะเบียนอาวุธปนประจําตําบล

2.4.8 การออกใบแทนและคําขอคัดสําเนา 2.4.8.1 การออกใบแทน

เอกสารหลักฐานประกอบคําขอ

1) ใบอนุญาต หรือสําเนาใบอนุญาต

2) บัตรประจําตัวประชาชน

3) สําเนาใบแจงความที่ปรากฏ วัน เดือน ป ที่สูญหาย

4) อาวุธปน (กรณีขอออกใบแทนใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน)

2.4.8.2 การขอคัดสําเนาใบอนุญาต

เอกสารหลักฐานประกอบคําขอ

1) บัตรประจําตัวประชาชน

2) เอกสารแสดงการมีสวนไดเสียกับผูรับใบอนุญาต

2.4.8.3 ขั้นตอนการดําเนินการ

1) ผูขออนุญาตยื่นคําขอตามแบบ ป.1 แสดงความจํานงขอออกใบ

แทน หรือสําเนาใบอนุญาตแลวแตกรณี ถาใบอนุญาตเดิมชํารุดก็ใหแสดงสวนที่เหลือ

ถาหายตองแสดงสําเนาใบแจงความใหปรากฏ วัน เดือน ป ที่หาย

2) นายทะเบียนทองที่ตรวจสอบหลักฐานกับตนขั้วใบอนุญาตเดิม

และนายทะเบียนอาวุธปนประจําตําบล ถาเปนอาวุธปนที่ขึ้นทะเบียนไวที่อื่นใหขอ

สําเนาตนขั้วมาประกอบ และเรียกอาวุธปนมาตรวจสอบดวยหากพิจารณาแลวเห็นวามี

เหตุผลเปนที่นาเชื่อถือไดก็ใหออกใบแทนใหตามเงื่อนไขของใบอนุญาตเดิม

3) การออกใบแทน ใหใชแบบพิมพปกติ แตแยกเลมเขียนดวยหมึก

สีแดงดานบนของแบบพิมพวา “ใบแทน” และหมายเหตุไวในใบแทนนั้นดวยวา “ออกใบ

แทนตามใบอนุญาตฉบับเดิม ที่..............ลงวันที่...........เดือน.....................พ.ศ

...........” การออกใบแทนจะตองออกใหตรงกับเงื่อนไขที่ลงในใบอนุญาตเดิม เชน ชนิด

ขนาด หมายเลข เครื่องหมายทะเบียนอาวุธปน ชื่อผูรับใบอนุญาต วันสิ้นอายุ

Page 125: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

101

ใบอนุญาต การลงชื่อตําแหนงในแบบพิมพ ชองนายทะเบียนทองที่นั้นเปนหนาที่ของ

นายทะเบียนทองที่ปจจุบันที่ออกใบแทนเปนผูลงชื่อ และประทับตราประจําตําแหนง

4) กรณีผูขออนุญาตยื่นคําขอออกใบแทนใบอนุญาตใหมีและใช

อาวุธปน (แบบ ป.4) เนื่องจากใบอนุญาตเดิมสูญหายและทางอําเภอไมสามารถจะออก

ใบแทนใหได เพราะตนขั้วใบอนุญาตและทะเบียนที่เก็บรักษาไวสูญหาย เชน กรณีที่วา

การอําเภอถูกไฟไหม กรณีนี้กระทรวงมหาดไทยไดวางแนวทางปฏิบัติไวตามนัยหนังสือ

ที่ มท 0313/ว 284 ลงวันที่ 9 มิถุนายน 2513 ดังนี้

(1) ใหผูขอนําอาวุธปนที่จะออกใบแทน (แบบ ป.4) มา

ตรวจสอบเพื่อที่จะไดทราบวาเปนอาวุธปนที่ถูกตองตามกฎหมายหรือไม

(2) สอบสวนผูขอและพยาน 2 ปาก เพื่อยืนยันวาปนที่ขอใบแทน

นั้นเปนปนของผูขอซึ่งไดครอบครองมาถูกตองตามกฎหมายหรือไม และไดมีการโอน

หรือจดทะเบียนเครื่องหมายไว ณ ทองที่ใดบาง ถาปรากฏวาเปนอาวุธปนที่จดทะเบียน

เครื่องหมายไวในทองที่อื่นก็ใหขอสําเนาแบบ ป.4 ไปยังนายทะเบียนทองที่ที่ทํา

เครื่องหมายอาวุธปนไวเพื่อนํามาออกใบแทนใหแกผูขอ แตถาเปนอาวุธปนที่ออกใบอนุญาต

ใหในทองที่นั้นก็ใหนายทะเบียนสอบสวนรายละเอียดขอเท็จจริงของอาวุธปนดังกลาว

(3) เมื่อนายทะเบียนสอบสวนแลวปรากฏวาเปนอาวุธปนที่ผู

รองไดครอบครองไวถูกตองตามกฎหมายก็ใหนายทะเบียนออกใบแทน (แบบ ป.4) ให โดย

กรอกรายการของอาวุธปนในใบแทน และเมื่อออกใบแทนไปแลวใหนายทะเบียนทํา

บัญชีตนขั้วทะเบียนขึ้นใหมเพื่อเปนหลักฐานคราวตอไป

(4) คาธรรมเนียมการออกใบแทนและสําเนาใบอนุญาต ฉบับละ

5 บาท

2.4.9 การขออนุญาตใหผูอื่นมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนเพื่อรักษาทรัพยสินของตน บุคคลใดมีความประสงคใหผูอื่นมีและใชอาวุธปน หรือเครื่องกระสุนปน

ที่ตนไดรับอนุญาตไวสําหรับรักษาทรัพยสินของตนซึ่งตองใชใหผูอื่นดูแลหรือตองสั่ง

นําเขา หรือซื้ออาวุธปน หรือเครื่องกระสุนปนเพื่อความประสงคนั้น อาจขอรับหนังสือ

Page 126: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

102

อนุญาตพิเศษจากนายทะเบียนทองที่ที่บุคคลนั้นมีถิ่นที่อยู หนังสืออนุญาตนี้นาย

ทะเบียนจะออกใหไดตอเมื่อไดรับอนุมัติจากพนักงาน ซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งไว

2.4.9.1 คุณสมบัติของผูรับมอบอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน

ผูรับมอบอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนตองมีคุณสมบัติเชนเดียวกับ

ผูไดรับใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุน

2.4.9.2 เอกสารหลักฐานประกอบคําขอ

ใชเอกสารหลักฐานเชนเดียวกับการขออนุญาตมีและใชอาวุธปน

โดยตองนําอาวุธปนที่จะมอบใหผูอื่นใชและใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่อง

กระสุนปน (แบบ ป.4) เพื่อตรวจสอบดวย

2.4.9.3 การยื่นคําขอ

ผูประสงคจะใหบุคคลอื่นมีและใชอาวุธปน เครื่องกระสุนปน ที่ตนเอง

ไดรับอนุญาตสําหรับรักษาทรัพยสินของตนยื่นคําขอตามแบบ ป.1 ตอนายทะเบียน

ทองที่ที่ตนมีชื่ออยูในทะเบียนบานพรอมใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน (แบบ ป.4)

และกรอกขอความในคําขอ ป.1 ใหมีสาระสําคัญวามีความประสงคใหผูใดใหมีและใชอาวุธ

ปนชนิด ขนาดใด เลขหมายประจําอาวุธปน เครื่องหมายทะเบียน เพื่อใชสําหรับรักษา

ทรัพยสินที่ใด ตั้งแตวันที่เทาใดถึงวันที่เทาไร

2.4.9.4 ขั้นตอนการพิจารณา

เจาหนาที่ดําเนินการเชนเดียวกับการขออนุญาตใหมีและใชอาวุธ

ปนและเครื ่องกระสุนปนเมื ่อนายทะเบียนทองที่มีคําสั ่งเปนอยางไร ใหทําเรื ่อง

พรอมทั้งความเห็นเสนอขออนุมัติตอเจาพนักงานซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

ไดแตงตั้งไว ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 4 มกราคม 2548 เรื่อง แตงตั้ง

นายทะเบียนเจาพนักงาน และเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน

วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 ขอ 3 ซึ่งไดแก

1. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ในเขตกรุงเทพมหานคร

2. ผูวาราชการจังหวัด ในเขตจังหวัดอื่น

Page 127: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

103

เมื่อไดรับอนุมัติแลวใหนายทะเบียนทองที่ออกหนังสืออนุญาต

พิเศษ ตามแบบทายคําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 674/2490 ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2490

ใหแกผูขออนุญาตและการออกหนังสือดังกลาวไมเรียกเก็บคาธรรมเนียม

หากนายทะเบียนทองที่พิจารณาแลวไมอนุมัติ ใหแจงผูขอ

อนุญาตทราบเปนหนังสือพรอมทั้งแจงสิทธิอุทธรณตามมาตรา 63 แหงพระราชบัญญัติ

อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490

แกผูขออนุญาตวาอาจยื่นอุทธรณตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ภายในกําหนด

30 วัน นับแตวันที่ไดรับการแจงการปฏิเสธเปนหนังสือ คําอุทธรณใหยื่นตอนายทะเบียน

ทองที่ และใหนายทะเบียนเสนอคําอุทธรณนั้นตอรัฐมนตรีโดยมิชักชา คําวินิจฉัยของ

รัฐมนตรีใหแจงเปนหนังสือไปยังผูยื่นคําขออนุญาต

2.4.10 การขอรับใบอนุญาตใหมีอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนสําหรับการคา

2.4.10.1 คุณสมบัติของผูขออนุญาต

1) เปนบุคคลที่บรรลุนิติภาวะ

2) ไมเปนบุคคลซึ่งไมสามารถใชอาวุธปนไดโดยกายพิการหรือ

ทุพพลภาพ

3) ไมเปนบุคคลไรความสามารถหรือเสมือนไรความสามารถ

หรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือเปนคนวิกลจริต

4) ประกอบสัมมาอาชีพ มีถิ่นที่อยูประจําในทองที่ที่ขออนุญาต

และมีชื่อในทะเบียนบานตามกฎหมายวาดวยการทะเบียนราษฎรไมนอยกวา 6 เดือน

และมีถิ่นที่อยูประจําในทองที่ที่ขออนุญาต

5) ไมเปนบุคคลที่มีความประพฤติชั่วอยางรายแรงอันอาจ

กระทบตอความสงบเรียบรอยของประชาชน

6) ไมเคยตองโทษจําคุกในฐานความผิดที่กฎหมายกําหนด

ดังตอไปนี้

(1) ไมเปนบุคคลซึ่งตองโทษจําคุกสําหรับความผิดตาม

กฎหมายลักษณะอาญา ดังตอไปนี้

Page 128: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

104

(ก) มาตรา 97 ถึงมาตรา 111 มาตรา 120 มาตรา 177

ถึงมาตรา 183 มาตรา 249 มาตรา 250 หรือมาตรา 293 ถึงมาตรา 303

(ข) มาตรา 254 ถึงมาตรา 257 และพนโทษยังไมเกิน 5

ป นับแตวันพนโทษถึงวันยื่นคําขอใบอนุญาต เวนแตในกรณีความผิดที่กระทําโดย

ความจําเปนหรือเพื่อปองกันหรือโดยถูกยั่วยุโทสะ

(2) ไมเปนบุคคลซึ่งตองโทษจําคุกสําหรับความผิดอันเปน

การฝาฝนตอพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และ

สิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2477 มาตรา 11 มาตรา 22 มาตรา 29 หรือมาตรา 33 หรือ

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธ

ปน พ.ศ. 2490 มาตรา 7 มาตรา 24 มาตรา 33 หรือมาตรา 38

(3) ไมเปนบุคคลซึ่งตองโทษจําคุกตั้งแตสองครั้งขึ้นไป ใน

ระหวางหาปนับยอนขึ้นไปจากวันยื่นคําขอสําหรับความผิดอยางอื่นนอกจากที่บัญญัติ

ไวใน (1) (ก) และ (ข) เวนแตความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

7) ไมเปนบุคคลที่ตองคําพิพากษาของศาลใหปรับตัง้แตสองครัง้

ขึ้นไป หรือจําคุกแมแตครั้งเดียวฐานความผิดตอพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน

วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2477 และพระราชบัญญัติอาวุธ

ปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 และพน

โทษครั้งสุดทายไมเกิน 10 ป นับแตวันยื่นคําขอใบอนุญาต

2.4.10.2 เอกสารหลักฐานประกอบคําขออนุญาต

1) บัตรประจําตัวประชาชนพรอมสําเนา

2) ทะเบียนบานพรอมสําเนา

3) สําเนาทะเบียนบานของสถานที่ตั้งรานคา

4) หนังสืออนุญาตใหใชสถานที่ตั้งทําการคาออกใหโดยเจาของ

กรรมสิทธิ์หรือผูมีอํานาจ

5) ใบทะเบียนการคา ทะเบียนพาณิชย หรือหนังสือบริคณหสนธิ

6) บัญชีสําหรับลงรายการยอดอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน

(แบบ ป.8) ของรอบปที่ผานมา

Page 129: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

105

2.4.10.3 หลักเกณฑการพิจารณาการออกใบอนุญาตทําการคา จําหนาย

ประกอบ ซอมแซม เปลี่ยนลักษณะอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน

1) ผูขออนุญาตตองเปนผูมีคุณสมบัติไมตองหามตามมาตรา 26

แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียม

อาวุธปน พ.ศ. 2490 มีความประพฤติเปนที่ไววางใจใหทําการคา จําหนาย ประกอบ

ซอมแซม เปลี่ยนลักษณะอาวุธปน เครื่องกระสุนปนได ใหเจาพนักงานพิมพลายนิ้วมือ

ตรวจสอบวาเคยมีประวัติอยางใดมากอนหรือไม

2) ผูขออนุญาตตองเปนผูมีหลักทรัพยเปนหลักฐานพอที่จะตั้ง

รานคา เพื่อทําการคา จําหนาย ประกอบ ซอมแซม เปลี่ยนลักษณะอาวุธปน เครื่องกระสุนปน

ได โดยใหสอบสวนใหแนชัดวาผู ขออนุญาตมีทรัพยเทาใด หรือหลักทรัพยอยางใด

ราคาเทาใด เปนกรรมสิทธิ์ของผูขออนุญาตแตผูเดียวหรือมีกรรมสิทธิ์รวมกับบุคคลอื่น

3) สถานที่ทําการคาตองเปนที่มั่นคงแข็งแรง เหมาะสม และ

ตั้งอยูในยานการคาสะดวกแกการควบคุมตรวจตราของนายทะเบียนทองที่และเจาพนักงาน

4) บุคคลเดียวกัน หรือบุคคลกับนิติบุคคลที่มีผูจัดการเปน

บุคคลเดียวกัน หรือนิติบุคคลกับนิติบุคคลที่มีผูจัดการเปนบุคคลเดียวกัน ซึ่งเคยไดรับ

อนุญาตใหทําการคา จําหนายอาวุธปน และเครื่องกระสุนปนอยูในสถานที่ทําการคา

เดียวกัน จะไดรับอนุญาตใหทําการคาและจําหนายอาวุธปน และเครื่องกระสุนปนใน

สถานที่ทําการคาเดียวกันไดรวมทั้งสิ้นไมเกินหาใบอนุญาตเฉพาะสถานที่ทําการคาที่

ตั้งอยูในเขตทองที่กรุงเทพมหานคร และไมเกินหนึ่งใบอนุญาตสําหรับในจังหวัดอื่น

5) ใหทําการสืบสวนผูขออนุญาตแลวสงสํานวนทั้งหมดพรอมดวย

คําขอรับอนุญาตไปยังกระทรวงมหาดไทย เพื่อประกอบการพิจารณาทุกคราวที่มีการขอ

อนุญาต

6) ผูมีใบอนุญาตใหทําการคาอาวุธปน เครื่องกระสุนปน ใหคงถือ

ใบอนุญาตไดเพียงรายละหนึ่งใบอนุญาต

หมายเหตุ ตามนัยคําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 109/2535 ลง

วันที่ 10 กุมภาพันธ 2535

Page 130: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

106

2.4.10.4 การยื่นคําขอ

1) ผูขออนุญาตยื่นคําขอตามแบบ ป.1 ตอนายทะเบียนทองที่

ดําเนินกิจการพรอมดวยเอกสารหลักฐานประกอบคําขอ คําขอจะตองขออนุญาตมี

อาวุธปนและเครื่องกระสุนปนสําหรับการคาและขอใบอนุญาตใหจําหนายอาวุธปนหรือ

เครื่องกระสุนปนเพื่อการคา

2) เจาหนาที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐานของผูขออนุญาต เมื่อ

เห็นวาครบถวนถูกตองใหผูขออนุญาตลงลายมือชื่อรับรองสําเนาถูกตองเพื่อเปนหลักฐาน

3) เจาหนาที่สอบสวนคุณสมบัติของผูขออนุญาต ตามแบบ

ปค.14 วาเปนผูตองหามออกใบอนุญาตตามมาตรา 13 และมาตรา 26 แหง

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน

พ.ศ. 2490 หรือไมในประเด็นดังตอไปนี้

(1) ไมเปนบุคคลซึ่งตองโทษจําคุกสําหรับความผิดประมวล

กฎหมายอาญาดังตอไปนี้

(ก) มาตรา 97 ถึงมาตรา 111 มาตรา 120 มาตรา 177 ถึงมาตรา

183 มาตรา 249 มาตรา 250 หรือมาตรา 293 ถึงมาตรา 303

(ข) มาตรา 254 ถึงมาตรา 257 และพนโทษยังไมเกิน 5 ป นับ

แตวันพนโทษถึงวันยื่นคําขอใบอนุญาต เวนแตในกรณีความผิดที่กระทําโดยความจําเปน

หรือเพื่อปองกันหรือโดยถูกยั่วยุโทสะ

(2) ไมเปนบุคคลซึ่งตองโทษจําคุกสําหรับความผิดอันเปนการฝาฝน

ตอพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธ

ปน พ.ศ. 2477 มาตรา 7 มาตรา 11 ถึงมาตรา 22 มาตรา 24 มาตรา 29 มาตรา 33

หรือ มาตรา 38

(3) ไมเปนบุคคลซึ่งตองโทษจําคุกตั้งแตสองครั้งขึ้นไป ในระหวาง

หาปนับยอนหลังขึ้นไปจากวันที่ยื่นคําขอสําหรับความผิดอยางอื่นนอกจากบัญญัติไวใน

ขอ 3.1 และ 3.2 เวนแตความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือผิดลหุโทษ

(4) ไมเปนบุคคลที่ตองคําพิพากษาของศาล ใหปรับตั้งแตสองครั้ง

ขึ้นไปหรือจําคุกแมแตครั้งเดียวฐานกระทําความผิดตอพระราชบัญญัติอาวุธปน

Page 131: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

107

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2477 และ

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน

พ.ศ. 2490

4) เจาหนาที่พิมพลายนิ้วมือผูขออนุญาต เพื่อตรวจสอบประวัติการ

กระทําความผิด

5) เจาหนาท่ีออกหลักฐานการรับเรื่องใหผูขออนุญาตไวเปนหลักฐาน

2.4.10.5 ขั้นตอนพิจารณา

1) เจาหนาที่จัดสงแบบพิมพลายนิ ้วมือของผูขออนุญาตไปที่

กองทะเบียนประวัติอาชญากร สํานักงานวิทยาการตํารวจ เพื่อตรวจสอบประวัติการ

ตองหาคดีอาญา

2) เจาหนาที่ตรวจสอบบัญชีตามแบบ ป.8 กับสมุดเทียบสั่งอาวุธปน

และเครื่องกระสุนปนแลวบันทึกการตรวจสอบเพื่อเสนอนายทะเบียนทองที่

3) นายทะเบียนออกตรวจสถานที่แลวทําความเห็นเสนอปลัดกระทรวง

มหาดไทยพิจารณา

4) กระทรวงมหาดไทยแจงผลการพิจารณาใหนายทะเบียนทองที่ทราบ

หากพิจารณาอนุมัติก็ใหนายทะเบียนทองที่ออกใบอนุญาตใหจําหนายอาวุธปนและ

เครื่องกระสุนปน (แบบ ป.5) และใบอนุญาตใหมีอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนสําหรับการคา

(แบบ ป.3)

หากพิจารณาแลวไมอนุมัติ นายทะเบียนทองที่จะตองแจงผลให

ผูขออนุญาตทราบเปนหนังสือ

Page 132: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

บทที่ 3มาตรการทางกฎหมายในการควบคุมอาวุธปนในระดับสากลและใน

ตางประเทศ

เพื่อใหการศึกษาวิเคราะหแนวทางในการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุม

ทะเบียนอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนของประเทศไทยเปนไปอยางถูกตองสมบูรณมี

ประสิทธิภาพเหมาะสมกับสภาวการณปจจุบัน มีมาตรฐานเปนที่ยอมรับของนานา

อารยะประเทศ สอดคลองกับมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมอาวุธปนทั้งในระดับ

สากลและระดับประเทศ จึงไดทําการศึกษาวิเคราะหและเปรียบเทียบกับมาตรการทาง

กฎหมายในการควบคุมอาวุธปนในระดับสากล คือ การศึกษาวิเคราะหสนธิสัญญา

วาดวยการคาอาวุธ (Arms Trade Treaty : ATT) ซึ่งเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

นายนรชิต สิงหเสนี เอกอัครราชทูตผูแทนถาวรไทยประจําสหประชาชาติ ณ นคร

นิว ยอ ร ค ได ล งนา มในส นธิส ัญญาวา ด วยการค าอาวุธ ณ สําน ักงานใหญ

สหประชาชาติ นครนิวยอรค สงผลใหประเทศไทยมีสถานะเปนผูลงนามลําดับที่

123 ของสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ โดยสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธฉบับ

นี้ มีผลบังคับใชแลวตั้งแตวันที่ 24 ธันวาคม 2557 ที่ผานมา

นอกจากนี้ ไดนําบทบัญญัติเกี่ยวกับกฎหมายที่ใชในการควบคุมอาวุธปนและ

เครื่องกระสุนปนของตางประเทศอีกสี่ประเทศมาศึกษาวิเคราะหเปรียบเทียบ เพื่อเปน

แนวทางในการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมทะเบียนอาวุธปนและเครื่อง

กระสุนปนของประเทศไทย คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐสิงคโปร ประเทศ

มาเลเซีย และประเทศออสเตรเลีย เนื่องจากกฎหมายอาวุธปนของทั้งสี่ประเทศนี้มีความ

แตกตางกันอยางมาก โดยกฎหมายอาวุธปนของประเทศสหรัฐอเมริกามีลักษณะที่ผอนผัน

มาก สวนกฎหมายอาวุธปนของประเทศมาเลเซียและสาธารณรัฐสิงคโปรมีลักษณะที่

เขมงวดมาก ในขณะที่กฎหมายอาวุธปนของประเทศออสเตรเลียจะอยูในระดับปาน

กลางระหวางสามประเทศดังกลาวและใกลเคียงกับกฎหมายอาวุธปนของประเทศไทย ซึ่ง

รายละเอียดของสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ (Arms Trade Treaty : ATT) และ

กฎหมายอาวุธปนของประเทศสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐสิงคโปร ประเทศมาเลเซีย และ

ประเทศออสเตรเลีย มีดังนี้

Page 133: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

109

3.1 สนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ (Arms Trade Treaty : ATT)1

3.1.1 พัฒนาการในการจัดทําสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ 3.1.1.1 ความเปนมา

การจัดทําสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ เริ่มจากแนวคิดระหวาง

ประเทศในการกําหนดมาตรฐานที่มีผลผูกพันทางกฎหมายในการควบคุมการนําเขา

สงออก การสงผานและถายลําอาวุธ โดยเริ่มตนกระบวนการในการจัดทําสนธิสัญญาวา

ดวยการคาอาวุธในกรอบสมัชชาแหงสหประชาชาติ ตั้ งแตป 2549 มีสมาชิก

สหประชาชาติสวนใหญรับรองขอมติสมัชชาสหประชาชาติ (UNGA) ที่ 61/89 (2006) ขอ

มติที่ 63/240 (2008) และขอมติท่ี 64/48 (2009) ซ่ึงมีสาระสําคัญ ดังนี้

1) กําหนดใหมีการจัดตั้งกลุมผู เชี่ยวชาญภาครัฐ (Group of

Government Experts : GGE) เพื่อประมวลขอคิดเห็นของรัฐสมาชิก

2) จัดตั้ง Open Ended Working Group (OEWG) เพื่อนําผลการ

ดําเนินงานของกลุมผูเชี่ยวชาญภาครัฐที่ผานมาเปนพื้นฐาน

3) ใหปรับการประชุม OEWG ในชวงป 2553-2554 เปนการประชุม

คณะกรรมการเตรียมการเพื่อจัดทําสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ (Preparatory

Committee : PrepCom) และกําหนดใหมีการประชุม ณ นครนิวยอรค จํานวน 4 ครั้ง

ดังนี้

- ครั้งที่ 1 ระหวางวันที่ 12 - 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

- ครั้งที่ 2 ระหวางวันที่ 28 กุมภาพันธ – 4 มีนาคม พ.ศ. 2554

- ครั้งที่ 3 ระหวางวันที่ 11 - 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

- ครั้งที่ 4 ระหวางวันที่ 13 - 17 กุมภาพันธ พ.ศ. 2555

1 เอกสารประกอบการประชุมสวนราชการที่เกี่ยวของวาดวยการพิจารณาแนวทางการดําเนินงาน

ของสวนราชการที่เกี่ยวของเพื่อใหสัตยาบันภายหลังการเขาเปนภาคีสนธิสัญญาวาดวยการคา

อาวุธ (Arms Trade Treaty : ATT) ระหวางวันที่ 16 – 17 ธันวาคม 2557 ณ บานอัมพวา รีสอรท

แอนด สปา อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม

Page 134: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

110

3.1.1.2 การประชุม PrepCom ครั้งที ่1 - 4

1) การประชุม PrepCom ครั้งที่ 1 - 3 ไดมีการหารือเกี่ยวกับ หลักการ

ขอบเขต หลักเกณฑ การปฏิบัติตามสนธิสัญญาและบทบัญญัติสุดทาย ซึ่งทําใหทาที

ของประเทศตางๆ มีความแตกตางกัน

2) การประชุม PrepCom ครั้งที่ 4 มีสาระสําคัญ คือ การไดขอสรุป

สําหรับขอกําหนดสําหรับการประชุมทางการทูตเพื่อจัดทําสนธิสัญญาวาดวยการคา

อาวุธ วาจะยังคงใชหลักการฉันทามติในทุกข้ันตอนของการพิจารณาเนื้อหาในสนธิสัญญา

ฯ แตใหมีการลงคะแนนเสียง 2 ใน 3 ของที่ประชุม

3.1.1.3 การประชุมสหประชาชาติเพื่อจัดทําสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ

(2012 UN Conference on Arms Trade Treaty)

จัดขึ ้นระหวางวันที่ 2 - 27 กรกฎาคม 2555 หลังจากไดม ีการ

ประชุม PrepCom ครบทั้ง 4 ครั้ง มีคณะผูแทนไทยเขารวมประชุมดวยผลการประชุม

ที่สําคัญ คือ ยังไมสามารถบรรลุฉันทามติในการรับรองรางสนธิสัญญาวาดวยการคา

อาวุธ เนื่องจากประเทศตางๆ ที่เขารวมประชุมยังมีความเห็นที่แตกตางเกี่ยวกับ

องคประกอบของรางสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ เชน

1) ประเด็นการรวมกระสุนและชิ้นสวนที่อยูในสนธิสัญญาวาดวย

การคาอาวุธ

2) การใหองคบูรณาการแหงภูมิภาคเขาเปนภาคีของสนธิสัญญาวาดวย

การคาอาวุธได

3) คํานิยามของ Non-state actor และ

4) การระบุถึงความรุนแรงดวยปจจัยเพศสภาวะหรือความรุนแรงตอสตรี

และเด็ก

3.1.1.4 การประชุมสหประชาชาติเกี่ยวกับสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ

ครั้งสุดทาย (Final UN Conference on the Arms Trade Treaty)

การประชุมสหประชาชาติเกี่ยวกับสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ

ครั้งสุดทาย จัดขึ้นระหวางวันที่ 18 - 28 มีนาคม 2556 ณ นครนิวยอรก การประชุมครั้งนี้

ไมประสบความสําเร็จในการใหฉันทามติ (Consensus) ตอรางสนธิสัญญาวาดวย

Page 135: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

111

การคาอาวุธตามระเบียบการประชุม (Rule of Procedural) ที่ไดกําหนดไวกอน

การประชุม โดยซีเรีย เกาหลีเหนือ และอิหรานไมใหความเห็นชอบกับสนธิสัญญาวาดวย

การคาอาวุธ

ที่ประชุมไดพิจารณาและใหความเห็นตอรางสนธิสัญญาวาดวยการคา

อาวุธ และนํามาสูการแกไขสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ (Non-paper) ของประธาน

การประชุมจํานวน 3 ฉบับ คือ

1) ฉบับวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2556

2) ฉบับวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2556 และ

3) ฉบับวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2556

เนื้อหาของรางสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธฉบับนี้มีความ

เขมขน และชัดเจนขึ้น มีความประนีประนอม โดยเฉพาะการเพิ่มเนื้อหาในประเด็น

กระสุน/เคร่ืองกระสุน (Ammunition/Munitions) และประเด็นชิ้นสวนและสวนประกอบ

(Parts and Components) โดยเฉพาะการเนนความรุนแรงตอเพศสภาวะ (Gender-

based violence) และหล ัก เกณฑดานสิทธิมนุษยชน ใหเปนสวนสําคัญที่ตอง

พิจารณาในการสงออกอาวุธใหกับประเทศผูนําเขา และการเพิ่มประเด็นเรื ่องการ

เบี ่ยงเบน ของการถายโอน (Diversion) แยกตางหากเพื ่อความชัดเจน ซึ่งบาง

ประเด็นอาจสงผลกระทบตอไทยในประเด็น เชน กระสุน/เครื่องกระสุน (cartridge /

Ammunition) ประเด็นการเบี่ยงเบน (Diversion) ประเด็นการสงผานและการถายลํา

(Transit and Transshipment) และ ประเด็นการรายงานและการเก็บบันทึก

(Reporting and Record-keeping)

3.1.1.5 การประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยที่ 67

เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2556 ท่ีประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยที่ 67 ได

ลงคะแนนเสียงรับรองขอมติที่ A/RES/67/234 B. เรื่อง The Arms Trade Treaty ดวย

คะแนนเสียง 154 เสียง (รวมประเทศไทย) คัดคาน 3 เสียง และงดออกเสียง 23 เสียง

(อาเซียนไดแก ลาว และอินโดนีเซีย) ซึ่งมีสาระสําคัญคือ

1) รับสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ

Page 136: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

112

2) ใหเลขาธิการสหประชาชาติ กําหนดวันรับสนธิสัญญาวาดวย

การคาอาวุธตามประโยคสุดทายของสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ

3) ใหเลขาธิการสหประชาชาติเปดใหมีการลงนามในวันที่ 3 มิถุนายน

2556

4) เรียกรองใหรัฐตางๆ พิจารณาลงนามหลังจากผานกระบวนการที่

เกี่ยวของ เพื่อเขาเปนภาคีสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธใหเร็วที่สุดเทาที่เปนไปได

และ

5) ขอใหเลขาธิการสหประชาชาติรายงานผลใหกับที่ประชุมสมัชชา

สหประชาชาติ สมัยที่ 68 ถึงสถานการณ ลงนามและใหสัตยาบันของสนธิสัญญาวา

ดวยการคาอาวุธนี้

3.1.1.6 การประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยที่ 68

เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2557 ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติสมัยที่ 68

ไดออกขอมติที่ A/RES/68/31 เรื่อง The Arms Treaty ซึ่งมีสาระสําคัญคือ

1) รับรองสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธที่ออกเมื่อวันที่ 2 เมษายน

2556

2) เปดใหมีการลงนามสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ และจะปดการ

ลงนาม เมื่อสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธมีผลบังคับใชและจะเปดใหมีการภาคยา

นุวัฒนหลังจากนั้น

3) เรียกรองใหรัฐสมาชิกที่ยังไมไดลงนามและใหสัตยาบันใหการ

รับรองสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธโดยเร็ว

4) เรียกรองใหรัฐมีความสามารถ ใหความชวยเหลือดานกฎหมาย

และนิติบัญญัติ ใหกับรัฐที่ตั้งใจเขาเปนภาคีสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธรองขอ

5) ใหเลขาธิการสหประชาชาติรายงานผลใหกับที่ประชุมสมัชชา

สหประชาชาติสมัยที่ 69 ทราบถึงสถานการณการลงนามและใหสัตยาบันการรับรองและ

การไมรับรองสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธนี้

หากรัฐสมาชิกใหสัตยาบันครบ 50 ประเทศสหประชาชาติจะปด

ขั้นตอนการลงนาม และใหมีผลบังคับใชภายใน 90 วันหลังจากนั้น และหากมีผลบังคับ

Page 137: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

113

ใชแลวรัฐสมาชิกใดมีความประสงครวมเปนภาคีสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ จะตอง

เขาสูภาคยานุวัติ มีประเทศรวมลงนามแลว 121 ประเทศ และใหสัตยาบันแลว 53

ประเทศ ซึ่งครบตามเงื่อนไขทําใหสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธนี้มีผลบังคับใช

ภายใน 90 วัน โดยจะมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 23 ธันวาคม 2557 ที่ผานมา

3.1.2 ทาทีของไทยตอการจัดทําสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ 3.1.2.1 ภาพรวมเกี่ยวกับสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ

สนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ จะมีบทบาทในการควบคุมการ

ขนสงหรือการคาอาวุธที่ผิดกฎหมาย ควรอยูบนพื้นฐานของการดําเนินการภายในของ

รัฐ ซึ่งคํานึงถึงสิทธิของรัฐในการปองกันตนเอง ความเปนเอกราชทางการเมือง อํานาจ

อธิปไตย และบูรณภาพแหงดินแดน

3.1.2.2 ขอบเขต (Scope) สนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ

1) สนับสนุนการกําหนดขอบเขตของสนธิสัญญาวาดวยการคา

อาวุธ ใหครอบคลุมและสอดคลองกับหมวดหมูอาวุธ 7 ประเภทของทะเบียนอาวุธปน

ตามแบบ UN Register on Conventional Arms (UNRCA) รวมกับอาวุธขนาดเล็กและ

อาวุธเบา (7+1 Formula) เพื่อสะดวกในการกําหนดคํานิยามและการรวบรวมขอมูล

2) สนับสนุนการกําหนดขอบเขตในสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ

มีความชัดเจนและสามารถปรับเปลี่ยนรายละเอียดไดงาย โดยการระบุรายละเอียดไว

ในภาคผนวก ซึ่งหลายประเทศเห็นดวยกับทาทีดังกลาวและไมมีเสียงคัดคานรุนแรง

3.1.2.3 หลักเกณฑ (Criteria) สนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ

ใหความสําคัญตอสิทธิของรัฐในการปองกันตนเอง ซึ่งเปนสิทธิอัน

ชอบธรรมของรัฐตามบทบัญญัติที่ 51 แหงกฎบัตรสหประชาชาติ และความเปนเอกราช

ทางการเมือง อํานาจอธิปไตย และบูรณภาพแหงดินแดน โดยอาจพิจารณาทาที

ประเทศอาเซียนอื่นๆ ประกอบ

3.1.2.4 การปฏิบัติตามสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ (Implementation)

1) สนับสนุนใหมีการจัดตั้งหนวยงานหลักระดับชาติที่มีอํานาจ

ตัดสินใจ (National authority) เพื่อใหเปนไปตามพันธกรณีจากสนธิสัญญาวาดวย

Page 138: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

114

การคาอาวุธ ดวยความชัดเจนและเปนไปตามสิทธิของรัฐ อํานาจอธิปไตย และเอกราช

ของรัฐ

2) ย้ําถึงความสําคัญของการไมสรางภาระเพิ่มเติมใหกับรัฐ

สมาชิกโดยไมจําเปนในการจัดทําระบบทะเบียนขอมูล (Record Keeping) การ

รายงาน (Reporting) ซึ่งตองคํานึงถึงความออนไหวดานความมั่นคง ความโปรงใส

(Transparency) และกระบวนการปรับหรือจัดทํากฎหมายภายในและมาตรฐานทาง

ศุลกากร รวมถึ งการมีกลไกความชวยเหลือระหวางประเทศ ( International

assistance) ที่มีความพรอมดานงบประมาณและองคความรู เพื่อรองรับการปฏิบัติ

ตามสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ

3.1.3 การเตรียมความพรอมเพื่อเขาเปนภาคีสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ ไดจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสราง

ความเขาใจและเตรียมความพรอมของคนไทยเพื่อเขาเปนภาคีสนธิสัญญาวาดวย

การคาอาวุธ (The Arms Trade Treaty: ATT) ระหวางวันที่ 18-19 มิถุนายน 2556 ณ

บานอัมพวา รีสอรท แอนด สปา อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม โดยประกอบดวย

หนวยงานที่เกี่ยวของไดแก กระทรวงการตางประเทศ กระทรวงกลาโหม กรมอุตสาหกรรมทหาร

กองทัพบก กองทัพเรือ สํานักงานขาวกรองแหงชาติ สํานักงานอัยการสูงสุด เปนตน ซึ่งมี

มติรวมกันคือ ในเบื้องตนไทยควรลงนามเขาเปนภาคีสนธิสัญญาฯ เนื่องจากสารัตถของ

สนธิสัญญาฯ ไมขัดกับกฎหมายภายในและผลประโยชนแหงชาติไทยรวมถึงเปนการ

สงเสริมภาพลักษณที่ดีของไทยในการสมัครเขาเปนสมาชิกไมถาวรของคณะมนตรี

ความมั่นคงแหงสหประชาชาติในป 2560 โดยการเสนอเรื่องให คณะรัฐมนตรีพิจารณา

รับรองการลงนามสนธิส ัญญาฯ โดยยังไมต องใหส ัตยาบัน ควรมีการพิจารณา

ประเมินผลกระทบในรายละเอียดดานกฎหมาย การคา ความมั ่นคง และการ

ตางประเทศ เพื่อเสนอรัฐสภาพิจารณาตอไป

3.1.4 การลงนามในสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธของประเทศไทย เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2557 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและอนุมัติ

ตามที่สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติเสนอ คือนุมัติใหประเทศไทยเขารวมเปนภาคี

สนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ (The Arms Trade Treaty : ATT) โดยมอบหมายให

Page 139: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

115

กระทรวงการตางประเทศพิจารณาแตงตั้งผูมีอํานาจเต็ม (Full Power) ในการลงนามเขา

รวมเปนภาคีสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ

เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 นายนรชิต สิงหเสนี เอกอัครราชทูตผูแทน

ถาวรไทยประจําสหประชาชาติ ณ นครนิวยอรค ไดลงนามในสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ

ณ สํานักงานใหญ สหประชาชาติ นครนิวยอรค สงผลใหประเทศไทยมีสถานะเปนผู

ลงนาม (Sigatory State) ลําดับที่ 123 ของสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธซึ่งจนถึง

ปจจุบันมีประเทศสมาชิกสหประชาชาติใหสัตยาบันแลว 55 ประเทศ โดยสนธิสัญญาวา

ดวยการคาอาวุธมีผลบังคับใชแลวตั้งแตวันที่ 24 ธันวาคม 2557 ที่ผานมา

3.1.5 สาระสําคัญของสนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ สนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธ เปนขอกําหนดระหวางประเทศในการ

กําหนดมาตรฐานที่มีผลผูกพันทางกฎหมายในการควบคุมการนําเขา สงออก และการ

สงผาน/ถายลํา อาวุธตามแบบทั้ง 8 ประเภท ประกอบดวย

1) รถถังตอสู

2) ยานพาหนะตอสูหุมเกราะ

3) ระบบปนใหญที่มีลํากลองหมุนขนาดใหญ

4) อากาศยานตอสู

5) เฮลิคอปเตอรจูโจม

6) เรือรบ

7) จรวดและฐานยิงจรวด

8) อาวุธขนาดเล็กและอาวุธเบา

รวมทั้งใหมีการประเมินและควบคุมการสงออกที่เกี่ยวกับกระสุน/

เครื่องกระสุน และชิ้นสวนอุปกรณที่เกี่ยวของ

การกําหนดใหหามการถายโอน (Tranfer) อาวุธทั่วไป หากวาการถายโอน

นั ้นเป นการละเม ิดมติของคณะมนตร ีความมั ่นคงตามหมวด 7 แหงกฎบ ัตร

สหประชาชาติ โดยเฉพาะดานมาตรการการคว่ําบาตรทางอาวุธหรือละเมิดพันธกรณี

ระหวางประเทศที่รัฐนั้นเปนภาคี หรือรัฐที่อนุญาตใหมีการถายโอนอาวุธรู วาอาวุธ

ดังกลาวจะถูกนําไปใชประกอบอาชญากรรมระหวางประเทศที่รายแรง เชน การฆา

Page 140: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

116

ลางเผาพันธุ การประกอบอาชญากรรมตอมนุษยชาติการละเมิดพันธกรณีอยาง

รายแรงตออนุส ัญญาเจนีวาทั ้ง 4 ฉบับ ค.ศ. 1949 และการโจมตีพลเรือนและ

อาชญากรรมสงคราม

การกําหนดใหม ีการประเมินความเสี ่ยงในการสงออกอาวุธ (Export

Assessment) ในกรณีที่การสงออกอาวุธไมขัดกับการประกอบอาชญากรรมระหวาง

ประเทศที่รายแรง เชน การฆาลางเผาพันธุ การประกอบอาชญากรรมตอมนุษยชาติ

การละเมิดพันธกรณีอยางรายแรงตออนุสัญญาเจนีวาทั้ง 4 ฉบับ ค.ศ. 1949 สนธิสัญญา

วาดวยการคาอาวุธ ไดกําหนดใหรัฐภาคีตองทําการประเมินความเสี่ยงในการสงออก

อาวุธทุกครั้งกอนที่จะมีการสงออกอาวุธวา การสงออกอาวุธนั้นจะเปนการสงเสริมหรือ

ทําลายสันติภาพระหวางประเทศ เพื่อปองกันไมใหอาวุธตกไปอยูในการครอบครอง

ของกลุมคนที่ใชอาวุธเพื่อทําลายชีวิตผูบริสุทธิ์

การกําหนดใหรัฐภาคีอาจใชมาตรการการใชสุดทาย (End use) และผูใช

สุดทาย (End user) ควบคุมการนําเขาอาวุธจากตางประเทศ ซึ่งมาตรการนี้มีไวเพื่อ

ปองกันมิใหมีการนําอาวุธเขามาในประเทศ รวมทั้งเปนการตรวจสอบเบื้องตนวาผู ใช

สุดทายเกี่ยวของกับการประกอบอาชญากรรมระหวางประเทศ หรืออาจลักลอบถาย

โอนอาวุธไปสูการครอบครองของผูกอการรายหรือองคกรอาชญากรรม

การควบคุมการผานแดน (Transit) และถายลํา (Transshipment) ใน

สนธิสัญญาวาด วยการค าอาว ุธ ม ิได ให คําจําก ัดความว า Transit และ

Transshipment หมายถึงอะไร แตโดยปกติการผานแดน (Transit) คือการสงสินคา

จากประเทศผูสงออก โดยผานพรมแดนของประเทศที่สามไปยังประเทศผูนําเขา โดย

ไมมีการถายสินคาในประเทศที่สามแตอยางใด ขณะที่การถายลํา (Transshipment)

หมายถึง การสงสินคาจากประเทศผูสงออก ผานพรมแดนของประเทศที ่สามไปยัง

ประเทศผูนําเขา โดยมีการถายสินคาในประเทศที่สามในเขตปลอดภาษีหรือถายลําไป

ยังพาหนะลําเลียงอื่น แตไมมีการผานพิธีการศุลกากรของประเทศที่สาม

การจัดหามาตรการที่เหมาะสมตามกฎหมายภายในเพื่อควบคุมนายหนาคา

อาวุธที ่เกิดขึ ้นภายในเขตอํานาจของตนของรัฐภาคี มาตรการนี ้อาจรวมถึงการ

Page 141: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

117

กําหนดใหมีการขึ ้นทะเบียนนายหนาคาอาวุธ หรือการขอใบรับรองอนุญาตเปนลาย

ลักษณอักษรกอนที่จะประกอบกิจการเปนนายหนา

การจัดหามาตรการเพื่อควบค ุม และป อ งก ันม ิให ม ีความเบี ่ยง เบน

วัตถุประสงคในการเคลื่อนยายอาวุธ โดยมีมาตรการที่สําคัญไดแก การสรางความ

มั่นใจ (Confidence – building measures) มาตรการพัฒนารวมกันระหวาง

ประเทศผูสงออกและประเทศผูนําเขาอาวุธ และมาตรการอื่นๆ ที่จําเปนตอการสงออก

เชน ใบรับรอง (Certification) เอกสารประกันภัย (Assurance) หรือเอกสารอื่นๆที่

เกี่ยวของและหากไมมีเอกสารดังกลาวก็จะไมอนุญาตใหมีการสงออก

การกําหนดใหรัฐภาคีต องดําเนินการตรากฎหมายและกฎระเบียบที่

เกี ่ยวกับการจัดทําประวัติในการออกใบอนุญาตสงออกอาวุธและการสงออก

อาวุธ (Record keeping) รวมทั้งการจัดทําประวัติวาประเทศของตนเปนประเทศ

ปลายทางสุดทาย (Final destination) หรืออาวุธวาไดมีการผานแดนหรือถายลําใน

อาณาเขตของรัฐภาคีนั้นดวย โดยตองเก็บประวัติดังกลาวเปนระยะเวลาอยางต่ํา 10 ป

การรายงานตอฝายเลขาธิการ โดยเนื้อหาของรายงานจะกลาวถึงกฎหมาย

ภายใน บัญชีการควบคุม ระเบียบ และมาตรการอื่นๆ ที่เกี่ยวของ รัฐภาคียังมีหนาที่

รายงานใหเลขาธิการทราบถึงมาตรการใหมๆ ที่จะออกมาเพื่ออนุวัติการใหเปนไปตาม

สนธิสัญญาวาดวยการคาอาวุธดวย

การออกพระราชบัญญัติเพื่อใหเปนไปตามหนังสือสัญญา ตามมาตรา 23 วรรค

สอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557

3.1.6 การดําเนินการของไทย ไทยสนับสนุนความพยายามระหวางประเทศในการปองกันและปราบปราม

การคาอาวุธขนาดเล็กและอาวุธเบาอยางผิดกฎหมายภายใตกรอบการดําเนินการ UN

PoA และไดสนับสนุนใหมีการสงเสริมความรวมมือในระดับภูมิภาคภายใตเงื่อนไขของ

กฎหมายและศักยภาพของไทย และไทยไดรายงานการดําเนินงาน (National

Report) ตอสหประชาชาติ โดยศูนยสันติภาพและการลดอาวุธแหงสหประชาชาติ

ประจําภูมิภาคเอเชียและแปซิฟก (UN Regional Centre for Peace and

Disamament in Asia and the Pacific : UNRCPD) รวมกับกระทรวงการตางประเทศ

Page 142: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

118

และสํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ ดวยการสนับสนุนจากรัฐบาลสาธารณรัฐ

เยอรมัน ไดจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการวาดวยการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ

สหประชาชาติวาดวยการปองกัน ปราบปราม และขจัดการคาอาวุธขนาดเล็กและขนาด

เบาอยางผิดกฎหมาย (UNRCPD Workshop on UN PoA implementation : Building

Capacity in small Arms and Light Weapons) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเสริมสราง

ศักยภาพของเจาหนาที่ผูเกี่ยวของกับงานควบคุมอาวุธขนาดเล็กและขนาดเบาใน

ประเทศไทย ใหสามารถดําเนินการตามแผนปฏิบัติการสหประชาชาติวาดวยการ

ปองกัน ปราบปราม และขจัดการคาอาวุธขนาดเล็กและขนาดเบาอยางผิดกฎหมาย ใน

ทุกรูปแบบ

3.2 กฎหมายอาวุธปนของประเทศสหรัฐอเมริกา (Gun Control 1986) ประเทศสหรัฐอเมริกา มีแนวทางการควบคุมอาวุธปนที่ไมเขมงวดมากนัก กฎหมาย

ของประเทศสหรัฐอเมริกา ไมสามารถจํากัดสิทธิเสรีภาพของประชาชนเกินกวาความจําเปน

ทั้งยังกําหนดการมีอาวุธของประชาชนวาเปนสิทธิขั้นพื้นฐานตามรัฐธรรมนูญ

รัฐธรรมนูญ บทแกไขที่ 2 สิทธิในกองอาสาสมัคร บัญญัติวา “กองทหาร

อาสาสมัครซึ่งมีการจัดระเบียบอยางดีเปนสิ่งจําเปนตอความมั่นคงของรัฐเสรีจะตัดสิทธิของ

ประชาชนที่จะมีและถืออาวุธมิได” บทแกไขนี้กําหนดขึ้นไวเพื่อปองกันการแทรกแซงของ

รัฐบาลกลางในกองทหารอาสาสมัครมิใชเปนการรับประกันวาพลเมืองแตละคนมีสิทธิที่จะมี

อาวุธไวในครอบครองหรือถืออาวุธ

ประวัติศาสตรการตอสูเพื่อปกปองสิทธิในที่ดินรวมถึงทรัพยสินและความ

ปลอดภัยในชีวิตร างกายยิ่ งทําใหการมีอาวุธปนเปนสิ่ งจํา เปนสําหรับสั งคม

สหรัฐอเมริกา การมีอาวุธปนเปนสิทธิพื้นฐานของบุคคลเพียงแตยอมใหรัฐเขามา

ควบคุมไดบางสวนเพื่อรักษาความสงบเรียบรอยและความปลอดภัยของสังคมสวนรวม

เทานั้น2

2 วิภาส จารุพงษ, “การบังคับใชพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไม

เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2549 : ศึกษาเพาะกรณีเกี่ยวกับอาวุธปน และเครื่องกระสุนปน

”, วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต, (คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง), 2547 หนา 98

Page 143: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

119

3.2.1 พระราชบัญญัติควบคุมอาวุธปน 19863

พระราชบัญญัติที่ 18 ตามประมวลกฎหมายของสหรัฐอเมริกา ถูก

บัญญัติขึ้นเพื่อการควบคุมการขนสงอาวุธระหวางประเทศ

พระราชบัญญัตินี้ถูกบัญญัติขึ้นโดยวุฒิสภา และสภาผูแทนราษฎรของ

สหรัฐอเมริกาวา พระราชบัญญัตินี้จะใชชื่อวา “พระราชบัญญัติควบคุมอาวุธปน 1986”

3.2.1.1 จุดประสงค

SEC.101 สภานิติบัญญัติของอเมริกาประกาศจุดมุงหมาย

ของพระราชบัญญัตินี้ คือ เพื่อสนับสนุนผูบังคับใชกฎหมายกลาง กฎหมายมลรัฐ และ

กฎหมายทองถิ่นในการตอสูกับอาชญากรรมและความรุนแรง พระราชบัญญัติมิไดมี

ประสงคที่จะเพิ่มภาระหรือขอจํากัดแกผูเคารพในการขอมี ครอบครอง หรือใชอาวุธในการลา

สัตว กีฬา ปองกันตัว หรือกิจกรรมอื่น ๆที่ถูกกฎหมาย พระราชบัญญัตินี้มิไดมีเจตนาที่จะกีด

กันการเปนเจาของหรือใชอาวุธอยางถูกกฎหมายหรือเปนสวนหนึ่งของขอบังคับใน

พระราชบัญญัตินี้ 4

3.2.1.2 การขออนุญาตมาตรา 923

(a) ไมมีบุคคลใดจะมีสวนเกี่ยวของกับธุรกิจนําเขา ผลิต หรือ

จัดจําหนายอาวุธปน หรือนําเขา ผลิตหรือจัดจําหนายกระสุน จนกวาจะไดคาสมัครและ

ไดรับใบอนุญาตจากคณะรัฐมนตรีใหกระทําการดังกลาวได

ใบสมัครจะเปนไปตามรูปแบบและประกอบดวยขอมูลที่

จําเปนสําหรับการพิจารณาความเหมาะสมที่จะไดรับใบอนุญาตตามที่คณะรัฐมนตรี

ระบุไวเทานั้น รวมทั้งมีรูปถายและลายพิมพนิ้วมือของผูสมัครดวย ผูสมัครแตละคน

ตองเสียคาธรรมเนียมในการรับใบอนุญาต และตองเสียคาธรรมเนียมที่แยกออกมาอีก

สวนหนึ่งสําหรับแตละธุรกิจที่ผูสมัครทําอยู ดังนี้

(1) ถาผูสมัครเปนผูผลิต

3 The Gun Control Act of 1968, Public Law 90-618. 4 รอยตํารวจเอกหญิง สวนิต สตงคุณห “ปญหาและแนวทางการปรับปรุงกฎหมายวาดวยอาวุธปน

: ศึกษาในเชิงกฎหมายเปรียบเทียบ ”, วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต, (คณะนิติศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย), 2544 หนา 100

Page 144: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

120

(A) สิ่งประดิษฐเพื่อการทําลาย กระสุนสําหรับสิ่งประดิษฐ

เพื่อการทําลาย หรือกระสุนเจาะเกราะ คิดคาธรรมเนียม $ 1,000 ตอป

(B) อาวุธปนอื่นๆ นอกจากสิ่งประดิษฐเพื่อการทําลาย

คาธรรมเนียม $ 50 ตอป

(C) กระสุนสําหรับอาวุธปนที่ไมใชกระสุนสําหรับ

สิ่งประดิษฐเพื่อการทําลาย หรือกระสุนเจาะเกราะ คิดคาธรรมเนียม $ 10 ตอป

(2) ถาผูสมัครเปนผูทํา

(A) สิ่งประดิษฐเพื่อการทําลาย กระสุนสําหรับสิ่งประดิษฐ

เพื่อการทําลาย หรือกระสุนเจาะเกราะ คิดคาธรรมเนียม $ 1,000 ตอป

(B) อาวุธปนอื่นๆนอกจาก ... คาธรรมเนียม $ 50 ตอป

(3) ถาผูสมัครเปนตัวแทนจําหนาย

(A) สิ ่งประดิษฐเพื ่อการทําลาย หรือกระสุนสําหรับ

สิ่งประดิษฐเพื่อการทําลาย หรือกระสุนเจาะเกราะ คิดคาธรรมเนียม $ 1,000 ตอป

(B) ที่ไมใชผูแทนจําหนายสิ่งประดิษฐเพื่อการทําลาย คิด

คาธรรมเนียม $ 200 ตอ 3 ป ยกเวน การตออายุใบอนุญาต คิดคาธรรมเนียม $ 90 ตอ 3 ป

(b) บุคคลใดๆ ที่ตองการเปนนักสะสมที่ไดรับการอนุญาต

ตองสมัครขอใบอนุญาตนั้น จากคณะรัฐมนตรี

ใบสมัครจะเปนไปตามรูปแบบและประกอบดวยขอมูลที่

จําเปนสําหรับการพิจารณาความเหมาะสมที่จะไดรับใบอนุญาตตามที่ระบุในขอกําหนด

คาธรรมเนียมสําหรับใบอนุญาตดังกลาวคือ $ 10 ตอป ใบอนุญาตภายใตอนุมาตรานี้

จะใชกับธุรกรรมที่เกี่ยวกับของหายากหรือโบราณวัตถุ

(c) นอ ก เหนือ จากก ารยื่ น ใบ สมัครที่ ถู กต อ งแ ละ เสี ย

คาธรรมเนียมตามที่ระบุไวแลว คณะรัฐมนตรีควรมอบใบอนุญาตที่ใหสิทธิผูรับอนุญาต

หรือระหวางประเทศได ในชวงเวลาที่กําหนดในใบอนุญาตดวย

3.2.1.3 การขออนุญาต มาตรา 923 (d)

(d) (1) ใบสมัครที่สงภายใต (a) หรือ (b) ของ section นี้จะ

ไดรับการอนุมัติ ถา

Page 145: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

121

(A) ผูสมัครมีอายุ 21 ป หรือมากกวา

(B) ผูสมัคร (รวมทั้งกรณีของนิติบุคคล หางหุนสวน สมาคม

หรือบุคคลที่มีอํานาจทั้งทางตรงและทางออมในการควบคุมหรือทําใหเกิดการบริหารและ

นโยบายของนิติบุคคล หางหุนสวนหรือสมาคม) ไมถูกหามไมใหสง ขน หรือรับอาวุธปน

หรือกระสุน ระหวางรัฐหรือระหวางประเทศภายใตมาตราที่ 922 (g) และ (n) ของบทนี้

(C) ผูสมัครไมเคยเจตนาฝาฝนขอบังคับใดๆ ของบทนี้

หรือกฎที่ถูกประกาศ

(D) ผูสมัครไมเคยเจตนาปกปดขอมูลของวัตถุใดๆ ที่ถูก

รองขอ หรือไมเคยใหขอมูลเกี่ยวกับวัตถุที่เปนเท็จในการรับสมัคร

(E) ในรัฐนั้น ผูสมัครมี

(i) สถานประกอบการเพื่อทําธุรกิจที่ไดรับอนุญาต

ภายใตบทนี้ หรือจากธุรกิจที่ผูสมัครตั้งใจจะทําภายในชวงเวลาที่สมเหตุสมผล

(ii) ในกรณีของนักสะสม สถานที่เพื่อดําเนินการสะสม

ที่ไดรับอนุญาต หรือการสะสมที่ตั้งใจจะทําภายในชวงเวลาที่สมเหตุสมผล

(F) ผูสมัครรับรองวา

(i) ธุรกิจท่ีทําภายใตใบอนุญาตนั้นไมถูกหามโดย

กฎหมายของรัฐหรือทองถิ่นที่กิจการที่ไดรับอนุญาตนั้นตั้งอยู

(l) ภายใน 30 วัน หลังจากการสมัครไดรับอนุมัติ

ธุรกิจนั้นตองทําตามขอเรียกรองของกฎหมายรัฐและกฎหมายทองถิ่นในเรื่องการดําเนินธุรกิจ

(ll) ธุรกิจนั้นจะยังไมสามารถดําเนินการภายใตการ

อนุญาตจนกวาขอเรียกรองของกฎหมายรัฐ และกฎหมายทองถิ่นจะถูกปฏิบัติตาม

(iii) ผูสมัครไดสงแบบฟอรมที่กําหนดโดย

คณะรัฐมนตรีใหแกเจาหนาที่ผู บังคับใชกฎหมายของทองถิ่นที่กิจการนั้นตั้งอยูวา

ผูสมัครมีความตั้งใจจะสมัครขอใบอนุญาตเกี่ยวกับอาวุธปนของสวนกลาง

(2) คณะรัฐมนตรีตองอนุมัติหรือปฏิ เสธการสมัครเพื่อขอ

ใบอนุญาตภายใน 60 วันนับแตวันที่ไดรับสมัคร ถาไมปฏิบัติในชวงเวลานั้น ผูสมัครอาจ

Page 146: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

122

ดําเนินการตามมาตรา 1361 ของ title 28 เพื่อบังคับใหคณะรัฐมนตรีดําเนินการ หาก

คณะรัฐมนตรีอนุมัติผูสมัครจะไดรับใบอนุญาตเมื่อมีการจายคาธรรมเนียมตามที่ระบุ

3.2.1.4 ผูมีอํานาจในการอนุญาต มาตรา 923 (a)

(a) ไมมีบุคคลใดจะมีสวนเกี่ยวของกับธุรกิจนําเขา ผลิต หรือ

จัดจําหนายอาวุธปน หรือนําเขา ผลิต และจัดจําหนายกระสุน จนกวาจะไดสมัครและ

ไดรับอนุญาตจากคณะรัฐมนตรีใหกระทําการดังกลาวได

3.2.1.5 การเพิกถอนในอนุญาต มาตรา 923 (e)

(e) คณะรัฐมนตรีอาจเพิกถอนใบอนุญาตที่ออกใหภายใต

มาตรานี้ หากทราบหรือมีโอกาสไดยินวาผูถือใบอนุญาตนั้นมีเจตนาจะฝาฝนขอกําหนด

ใด ๆในบทนี้หรือกฎเกณฑที่คณะรัฐมนตรีระบุไวในบทนี้

3.2.1.6 บุคคลตองหามในการอนุญาต มาตรา 922 (d)

(d) กิจกรรมตอไปนี้ถือวาผิดกฎหมายสําหรับบุคคลใดๆ ที่

ขายหรือยกอาวุธหรือกระสุนใหแกบุคคลที่

(1) ถูกลงโทษใหจําคุกเกิน 1 ป

(2) หลบหนีคดี

(3) เปนผูใชอยางผิดกฎหมายหรือติดสารควบคุม (ตาม

ความหมายใน Section 102 ของพระราชบัญญัติสารควบคุม (21 u.s.c. 202))

(4) ถูกวินิจฉัยวาผิดปกติทางจิตหรือเคยไดเขารับการ

รักษาในสถาบันทางจิตเวช

(5) เขามายังสหรัฐอเมริกาอยางผิดกฎหมาย

(6) ถูกปลดออกจากกองทัพภายใตเงื่อนไขขาดศีลธรรม

(7) เคยเปนประชากรของสหรัฐอเมริกาวาถูกประกาศตัดสิทธิ

(8) ถูกศาลสั่งไมใหเขาใกลหรือขมขูคูครองและลูกๆ ได

ยกเวนคําสั่งศาลที่

(A) มีคําสั่งออกมาหลังการประกาศของศาล

(B) (i) รวมถึงการพบวาบุคคลนั้นแสดงอาการเปน

อันตรายแกคูครองและลูกของตนหรือ

Page 147: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

123

(ii) การหามใชกําลังตอคูครองหรือลูกของตน

3.2.1.7 ขอหามบุคคลกระทําผิดกฎหมาย มาตรา 922

(a) การกระทําตอไปนี้ถือวาผิดกฎหมาย

(1) สําหรับบุคคลทั่วไป

(A) ยกเวนผูนําเขา ผูผลิต หรือตัวแทนจําหนายที่ไดรับ

อนุญาตที่เกี่ยวของกับธุรกิจนําเขา ผลิต ติดตอคาขายอาวุธ หรือธุรกิจการขนสงอาวุธ

ระหวางรัฐ หรือระหวางประเทศ

(B) ยกเวนผูนําเขาหรือผูผลิตไดรับอนุญาตทําธุรกิจ

เกี่ยวกับการนําเขาหรือผลิตกระสุนและธุรกิจขนสงกระสุนระหวางรัฐหรือระหวาง

ประเทศ

(2) สําหรับผูนําเขา ผูผลิต หรือตัวแทนจําหนาย หรือนกั

สะสมที่ไดรับอนุญาตในการสงอาวุธใหผูอื่นนอกจากผูนําเขา ผูผลิต ผูแทนจําหนาย

และนักสะสมที่ไดรับอนุญาต ยกเวน

(A) การคืนหรือจัดหาแทนอาวุธชนิดเดียวกันใหแกผูที่

สงมาให และการสงอาวุธตามคําขอภายใตกฎหมายกลาง กฎหมายของรัฐ และ

กฎหมายทองถิ่นไปใหผูนําเขา ผูผลิตตัวแทนจําหนายและนักสะสมที่ไดรับอนุญาต

(B) การขนสงอาวุธทางไปรษณียไปยงัผูมีสทิธิรับปนพก

หรืออาวุธขนาดเล็กที่ซุกซอนไดเพื่อการปฏิบัติหนาที่

(C) ยอหนานี้จะถูกแปลความหมายเหมือนกันในโคลัมเบีย

เปอโตริโก และทุกรัฐของสหรัฐอเมริกา

(3) สําหรับบุคคลที่ไมใชผูนําเขา ผูผลิต ผูแทนจําหนาย

หรือนักสะสมที่ไดรับอนุญาตในการพกพาอาวุธ ที่ซื้อหรือไดรับจากบุคคลตางรัฐภายใน

รัฐที่อยูอาศัย (รัฐที่ตั้งขององคกรธุรกิจ) ยกเวน (A) ผูมีสิทธิรับอาวุธตามพินัยกรรม

อยางถูกตองตามกฎหมายหรือมรดกที่ไมมีพินัยกรรมในรัฐที่ไมใชรัฐที่อยูอาศัย หากผู

นั้นมีสิทธิซื้อหรือครอบครองอาวุธอยางถูกกฎหมายในรัฐนั้น (B) การรับ-สงอาวุธภายใต

อนุมาตรา (b) (3) (c) การสงอาวุธที่รองขอโดยผูนําของรัฐภายในวันที่กําหนด

Page 148: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

124

(4) สําหรับบุคคลที่ไมใชผูนําเขา ผูผลิต ผูแทนจําหนาย

หรือนักสะสมที่ไดรับอนุญาตในการพกพาสิ่งประดิษฐเพื่อการทําลาย ปนกล (ตาม

ความหมายใน Section 5845 ของประมวลสรรพากร 1954) ปนสั้น ปนไรเฟล ยกเวน

ไดรับการอนุญาต

(5) สําหรับบุคคล (ยกเวนผูนําเขา ผูผลิต ผูแทน

จําหนาย หรือนักสะสมที่ไดรับอนุญาต) ในการเคลื่อนยาย ขายแลกเปลี่ยน มอบให

ขนสง หรือนําอาวุธใหกับผูอื่น (ยกเวนผูนําเขา ผูผลิต ผูแทนจําหนาย) ที่ผูนําสงรูหรือมี

เหตุผลใหเชื่อวาไมไดอาศัย (หรือมีที่ตั้งองคกร) ในรัฐเดียวกับผูนําสง ยกเวน (A) การยาย

ขนสง หรือนําสงอาวุธที่นําเขาเพื่อเปนมรดกใหกับผูมีสิทธิครอบครองอาวุธภายใต

กฎหมายของรัฐที่ผูนั้นอาศัย (B) การยืมหรือเชาอาวุธของผูที่ใชเพื่อการพกพาชั่วคราว

(6) สําหรับบุคคลที่ปลอมแปลงเอกสารเพื่อใหไดมา

ซึ่งอาวุธหรือกระสุนจากผูนําเขา ผูผลิต ผูแทนจําหนาย หรือนักสะสมที่ไดรับอนุญาต

(7) สําหรับบุคคลที่ผลิตหรือนําเขากระสุนสําหรับอาวุธ

ยกเวน

(A) การผลิตหรือการนําเขากระสุนเพื่อกิจการของ

หนวยงานราชการ

(B) การผลิตเพื่อสงออก

(C) การผลิตหรือนําเขาเพื่อการทดลองตามคําสั่ง

(อนุญาต) ของรัฐมนตรี

(8) สําหรับผูผลิตหรือนําเขาในการขายหรือสงมอบ

กระสุนสําหรับอาวุธ ยกเวน

(A) การขายหรือสงโดยผูผลิตหรือผูนําเขาเพื่อกิจการ

ของหนวยงานราชการ

(B) การขายหรือสงเปนสินคาสงออก

(C) การขายหรือสงเพื่อใชในการทดลอง

Page 149: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

125

(9) สําหรับบุคคลที่ ไมใชผูนําเขา ผูผลิต ผูแทน

จําหนาย หรือนักสะสมที่ไดรับอนุญาต และไมไดอาศัยอยูในสหรัฐอเมริกา ในการรับ

อาวุธนอกจากจะนํามาใชเพื่อจุดประสงคทางกีฬาที่ถูกกฎหมาย

3.2.1.8 ขอหามการขายอาวุธ มาตรา 922 (b)

(b) กิจกรรมตอไปนี้ถือวาผิดกฎหมายสําหรับผูนําเขา

ผูผลิต ผูแทนจําหนาย หรือนักสะสมที่ไดรับอนุญาต ในการขายหรือสง

(1) อาวุธหรือกระสุนใหแกบุคคลที่ผูไดรับอนุญาตรูหรือมี

เหตุผลที่จะเชื่อไดวาอายุต่ํากวา 18 ป และอาวุธหรือกระสุนปน ยกเวนปนสั้น และปนไรเฟล

ใหแกบุคคลอายุต่ํากวา 21 ป

(2) อาวุธใด ๆใหกับบุคคลในรัฐใดก็ตามที่การซอนหรือ

ครอบครองของบุคคลนั้นจะกอใหเกิดความรุนแรงหรือฝาฝนกฎหมายของรัฐใดรัฐหน่ึง หรือ

กฤษฎีกาที่ถูกตองพิมพ ณ สถานที่ขาย สง หรือสถานที่ตั้งอื่นๆ

(3) อาวุธแกบุคคล (หรือองคกรธุรกิจ) ที่ไมไดอาศัยอยู

ในรัฐที่ผูไดรับอนุญาตมีสํานักงานตั้งอยูยกเวน (A) การขายหรือสงอาวุธใหบุคคลนอก

รัฐของผูไดรับอนุญาตที่ผูรับและผูสงมาพบกันดวยตนเองและการขาย การสงและการ

รับถูกทําใหเสร็จสิ้นภายใตกฎหมายของทั้ง 2 รัฐ (B) การใหยืมหรือใหเชาอาวุธแก

บุคคลที่ใชอาวุธนั้นเพื่อการกีฬาเปนการชั่วคราว

(4) สิ่งประดิษฐเพื่อการทําลาย ปนกล (ตามความหมายใน

Section 5845) ของประมวลสรรพากร 1945), ปนสั้น, ปนไรเฟล ใหแกบุคคลใด ยกเวนไดรับ

อนุญาต

(5) อาวุธหรือกระสุนใดๆ ยกเวนวาผูไดรับอนุญาตจะมี

การบันทึกชื่อ อายุ ที่อยูบุคคลนั้น หรือหลักฐานและสถานที่ตั้งขององคกรธุรกิจนั้นๆ

ตามอนุมาตรา (1) - (4) นี้ไมรวมถึงธุรกรรมระหวางผูนําเขา

ผูผลิต ผูแทนจําหนาย หรือนักสะสมที่ไดรับอนุญาต

(c) ในกรณีที่ไมไดหามไวในบทนี้ ผูนําเขา ผูผลิต หรือผูแทน

จําหนายที่ไดรับอนุญาตอาจขายอาวุธใหกับบุคคลที่ไมไดมาปรากฏยังสถานที่ประกอบ

ธุรกิจได ถา

Page 150: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

126

(1) ผูรับของสงหลักฐาน (เอกสารรับรอง) ในลักษณะ

ตอไปนี้มายังผูสง

“ภายใตบทลงโทษทางกฎหมาย ขาพเจาสาบานวา กรณี

ของอาวุธยกเวนปนสั้นและปนไรเฟล ขาพเจาอายุ 21 ป หรือมากกวา หรือกรณีปน

สั้นหรือปนไรเฟล ขาพเจาอายุ 18 ป หรือมากกวา และไมถูกหาม ใหรับอาวุธระหวางรัฐ

หรือระหวางประเทศ การรับอาวุธของขาพเจาจะไมฝาฝนกฎใดๆ ในที่ที่ขาพเจาอาศัย ...”

(2) กอนการสง ผู ส งตองยื ่นสําเนาหลักฐานขางตน

พรอมรายละเอียดของอาวุธไปยังเจาหนาที่กฎหมายของรัฐที่ผูรับอาศัยและไดรับหลักฐาน

ใหสงหรือปฏิเสธสงกลับมา

(3) ผูสง สงของชาไปอยางนอย 7 วัน หลังไดรับหลักฐาน

อนุมัติการสงหรือปฏิเสธการสงเอกสารรับรองและสําเนาใบอนุญาตจากเจาหนาที่

กฎหมายรวมถึงหลักฐานการรับหรือไมรับอาวุธจะตองเก็บไวเปนบันทึกสวนหนึ่งที่ผู

ไดรับอนุญาต

(d) กิจกรรมตอไปนี้ถือวาผิดกฎหมายสําหรับบุคคลใดๆ ที่

ขายหรือยกอาวุธหรือกระสุนใหแกบุคคลที่

(1) ถูกลงโทษใหจําคุกเกิน 1 ป

(2) หลบหนีคดี

(3) เปนผูใชอยางผิดกฎหมายหรือติดสารควบคุม (ตาม

ความหมายใน Section 102 ของพระราชบัญญัติสารควบคุม ( 21 u.s.c 202 ))

(4) ถูกวินิจฉัยวาผดิปกติทางจิตหรือเคยเขารับการรักษาใน

สถาบันทางจิตเวช

(5) เขามายังสหรัฐอเมริกาอยางผิดกฎหมาย

(6) ถูกปลดออกจากกองทัพภายใตเงื่อนไขขาดศีลธรรม

(7) เคยเปนประชากรของสหรัฐอเมรกิาวาถูกประกาศตัด

สิทธิ

(8) ถูกศาลสั่งไมใหเขาใกลหรือขมขูคูครองและลูกๆ ได

ยกเวนคําสั่งศาลที่

Page 151: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

127

(C) มีคําสั่งออกมาหลังการประกาศของศาล

(D) (i) รวมถึงการพบวาบุคคลนั้นแสดงอาการเปนอันตราย

แกคูครองและลูกของตนหรือ

(ii) การหามใชกําลังตอคูครองหรือลูกของตน

3.2.1.9 บุคคลทั่วไปกระทําผิดกฎหมาย มาตรา 922

(h) กิจกรรมตอไปนี้ถือวาเปนการผิดกฎหมายสําหรับผูที่

จางบุคคลใน section (g) ในการ

(1) รับครอบครองพกพาอาวุธ

(2) รับอาวุธหรือกระสุนที่ถูกสงขามรัฐหรือประเทศมา

(i) บุคคลทั่วไปที่พกพาอาวุธหรือกระสุนที่ขโมยมา

ถือวาผิดกฎหมาย

(j) บุคคลที่รับ ครอบครอง ปกปด เก็บ แลกเปลี่ยน

ขาย หรือยกให อาวุธหรือกระสุนที่ขโมยมา หรือนําไปจํานําหรือรับไวเปนหลักประกัน

ไมวาจะกอนหรือหลังถูกขโมยถือวาผิดกฎหมาย

(k) ถือวาเปนการผิดกฎหมายสําหรับบุคคลที่พกพา

อาวุธที่ไมมีหมายเลขสินคาของผูนําเขา หรือผูผลิต หรือถูกดึงออก

3.2.1.10 ขอยกเวนที่ไมเปนความผิด มาตรา 925

(a)

(1) ขอกําหนดในบทนี้ ยกเวนขอกําหนดเกี่ยวกับอาวุธปนที่อยู

ในขอหามของมาตรา 922 (p) จะไมประยุกตใชกับการขนสง การขนลงเรือ การรับ การ

ครอบครอง หรือการนําเขาอาวุธปนหรือกระสุนใด ๆซ่ึงเปนการนําเขาสําหรับ ขายหรือสงให

หรือสงไปใชโดยหนวยงานหรือเจาหนาที่ของสหรัฐอเมริกา หรือหนวยงานทางการเมือง

เจาหนาที่ หรือหนวยงานใด ๆของรัฐ

(2) ขอกําหนดในบทนี้ไมประยุกตใชกับ

(A) การขนสงหรือการรับอาวุธปนหรือกระสุนที่ขายหรือสง

โดย รัฐมนตรีกระทรวงกลาโหมตามมาตรา 4308 ของ title 10

Page 152: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

128

(B) การขนสงอาวุธหรือกระสุนไปใหบุคคลที่มีสิทธิตามกฎหมาย

ที่จะรับอาวุธปน หรือกระสุนจากผูบัญชาการกองทัพเพื่อใชในการฝกการตอสูทางทหาร

(3) นอกเหนือจากที่บทน้ีหรือกฎหมายกลางใดๆหามไวผู

นําเขา ผูผลิต หรือผูแทนจําหนายที่ไดรับอนุญาตอาจสงอาวุธปนหรือกระสุนปนไป

ใหสมาชิกของกองทัพที่กําลังปฏิบัติหนาที่นอกสหรัฐอเมรกิาหรือใหสโมสรที่ไดรับ

อนุญาตจากกระทรวงกลาโหมที่สมาชิกที่รัฐมนตรีกระทรวงการคลังอนุญาตใหรับอาวุธ

ปนเพื่อใชในการกีฬาและใชเปนการสวนตัวของสมาชิกหรือสโมสร

(4) เพื่อสอดคลองกับขอกําหนดบทนี้ กฎหมายกลาง

กฎหมายรัฐ และคําสั่งที่ประกาศออกไปอื่น ๆคณะรัฐมนตรี อาจใหอํานาจในการขนสง การ

รับหรือการนําเขาอาวุธปนหรือกระสุนใดๆ เขามาในสหรัฐอเมริกา ไปยังที่พักอาศัยของ

สมาชิกกองทัพที่กําลังปฏิบัติหนาที่อยูนอกสหรัฐอเมริกา(หรือผูเคยปฏิบัติหนาที่นอก

สหรัฐอเมริกา ภายใน 60 วันกอนการสง รับ นําเขา) โดยที่อาวุธปนหรือกระสุนนั้น

(A) ไดพิจารณาโดยคณะรัฐมนตรี วามีวัตถุประสงคเพื่อ

การกีฬา หรือถูกพิจารณาโดยกระทรวงกลาโหมวาเปนของที่ระลึกจากสงคราม และ

(B) จงใจใชเปนการสวนตัวโดยสมาชิกน้ัน

( 5 ) สํ า ห รั บ ( 3 ) แ ล ะ ( 4 ) ข อ ง อ นุ ม า ต ร า นี้ คํ า ว า

สหรัฐอเมริกา (United States) หมายถึงรัฐแตละหลายๆ รัฐ และเขตโคลัมเบีย

3.2.1.11 บทลงโทษ มาตรา 924

(1) นอกเหนือจากที่ระบุในอนุมาตรานี้ อนุมาตรา (a) ,(c) หรอื

(f) ของมาตรานี้ หรือในมาตราที่ 929 ใครก็ตาม

(A) จงใจปลอมเอกสารหรือแสดงขอมูลที่บทนี้กําหนดใหเก็บใน

บันทึกของผูไดรับอนุญาตในบทนี้ ขอมูลที่ใชกับใบอนุญาต ขอยกเวน หรือการชวยเหลือ

ภายใตขอกําหนดของบทนี้ที่เปนเท็จ

(B) จงใจฝาฝนอนุมาตรา (a), (4), (f), (r), (v), หรือ (w) ของ

มาตรา 922

(C) จงใจนําเขา นํามายังสหรัฐอเมริกา หรือครอบครอง อาวุธ

ปนหรือกระสุนปนที่ฝาฝนมาตรา 922 (l) หรือ

Page 153: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

129

(D) จงใจฝาฝนขอกําหนดของบทนี้ จะถูกปรับภายใตหัวขอ

นี้ จําคุกไมเกิน 5 ป หรือทั้งจําทั้งปรับ

(2) ใครก็ตามที่จงใจฝาฝนอนุมาตรา (a), (6), (d), (g), (h),

(i), (j), หรือ (o) ของมาตรา 922 จะถูกปรับตามที่กําหนดในหัวขอนี้ ถูกจําคุกไมเกิน 10 ป หรือ

ทั้งจําทั้งปรับ

(3) ผูแทนจําหนาย ผูนําเขา ผูผลิต หรือนักสะสมที่ไดรับ

อนุญาตใดๆ ที่จงใจ

(A) จงใจปลอมเอกสารหรือแสดงขอมลูที่บทนี้กําหนดใหเก็บไว

ในบันทึกของผูที่ไดรับอนุญาตที่เปนเท็จ

(4) ฝาฝน อนุมาตรา (m) ของมาตรา 922 จะถูกปรับตามที่

กําหนดใน title นี้ จําคุกไมเกิน 1 ป หรือทั้งจําทั้งปรับ

(5) ใครก็ตามที่จงใจฝาฝนมาตรา 922 (g) จะถูกปรับตามที่

กําหนดใน title นี้ จําคุกไมเกิน 5 ป หรือทั้งจําทั้งปรับ อยางไรก็ตามระยะเวลาจําคุกที่

กําหนดภายใตยอหนานี้ การฝาฝนมาตรา 922 (g) ถือวาเปนการลงโทษสถานเบา

(6) ใครก็ตามที่จงใจฝาฝนอนุมาตรา (s) หรือ (t) ของมาตรา

922 จะถูกปรับตามที่กําหนดใน title นี้ จําคุกไมเกิน 1 ป หรือทั้งจําทั้งปรับ

(b) ใครก็ตามที่ตั้งใจกระทําความผิดที่มีบทลงโทษเกิน 1 ป

หรือรูหรือมีเหตุผลอันนาเชื่อถือวาจะถูกจําคุกเกิน 1 ป หากกอคดีนั้นทําการขนลงเรือ

ขนสง หรือรับอาวุธปนหรือกระสุนระหวางรัฐหรือระหวางประเทศจะถูกปรับตามที่

กําหนดใน title นี้ จําคุกไมเกิน 10 ป หรือทั้งจําทั้งปรับ

3.2.1.12 โทษการครอบครองอาวุธปนและอาวุธอันตรายในสถานที่

ราชการ มาตรา 930

(a) นอกเหนือจากที่ระบุในอนุมาตรา (d) บุคคลใดก็ตามที่

จงใจครอบครองหรือแสดงอาวุธหรืออาวุธอันตรายอื่น ๆ ในสถานที่ราชการ (ยกเวน

สถานที่ศาล) หรือมีความพยายามทําเชนนั้น จะถูกปรับตามที่หัวขอน้ีกําหนดหรือจําคุกไม

เกิน 1 ป หรือทั้งจําท้ังปรับ

Page 154: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

130

(b) บุคคลใดก็ตามจงใจหรือพยายามครอบครองหรือแสดง

อาวุธปนหรืออาวุธอันตรายในสถานที่ราชการโดยมีเวลาใชอาวุธนั้นกอคดีอาชญากรรม

จะถูกปรับตามที่ใน title นี้กําหนดหรือจําคุกไมเกิน 5 ป หรือทั้งจําทั้งปรับ

(c) บุคคลที่ฆาหรือพยายามฆาบุคคลใด ๆ ในการฝาฝน

อนุมาตรา (a) หรือ (b) หรือในการปะทะกันในสถานที่ราชการที่เกี่ยวของกับการใช

อาวุธปนหรืออาวุธอันตราย จะถูกลงโทษตามที่ระบุในมาตรา 1111, 1112 และ 1113

(d) อนุมาตรา (a) ไมรวมถึง

1) การปฏิบัติหนาที่ตามกฎหมายของเจาหนาที่ ตัวแทน

หรือลูกจางของประเทศของรัฐหรือหนวยงานทางการเมืองที่มีอํานาจตามกฎหมายใน

การเขารวมหรือควบคุมการปองกัน การตรวจสอบ การสืบสวน หรือการฟองรองการฝา

ฝนกฎหมายใดๆ

2) การครอบครองอาวุธปนหรืออาวุธอื่นๆ โดยเจาหนาที่

รัฐบาลหรือสมาชิกกองทัพ ถาการครอบครองนั้นไดรับอํานาจตามกฎหมาย

3) การถืออาวุธปนหรืออาวุธอันตรายอื่นๆ ในสถานที่

ราชการที่ถูกกฎหมายในกรณีการมีวัตถุประสงคอื่นที่ถูกกฎหมาย

(1) นอกเหนือจากที่ระบุใน (2) ใครก็ตามที่จงใจหรือ

พยายามครอบครองหรือแสดงอาวุธปนในศาลจะถูกปรับตามที่ title นี้กําหนด,จําคุกไม

เกิน 2 ป หรือทั้งจําทั้งปรับ

(2) ตาม (1) ไมใชกับสิ่งที่ระบุใน (1) หรือ (2) ของ

อนุมาตรา (c)

(f) มาตรานี้ไมจํากัดอํานาจศาลสหรัฐอเมริกาในการลงโทษ

หรือการประกาศกฎ ออกคําสั่ง ขอจํากัด หรือขอหามในการครอบครองอาวุธในศาล

หรือการดําเนินคดีตลอดจนบริเวณที่อยูในขอบขายของอาคารนั้น

3.3 กฎหมายอาวุธปนของประเทศสิงคโปร หลังจากการเปนประเทศในอาณานิคมของอังกฤษมาตั้งแตป ค.ศ. 1819 เมื่อ

สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง ชาวสิงคโปรจึงมีสวนรวมในการปกครอง แตอยางไรก็ดี

อังกฤษยังคงมอบหมายใหขาหลวงใหญของตนเปนผูปกครองสูงสุด รัฐธรรมนูญกําหนดใหมี

Page 155: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

131

ทั้งสภาบริหารและสภานิติบัญญัติที่สมาชิกสวนใหญไมใชคนอังกฤษและบางสวนมาจากการ

เลือกตั้ง แตชาวจีนสวนใหญก็ยังไมพอใจและคว่ําบาตรการเลือกตั้ง รัฐบาลอังกฤษจึง

ตองแตงตั้งคณะกรรมการขึ้นมาแกไขรัฐธรรมนูญขึ้นในป ค.ศ. 1955

ในชวง 10 ปกอนที่สิงคโปรจะประกาศตนเปนสาธารณรัฐนั้น สิงคโปรอยู

ภายใตการปกครองของรัฐบาล 3 ชุด คือ

1. รัฐบาลของนายเดวิด มารแชล (David Marshall) ตั้งแตป ค.ศ. 1955 – 1956

2. รัฐบาลของนายลิม ยิว ฮอค (Lim Yew Hock) ตั้งแตป ค.ศ. 1956 – 1959

และ

3. รัฐบาลของนายลี กวน ยู (Lee Kuan Yew) ที่ดํารงตําแหนง

นายกรัฐมนตรีคนแรกของสิงคโปร

ภายใตรัฐบาลนี้ สิงคโปรมีอํานาจในการปกครองตนเองอยางสมบูรณจาก

อังกฤษแลว ตอมาในวันที่ 16 กันยายน 1963 รัฐบาลชุดนี้ก็ไดตัดสินใจเขาไปรวมอยูใน

สหพันธรัฐมาเลเซีย

ภายหลังจากการประกาศเขารวมเปนสวนหนึ่งของสหพันธรัฐมาเลเซีย เกิด

เหตุการณจลาจลระหวางคนมาเลยกับคนสิงคโปรขึ้นในเดือนกรกฎาคม ป ค.ศ. 1964

นายลี กวน ยู นายกรัฐมนตรีของสิงคโปร จึงประกาศแยกตัวออกจากสหพันธรัฐ

มาเลเซีย เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1965 และกลายเปน "สาธารณรัฐสิงคโปร" ที่

ปกครองตนเองโดยสมบูรณ

สิงคโปรเปนหนึ่งในประเทศที่มีกฎหมายควบคุมอาวุธปนเขมงวดมาก

ประเทศหนึ่ งของโลก โดยกฎหมายที่ ใช ในการควบคุมอาวุธปนปจจุบันคื อ

“พระราชบัญญัติอาวุธปนและวัตถุระเบิด (Arms and Explosives Act)” การกระทําผิด

กฎหมายเกี่ยวกับอาวุธปนมีโทษถึงจําคุกและการโบย การใชหรือการพยายามที่จะใช

อาวุธปนในการกระทําความผิดที่กําหนดมีโทษถึงขั้นโทษประหารชีวิต รวมถึงผูสมรู

รวมคิดของผูกระทําความผิดที่อยูในที่เกิดเหตุขณะมีการกระทําผิดนั้นดวย

การมีไวในความครอบครองซึ่งอาวุธปนที่ผิดกฎหมายมากกวาสองกระบอก จะ

ไดรับการสันนิษฐานวาเปนการคาอาวุธปน จนกวาจะพิสูจนไดวาไมเปนความจริง

การคาอาวุธปนมีโทษถึงขั้นประหารชีวิตหรือจําคุกตลอดชีวิตและการโบยดวยหวาย

Page 156: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

132

การครอบครองอาวุธปนใด ๆ หรือนําเขาสงออก การผลิต การซอมหรือขาย

ผูกระทําตองมีใบอนุญาต เจาหนาที่ออกใบอนุญาตมีอํานาจในการปฏิเสธที่จะออก

ใบอนุญาตหรือที่จะระงับหรือยกเลิกใบอนุญาตโดยไมใหเหตุผลใดๆ

3.3.1 พระราชบัญญัติอาวุธปนและวัตถุระเบิด ค.ศ. 1916 (บทที่ 13) (Arms and Explosives Act (Chapter 13))5

พระราชบัญญัติอาวุธปนและวัตถุระเบิด (บทที่ 13) เปนกฎหมาย

เกี่ยวกับการควบคุมการผลิต การใช การขาย การเก็บรักษา การขนสง การนําเขา การ

สงออก และการครอบครอง ซึ่งอาวุธและวัตถุระเบิด บังคับใชเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2456

3.3.1.1 หลักเกณฑในการขอใบอนุญาต

1) กฎหมายกําหนดใหตองมีใบอนุญาตอาวุธปน อาวุธ

ระเบิด ฯลฯ

มาตรา 136

(1) หามผูใดเวนแตมีใบอนุญาตหรือไดรับอนุญาต ทั้งนี้

ตามเงื่อนไขท่ีกําหนดในใบอนุญาตหรือเงื่อไขที่ไดรับอนุญาต

(ก) ครอบครองซึ่งอาวุธปน อาวุธ ระเบิด วัตถุอันตราย

หรือกาซพิษ หรือสารอันตราย

(ข) นําเขาซึ่งอาวุธปน อาวุธ ระเบิด วัตถุอันตราย

หรือกาซพิษ หรือสารอันตราย

(ค) สงออกซึ่งอาวุธปน อาวุธ ระเบิด วัตถุอันตราย

หรือกาซพิษ หรือสารอันตราย หรือ

(ง) ผลิตอาวุธปน อาวุธ ระเบดิ วัตถอุันตราย หรอืกาซ

พิษ หรือสารอันตราย

(2) ผูใดที่ฝาฝนมาตรานี้

5 THE STATUTES OF THE REPUBLIC OF SINGAPORE, ARMS AND EXPLOSIVES ACT

(CHAPTER 13), หนา 16 เรื่องเดียวกัน หนา 16-18

Page 157: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

133

(ก) นําเขาซึ่งอาวุธปน อาวุธ ระเบดิ วัตถอุันตราย หรือ

กาซพิษ หรือสารอันตราย

(ข) สงออกซึ่งอาวุธปน อาวุธ ระเบิด วัตถุอันตราย หรือ

กาซพิษ หรือสารอันตราย หรือ

(ค) ผลิตอาวุธปน อาวุธ ระเบิด วตัถุอันตราย หรือกาซ

พิษ หรือสารอันตราย หรือ

มีความผิดตองระวางโทษปรับไมเกิน $ 10,000 และ

โทษจําคุกไมเกิน 3 ป

(3) ผูใดมีอาวุธปนไวในครอบครองโดยฝาฝนมาตรานี้ ตอง

ระวางโทษปรับไมเกิน 5,000 $ และจําคุกไมเกิน 3 ป

(4) ผูใดมีอาวุธใดๆ ระเบิด วัตถุอันตราย หรือกาซพิษ หรือสาร

อันตราย ไวในครอบครองโดยฝาฝนมาตรานี้ ตองระวางโทษปรับไมเกิน 5,000 $ และ

จําคุกไมเกิน 3 ป

(5) ผูใดกระทําผิดตาม (4) และมีเหตุผลสมควรที่ศาลเชื่อ

วาผูกระทําความผิดไดครอบครองอาวุธ ระเบิด วัตถุอันตราย หรือกาซพิษ หรือสารอันตราย

โดยมีวัตถุประสงคในการกระทําความผิดที่มีโทษตามประมวลกฎหมายอาญา ผูกระทํา

ความผิดจะตองถูกเพิ่มโทษ

(6) การครอบครองอาวุธไมรวมถึง ดาบปลายปน ดาบ

กริช หอก ซึ่งไดมีไวในบานเพื่อเก็บสะสมเปนของโบราณหรือเพื่อการประดับตกแตง

2) หามมิใหมีการซื้อปนหรืออาวุธจากผูขายที่ไดรับอนุญาต

โดยไมมีใบอนุญาต

มาตรา 167

(1) หามผูใดรับมอบอาวุธปน หรืออาวุธใดๆ จากผูขายที่

ไดรับอนุญาตโดยไมมีใบอนุญาตที่ใหอํานาจในการซื้อดังกลาวและไมเกินขอบเขตที่

ใบอนุญาตกําหนด

7 เรื่องเดียวกัน หนา 18

Page 158: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

134

(2) หามผูขายที่ไดรับอนุญาตสงมอบอาวุธปนใดๆ ใหกับผู

ที่ไมมีใบอนุญาตหรือเกินขอบเขตที่ใบอนุญาตกําหนด

(3) ผูใดกระทําการใดๆ ฝาฝนความในมาตรานี้ มคีวามผิด

ตองระวางโทษปรับไมเกิน 1,000 $

(4) ในสวนนี้จะไมนําไปใชกับ ดาบปลายปน ดาบ กริช

หอก ในซึ่งไดมีไวในบานเพื่อเก็บสะสมเปนของโบราณหรือเพื่อการประดับตกแตง

3) การสงมอบอาวุธโดยบุคคลอื่นที่ ไมใชผูขายที่ไดรับ

อนุญาต

มาตรา 178

(1) ผู ใดไม ใชผู ขายที่ ไดรับใบอนุญาต มีไว ในความ

ครอบครองซึ่งอาวุธปน อาวุธ หรือกระสุน ภายใตใบอนุญาต ตองสงมอบอาวุธปน

อาวุธ หรือกระสุน ใหกับเจาหนาที่ผูออกใบอนุญาต

(2) ผูที่ตองสงมอบอาวุธปน อาวุธ หรือกระสุน ตาม (1) ตองคืน

ใบอนุญาตแกเจาหนาที่ผูออกใบอนุญาตหรือเจาหนาที่อื่นๆ ที่ไดรับมอบหมาย โดยใหมี

หมายเหตุแสดงวันที่มีการสงมอบ ชื่อที่อยู และรายละเอียดของผูที่ไดสงมอบอาวุธปน

อาวุธ หรือกระสุน หรือขอมูลอื่นๆ ตามที่กฎหมายกําหนด

(3) ผูใดกระทําการใดๆ ฝาฝนความในมาตรานี้ มีความผิด

ตองระวางโทษปรับไมเกิน 1,000 $

4) บทบัญญัติในเรื่องการตายหรือลมละลาย ฯลฯ ของผูรับ

ใบอนุญาต

มาตรา 189

(1) ถาคนที่ไดรับอนุญาตใหนําเขาปนอาวุธหรือวัตถุระเบิด

ตาย หรือกลายเปนบุคคลลมละลาย หรือกลายเปนผูวิกลจริต หรือไมสามารถกระทํานิติ

8 เรื่องเดียวกัน หนา 18-199 เรื่องเดียวกัน หนา 19

Page 159: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

135

กรรมใดๆ ได ใหผูที่จะประกอบธุรกิจตอไปมาขอใบอนุญาตใหมโดยไมตองรับผิดในการ

กระทําใดๆ ในชวงที่ยังไมออกใบอนุญาตใหม

(2) ผูที่ดําเนินการในกิจการตอจากผูรับใบอนุญาตที่อางถึง

ใน (1) จะถือวาเปนผูถือใบอนุญาตสําหรับวัตถุประสงคตามพระราชบัญญัตินี้และ

จะตองรับผิดเสมือนเปนผูถือใบอนุญาตฉบับนั้นจนกวาจะออกใบอนุญาตใหม

5) การฝากอาวุธปน อาวุธ หรือวัตถุระเบิด ที่ไมชอบดวย

กฎหมาย

มาตรา 1910

(1) ผูใดครอบครองอาวุธปน อาวุธ หรือวัตถุระเบิด ที่ไมชอบ

ดวยกฎหมายอันเปนผลมาจากการหมดอายุ การระงับ หรือยกเลิกใบอนุญาต ตองฝาก

อาวุธปน อาวุธ หรือวัตถุระเบิด กับเจาหนาที่ผูมีอํานาจและในสถานที่ที่ระบุไวใน

ใบอนุญาตโดยไมชักชาหรือโดยการแจงใหทราบลวงหนาเปนลายลักษณอักษรตอ

เจาหนาที่ผูออกใบอนุญาต

(2) ถาเจาของอาวุธปน อาวุธ หรือวัตถุระเบิด ไมนํามาฝาก

ภายใน 6 เดือนนับจากวันท่ีใบอนุญาตหมดอายุ อาวุธปน อาวุธ หรือวัตถุระเบิด ตองถูก

ริบไปยังรัฐบาล

(3 ) ผู ไ ด ร ับ อ น ุญ า ต ใ ห ม ีอ า ว ุธ ป น ห ร ือ อ า ว ุธ ต า ม

พระราชบัญญัตินี้ที่มีความประสงคที่จะออกจากประเทศสิงคโปรเปนระยะเวลาใดๆ

เกินหนึ่งเดือน เวนแตตั้งใจที่จะสงออกอาวุธปนหรืออาวุธนั้น ตองนํามาผากไวกับ

เจาหนาที่ผูออกใบอนุญาตตามมาตรา 17 หรือนําไปฝากไวที่สถานีตํารวจ

(4) เจาหนาที่ผูออกใบอนุญาตอาจอนุญาตเปนลายลักษณ

อักษรใหเจาหนาที่ตํารวจ ในการคนหาบานใดๆ สําหรับอาวุธปนใด หรืออาวุธ หากมี

เหตุผลที่จะเชื่อวายังไมไดรับโอนหรือฝากตามที่กําหนดไว (3)

6) การริบอาวุธหรือวัตถุระเบิดที่ฝากไวกับเจาหนาที่ผูมีอํานาจ

หรือเจาหนาที่ออกใบอนุญาต

10 เรื่องเดียวกัน หนา 19-20

Page 160: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

136

มาตรา 2011 อาวุธหรือวัตถุระเบิดใดๆ ที่ฝากไวกับเจาหนาที่

ผูมีอํานาจหรือเจาหนาที่ออกใบอนุญาตตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้ หรือ

กฎหมายอื่นใดหากไมมีเจาของมารับคืนภายใน 6 เดือนนับจากวันที่ผากเอาไว รัฐบาล

จะทําการริบอาวุธดังกลาว

7) ขอจํากัดในการออกใบอนุญาต

มาตรา 21F12 แมจะมีบทบัญญัติใดๆ ในพระราชบัญญัตินี้

พนักงานเจาหนาผูออกใบอนุญาตมีสิทธิ์ปฏิเสธที่จะออกใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้หาก

มีเหตุผลแนใจวา

(ก) ผูขอใบอนุญาตเปนผูที่ไมสมควรและไมเหมาะสมที่จะ

ไดรับใบอนุญาตดังกลาว หรือ

(ข) การออกใบอนุญาตดังกลาวขัดกับประโยชนสาธารณะ

8) เงื่อนไขของใบอนุญาต

มาตรา 21G13 ใบอนุญาตทุกฉบับที่ออกตาม

พระราชบัญญัตินี้ใหถือวาไดรับการออกและจัดเรื่องที่นอกเหนือไปจากเงื่อนไขอื่น ๆ

ตามที่กําหนดหรือระบุไวในใบอนุญาตใหเขากับสภาวะตอไปนี้:

(ก) ใบอนุญาตจะหมดอายุหลังจากครบรอบระยะเวลา

ตามที่ไดกําหนดไว

(ข) ใบอนุญาตไมวาเวลาใดๆ อาจถูกระงับหรือยกเลิกหาก

พบวาไมมีเหตุผลเพียงพอที่จะไดรับใบอนุญาตจากเจาพนักงานผูออกใบอนุญาต

(ค) หามโอนเปลี่ยนมือใบอนุญาตยกเวนกรณีที่ระบุไวใพระ

ราชบัญญัตินี้

9) การอุทธรณ

มาตรา 21H14 ผูใดไมพอใจ

11 เรื่องเดียวกัน หนา 2012 เรื่องเดียวกัน หนา 2313 เรื่องเดียวกัน หนา 2314 เรื่องเดียวกัน หนา 23

Page 161: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

137

(ก) เจาหนาที่ผูออกใบอนุญาตใหใชสิทธิ์การปฏิเสธใดๆ

โดยในการออกใบอนุญาตใหเขาตามพระราชบัญญัตินี้ หรือ

( ข ) ก า ร ร ะ งั บ ห รื อ ย ก เ ลิ ก ใ บ อ นุ ญ า ต ที่ อ อ ก ต า ม

พระราชบัญญัตินี้

สามารถอุทธรณคําสั่งนั้นภายใน 14 วัน โดยทําเปนหนังสือ

ไปยังรัฐมนตรีวาการกระทรวง คําวินิจฉัยของรัฐมนตรีใหเปนที่สุด

3.3.1.2 ความผิดและอัตราโทษ

1) เจตนาปกปดอาวุธ ฯลฯ ที่นําเขาโดยไมมีใบอนุญาต

มาตรา 2215

(1) ผูใดที่มีเจตนาซอนเรนปน, อาวุธวัตถุระเบิดหรือพิษหรือ

พิษกาซหรือสารพิษที่นําเขามาอยางผิดกฎหมายหรือโดยไมมีใบอนุญาตจะมีความผิดของ

การกระทําผิดและตองระวางโทษเกี่ยวกับการลงโทษโทษจําคุกที่ อาจขยายถึง 3 ปและ

ปรับไมเกิน 5,000 $

2) โดยเจตนาซื้ออาวุธปนหรืออาวุธจากผูไมไดรับอนุญาต

มาตรา 2316 บุคคลใดเจตนาซื้อปนหรืออาวุธจากบุคคลใดๆ

ที่ไมไดรับอนุญาตมีความผิดตองระวางโทษปรับไมเกิน 2,000 $

3.3.2 พระราชบัญญัติอาวุธปนและวัตถุระเบิด ค.ศ. 1974 (บทที่ 14) (Arms and Explosives Act ค.ศ.1974 (Chapter 14))17เปนกฎหมายเกี่ยวของกับการครอบครอง

ของอาวุธและเครื่องกระสุนปน และการพกพาและการใชซึ่งอาวุธใดๆ ใชบังคับเมื่อวันที่ 8

กุมภาพันธ 2517

3.3.2.1 บทลงโทษความผิดเกี่ยวกับการครอบครองอาวุธหรือ

เครื่องกระสุนปนโดยผิดกฎหมาย

15 เรื่องเดียวกัน หนา 2416 เรื่องเดียวกัน หนา 2574 The Statutes of the Republic of Singapore, Arms Offences Act (Chapter 14).

Page 162: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

138

มาตรา 318

(1) ภายใตบังคับของอนุมาตรา (4) ภายหลังจากที่กฎหมาย

นี้ไดมีผลบังคับใชแลวบุคคลใดมีอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนใดๆ ไวในความ

ครอบครองโดยผิดกฎหมาย จะมีความผิดและจะถูกลงโทษจําคุกไมนอยกวา 5 ป แตไม

เกิน 10 ป และจะตองไดรับโทษดวยการโบยดวยหวายไมนอยกวา 6 ครั้ง

(2) ภายใตบังคับของอนุมาตรา (4) บุคคลใดไดพกพาอาวธุไป

โดยผิดกฎหมาย จะมีความผิดและจะถูกตัดสินลงโทษจําคุกไมนอยกวา 5 ป แตไมเกิน

14 ป และจะตองไดรับโทษดวยการโบยดวยหวายไมนอยกวา 6 ครั้ง

(3) ในกรณีที่บุคคลใดมีอาวุธอยูในเวลาที่เขากระทําผิด หรือ

ในเวลาที่ถูกจับกุมตามความผิดในรายการ บุคคลนั้นจะมีความผิดและจะถูกตัดสินลงโทษ

จําคุกตลอดชีวิต และจะตองถูกโบยดวยหวายไมนอยกวา 6 ครั้ง

(4) ในกรณีที่บุคคลใดถูกตัดสินลงโทษตามอนุมาตรา (1) หรอื

(2) ซึ่งไดพิสูจนวาการลงโทษในครั้งกอนเปนความผิดในรายการบุคคลนั้น จะถูกตัดสิน

ลงโทษจําคุกเปนเวลาไมนอยกวา 5 ป แตไมเกิน 20 ป และจะตองถูกโบยดวยหวายไม

นอยกวา 6 ครั้ง

3.3.2.2 ขอยกเวน

มาตรา 1019 ความตามมาตรา

(ก) สมาชิกของกองกําลังใดๆ ที่กําลังมาเยี่ยมเยือนประเทศ

สิงคโปรในปจจุบันอยางถูกกฎหมาย หรือเปนหนวยกองกําลังตํารวจ หรือกองกําลัง

อาสาสมัคร หรือกองกําลังทองถิ่น ที่ไดจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายลายลักษณอักษรที่ใช

บังคับอยูในประเทศสิงคโปร เมื่อสมาชิกแหงกองกําลังนั้นไดมีการพกพาอาวุธเขามา หรือ

เกี่ยวของเนื่องกับการปฏิบัติหนาที่ของเขา

(ข) บุคคลใดซึ่งไดพกพาอาวุธ โดยถือเปนสวนหนึ่งของการ

แตงกายในเครื่องแบบ หรือเครื่องแบบที่แตงในโอกาสงานพิธี

75 เรื่องเดียวกัน, หนา 376 เรื่องเดียวกัน, หนา 4

Page 163: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

139

(ค) บุคคลใดซึ่งไดรับใบอนุญาต หรือไดรับมอบอํานาจให

พกพา หรือครอบครองซึ่งอาวุธภายใตหรือโดยอาศัยอํานาจของกฎหมายลายลักษณ

อักษรที่เกี่ยวกับอาวุธที่ใชบังคับอยูในประเทศสิงคโปร

(ง) สมาชิกขององคกรใดๆ หรือสมาคมใดๆ ที่ไดรับมอบอํานาจ

เปนพิเศษจากรัฐมนตรี โดยการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อสมาชิกดังกลาวนั้นได

พกพาอาวุธใดๆไป หรือเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติหนาที่ของเขา

มาตราที่ 1120 บทบัญญัติของกฎหมายฉบับนี้มีผลบังคับใชโดย

ไมทําใหเกิดความเสื่อมเสียแกบทบัญญัติในกฎหมายอาวุธ และวัตถุระเบิด หรือกฎหมาย

ลายลักษณอักษรอื่นใดที่มีผลใชบังคับในประเทศ

3.3.2.3 โทษอยางอื่นๆ

1) การใชหรือการพยายามใชอาวุธ

มาตรา 421 ภายใตบังคับของขอยกเวนที่อางถึงในบรรพ 4 ของ

ประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งอาจนํามาใชบังคับได บุคคลใดซึ่งใชหรือพยายามที่จะใชอาวุธใดๆ

จะมีความผิดและจะถูกตัดสินลงโทษประหารชีวิต

2) บทลงโทษสําหรับผูสมคบในการกระทําความผิด

มาตรา 5 ในกรณีที่อาวุธที่ถูกใชโดยบุคคลใดก็ตามในการกระทํา

ความผิด หรือพยายามกระทําความผิด เปนของผูสมคบที่เกี่ยวของกับความผิดที่กลาวถึง

ในครั้งหลังซึ่งไดอยูรวมในเหตุการณความผิด บุคคลนั้นอาจถูกสันนิษฐานอยางมี

เหตุผลวามีสวนรูเห็นดวย เนื่องจากบุคคลนั้นไดพกพาหรือมีอาวุธในครอบครอง หรือ

อยูในความควบคุม บุคคลนั้นจะมีความผิดและถูกตัดสินลงโทษประหารชีวิต เวนแต

บุคคลน้ันจะพิสูจนไดวาเขาไดพยายามอยางยิ่งอยางมีเหตุผลที่จะปองกันไมใหมีการใช

อาวุธนั้น

3) การคาอาวุธปนผิดกฎหมาย

มาตรา 6

77 เรื่องเดียวกัน, หนา 578 เรื่องเดียวกัน, หนา 3

Page 164: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

140

(1) การคาอาวุธปนผิดกฎหมายมีความผิดตองระวางโทษ

(ก) ตาย หรือ

(ข) จําคุกตลอดชีวิตและและจะตองไดรับโทษโบยดวยหวายไม

นอยกวา 6 ครั้ง

(2) ผูใดครอบครองอาวุธปนผิดกฎหมายมากกวา 2 กระบอก ให

สันนิษฐานวาเปนการคาอาวุธปนผิดกฎหมาย

4) การคบหากับบุคคลที่พกพาอาวุธ

มาตรา 7 บุคคลใดซึ่งคบหากับหรือถูกคนในกลุมของบุคคลพกพา

อาวุธโดยผิดกฎหมาย หรือครอบครองอาวุธโดยผิดกฎหมาย ในสถานการณที่มีขอ

สันนิษฐานอยางมีเหตุผลวาบุคคลน้ันรูวาบุคคลอื่นไดพกพาหรือมีอาวุธอยูในครอบครอง

หรืออยูในความควบคุมโดยผิดกฎหมาย จะมีความผิดและจะถูกตัดสินลงโทษ

เชนเดียวกันกับบุคคลอื่น ซึ่งตนไดคบหรืออยูรวมกลุมในขณะถูกคนเวนแตจะพิสูจนได

วาบุคคลนั้นมีเหตุอันสมควรเชื่อไดวาบุคคลอื่นนั้นมิไดพกพาหรือมีอาวุธอยูในความ

ครอบครอง หรืออยูในความควบคุมโดยผิดกฎหมาย

5) บทลงโทษตอการใชอาวุธเลียนแบบในการกระทําผิดตาม

ความผิดในรายการ

มาตรา 822 บุคคลใดซึ่งในเวลาท่ีกระทําความผิด หรือพยายามกระทํา

ความผิด หรือสนับสนุนใหมีการทําผิดในรายการ ดวยการใชแสดงอาวุธเลียนแบบใดๆ

ในลักษณะเพื่อใหบุคคลใดๆ หวาดกลัวตอความตาย หรือบาดเจ็บ จะมีความผิดและจะ

ถูกตัดสินลงโทษจําคุกเปนเวลา 10 ป และจะตองไดรับโทษโบยดวยหวายไมนอยกวา 3

ครั้ง

6) ขอสันนิษฐาน

มาตรา 9 ในกรณีที่อาวุธใดถูกคนพบขางในหรือบนสถานที่ใด ผู

ครอบครองสถานที่นั้นจะนาเชื่อวามีอาวุธไวในความครอบครอง เวนแตจะพิสูจนใหเห็น

วาเปนบุคคลอื่นเปนผูครอบครองอาวุธนั้น หรือพิสูจนใหเห็นวามิไดมีสวนรูเห็นใดๆ ตอ

79 เรื่องเดียวกัน, หนา 4

Page 165: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

141

การที่อาวุธนั้นมาอยูขางในหรือบนสถานที่ และไดดําเนินการอันสมควรในการปองกันมิ

ใหอาวุธนั้นมาอยูขางใน หรือบนสถานที่นั้น

3.4 กฎหมายอาวุธปนของประเทศมาเลเซีย สหพันธรัฐมาเลเซีย (Republic of Malaysia) เปนประเทศในภูมิภาคเอเชีย

ตะวันออกเฉียงใต ซึ่งแบงเปน 2 สวน โดยมีทะเลจีนใตกั้น สวนแรกคือคาบสมุทรมลายู

มีพรมแดนทิศเหนือติดประเทศไทยและทิศใตติดกับสิงคโปร สวนที่สองคือทางเหนือของ

เกาะบอรเนียว มีพรมแดนทิศใตติดอินโดนีเซีย และมีพรมแดนลอมรอบประเทศ

บรูไน ประชากรในมาเลเซียมีหลากหลายเชื้อชาติโดยสวนใหญของประเทศคือ ชนเชื้อสาย

มาเลย รองลงมาคือ จีน และอินเดีย นอกจากนั้นคือชนพื้นเมือง รวมทั้งสิ้นประมาณ

26.92 ลานคน ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม ซึ่งถือเปนศาสนาประจําชาติ

รองลงมาคือ ศาสนาพุทธนิกายมหายาน นอกจากนี ้ คือ ศาสนาฮินดู คริสต และ

ศาสนาอื่นๆ

สหพันธรัฐมาเลเซียปกครองดวยระบอบประชาธิปไตย โดยมี ยัง ดี เปอร

ตวน อากง (Yang di Bertaun Agong) หรืพระราชาธิบดีเปนประมุขของประเทศ มาจากการ

เวียนกันของสุลตานจากรัฐตางๆ ทุก ๆ 5 ป และมีนายกรัฐมนตรีซึ ่งมาจากการ

เลือกตั้งดํารงตําแหนงเปนหัวหนารัฐบาล แบงการปกครองเปน 13 รัฐ โดยอยูบนแหลม

มลายู 11 รัฐ ประกอบดวย รัฐปะลิส (Perlis) รัฐเกดะห (Kedah) รัฐปนัง (Penang) รัฐเประ

(Perak) รัฐกลันตัน (Kelantan) รัฐตรังกานู (Trengganu) รัฐสลังงอร (Selangor) รัฐเนกรี

เซมบิลัน (Negeri Sembilan) รัฐมะละกา (Melaka) รัฐปะหัง (Pahang) และรัฐยะโฮร

(Jahor) สวนอีก 2 รัฐ คือ รัฐซาราวัก (Sarawak) และรัฐซาบาห (Sabah) ตั้งอยูบน

เกาะบอรเนียว มีกัวลาลัมเปอร (Kuala Lumpur) เปนเมืองหลวง และปุตราจา

ยา (Putrajaya) เปนเมืองศูนยกลางการปกครองแหงใหม โดยทั้งสองเมืองนี้ตั้งอยูบน

รัฐสลังงอร(Selangor)23

23 ประวัติความเปนมาของประเทศมาเลเซีย [Onl ine] , Avai lable

URLhttp://mah10612.blogspot.com/2013/07/blog-post.html. 31 สิงหาคม 2558

Page 166: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

142

3.4.1 พระราชบัญญัติอาวุธปน 1960 (ARMS ACT 1960)24

Incorporating all amendments up to 1 January 2006 พระราชบัญญัติอาวุธปน 1960 บัญญัติขึ้นเพื่อใชบังคบักับอาวุธปน

กระสุนปน และสิ่งเทียมอาวุธปน

3.4.1.1 หลักเกณฑในการขออนุญาตมีอาวุธปน การขออนุญาต

พกพาและใชอาวุธปน

มาตรา 325 (1) ตามกฎหมายฉบับนี้และกฎขอบังคับใดๆ ที่ออก

ตามกฎหมายฉบับนี้ จะไมมีบุคคลใดมีสิทธิครอบครอง ยึดถือ หรือควบคุมซึ่งอาวุธปน

หรือเครื่องกระสุนปนใดๆ นอกจากบุคคลนั้นจะไดเปนผูถือใบอนุญาตอาวุธปนที่ออก

ใหแกบุคคลนั้นตามมาตรา 4

(2) กรณีตาม (1) บุคคลอาจมีหรือใชอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปน

ไดภายในขอบเขตของการอนุญาตอันชอบดวยกฎหมายที่ออกใหแกบุคคลนั้นตามมาตรา 4

ทั้งนี้จะมีผลบังคับเปนใบอนุญาตอาวุธปนในสวนที่เกี่ยวกับอาวุธ

ปนและเครื่องกระสุนปนที่ออกใหแกบุคคลอื่นบางคนดวย

3.4.1.2 การขออนุญาต ผูมีอํานาจในการออกใบอนุญาต และ

อายุของใบอนุญาตอาวุธปนหรือใบอนุญาตพกพาอาวุธปน

มาตรา 426 (1) คําขอ ใหทําตามแบบที่กําหนดไว และยื่นตออธบิดี

ตํารวจแหงรัฐซึ่งผูยื่นคําขอมีถิ่นที่อยู และใหระบุรายละเอียดตางๆ ตามแบบที่กําหนดไว

ในแบบคําขอดังกลาว

(2) ตามกฎหมายฉบับนี้และกฎขอบังคับใดที่ออกตาม

กฎหมายฉบับนี้ อธิบดีกรมตํารวจจะอนุญาตตามคําขอใบอนุญาตอาวุธปนหรือ

24 LAWS OF MALAYSIA ARMS ACT 1960 : Incorporating all amendments up to 1

January 200625 เรื่องเดียวกัน, หนา 926 เรื่องเดียวกัน, หนา 10

Page 167: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

143

ใบอนุญาตพกพาอาวุธปนฉบับใดก็ไดตามควรแกกรณีถาเปนที่พอใจวาคําขอนั้นมี

เหตุผลที่ดีในการที่ผูขอจะมีไวในครอบครอง ยึดถือไวหรือควบคุม หรือพกพาและใช ได

ตามแตกรณีซึ่งอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนตามที่ระบุรายละเอียดไวในคําขอนั้น และ

ในการนี้ใหผูขอมีอํานาจกระทําการไดเทาที่จะไมเปนอันตรายตอสาธารณชนหรือ

ผลประโยชนสาธารณชน

(3) ใบอนุญาตอาวุธปนหรือใบอนุญาตพกพาอาวุธปน

ฉบับหนึ่งๆ จะเปนไปตามแบบที่กําหนดไว และจะกําหนดเงื่อนไขหรือขอจํากัดใดๆ ใหผู

ถือใบอนุญาตปฏิบัติก็ได ลักษณะสภาพและจํานวนหรือเครื ่องหมายบงบอกอื่นๆ

ของอาวุธปนที ่ออกใบอนุญาตใหและในสวนเกี่ยวกับเครื่องกระสุนปนก็จะมีกําหนดไว

ใหยึดถือไวเปนจํานวนเทาใดในเวลาไหนกับรายการอื่นๆ ตามที่กําหนดไวในใบอนุญาต

นั้น

(4) ใบอนุญาตอาวุธปนหรือใบอนุญาตพกพาอาวุธปน

หากมิไดมีการยกเลิกหรือเพิกถอน จะหมดอายุในวันที่ 30 ของเดือนมิถุนายนตอไปจาก

วันที่ออกให แตอธิบดีตํารวจแหงรัฐซึ่งผูถือใบอนุญาตมีถิ่นท่ีอยู อาจตอใบอนุญาตใหใหม

อีกเปนเวลา 1 ป นับแตวันที่ 30 มิถุนายนดังกลาวและอาจตอใหไดเรื่อย ๆบทบัญญัติมาตรานี้

ใหใชบังคับแกการออกใบอนุญาตอาวุธปนหรือใบอนุญาตพกพาอาวุธปนใหมดวย

(5) รายการตางๆ ของใบอนุญาตอาวุธปนหรือ

ใบอนุญาตพกพาอาวุธปนทุก ๆใบที่ออกใหหรือที่ออกใหใหมตามมาตรานี้ จะลงไวในทะเบียน

ซึ่งอธิบดีตํารวจแหงรัฐเก็บรักษาไวตามรูปแบบและวิธีการและสถานที่ตามที่กําหนดไว

(6) ถามีคําขอใบอนญุาตอาวุธปนหรือเครือ่งกระสุนปน

ที่ไมมีตัวอักษรหรือตัวเลขหรือเครื่องหมายอยางอื่นทํานองเดียวกันนี้ ซึ่งอาจจะไดมีการ

ระบุไวเรียบรอยแลวกอนที่จะออกใบอนุญาต ใหเจาพนักงานผูยื่นคําขอลงเครื่องหมาย

ที่อาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนตามที่รูหรือปรากฏขึ้นในภายหลังไดตามควรแกกรณี

แตการกระทํานั้นจะตองไมเปนการเสียหายหรือลอกเลียนแบบตัวอักษรหรือตัวเลขหรือ

เครื่องหมายอยางอื่นดังกลาวนั้น

3.4.1.3 ขอหามในการออกใบอนุญาต

Page 168: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

144

มาตรา 527 (1) จะไมมีการออกใบอนุญาตอาวุธปนหรือตออายุ

ใบอนุญาต ใหกับ

(a) ปนลูกซองปมหรือปนที่ยิงซ้ําไดไมวาชนิดใดๆ

เวนแตซองกระสุนของปนนั้นจะถูกสรางหรือติดไวเปนการถาวรในประการที่ทําใหยิงได

ไมเกินหนึ่งนัดตอการเหนี่ยวไกปนแตละครั้ง หรือในกรณีที่เปนปนลูกซองแฝดจะยิง

ไดหนึ่งนัดจากแตละลํากลอง

(b) อาวุธปนที่ไดรับการออกแบบหรือปรับใชไดใน

ประการที่ถาเหนี่ยวไกปนกระสุนจะถูกยิงออกไปจนกวาจะหยุดเหนี่ยวไกปนแลวหรือ

หลังจากที่ซองบรรจุกระสุนนั้นวางเปลา

(c) อาวุธปนชนิดใดๆ ที่ไดรับการออกแบบหรือปรับ

ใชสําหรับการยิงดวยของเหลวหรือแก็สหรือสิ่งอื่นใดที่เปนอันตรายตอชีวิตและทรัพยสิน

(d) ลูกระเบิดมือ ระเบิดบอรมหรือจรวดอื่นทํานอง

เดียวกันไมวาชนิดใดๆ

(e) ที่ใชเครื่องกระสุนปนชนิดใด ๆที่บรรจุหรือออกแบบ

หรือปรับใชใหบรรจุดวยของเหลวหรือแก็สหรือสิ่งอื่นใดที่เปนอันตรายตอชีวิตและทรัพยสิน

(2) จะไมมีการออกใบอนุญาตอาวุธปนหรือ

ใบอนุญาตพกพาอาวุธปน หรือตออายุใบอนุญาตใหแกบุคคลที่มีอายุต่ํากวาสิบแปดป

ทั้งนี้ อธิบดีตํารวจแหงรัฐ ซึ่งผูยื่นคําขอท่ีมีอายุอยางนอย

สิบหกปแตต่ํากวาสิบแปดป อาจใชดุลยพินิจยกเวนขอกําหนดในอนุมาตรานี้ได ถา

ตรวจสอบแลวเปนที่พอใจวามีพฤติการณพิเศษอันควรยกเวนให ซึ่งจะเปนความชอบ

ธรรมในการออกใบอนุญาตอาวุธปนหรือตอใบอนุญาตใหแกบุคคลนั้น โดยใหบันทึก

เหตุผลในการอนุญาตดังกลาวไวดวย

(3) จะไมมีการออกใบอนุญาตอาวุธปนหรือ

ใบอนุญาตพกพาอาวุธปนใหแกสถานประกอบการ หางหุนสวน บริษัท หรือคณะบุคคล

แตขอกําหนดในอนุมาตรานี้จะไมเปนการขัดขวางตอการออกใบอนุญาตอาวุธปนใหแก

27 เรื่องเดียวกัน, หนา 11

Page 169: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

145

บุคคลผูรับผิดชอบที่ไดรับการแตงตั้งจากสถานประกอบการ หางหุนสวน บริษัท หรือ

คณะบุคคลใหมีสิทธิครอบครอง ยึดถือ หรือควบคุมอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนที่

สถานประกอบการ หางหุนสวน บริษัท หรือคณะบุคคลนั้นเปนเจาของ

(4) จะไมมีการออกใบอนุญาตพกพาอาวุธปนหรือตอ

ใบอนุญาตดังกลาว นอกจากจะมีใบอนุญาตอาวุธปนที่ใชบังคับไดกับอาวุธปนหรือ

เครื่องกระสุนปนดังกลาวแลว

3.4.1.4 บทยกเวนการบังคับใช

มาตรา 628 (1) มาตรา 3 จะไมใชบังคับแกพระราชาธิบดี หรือแก

ผูปกครองรัฐหรือเจาผูครองนครแหงรัฐใดๆ

ทั้งนี้จะไดมีการแจงตออธิบดีกรมตํารวจในเดือนมิถุนายนของทุกป

โดยบุคคลซึ่งพระราชาธิบดี หรือผูปกครองรัฐหรือเจาผูครองนครแหงรัฐแตงใหเพื่อให

รายละเอียดของอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนทั้งหมดที่อยูในครอบครองหรือยึดถือหรือ

ความควบคุมของพระราชาธิบดี หรือผูปกครองรัฐหรือเจาผูครองนครแหงรัฐซึ่งไมมี

ใบอนุญาตอาวุธปนนั้น

(2) ภายใตบังคับมาตรา 3

(g) บุคคลอาจพกพาหรือใชโดยไมตองมีใบอนุญาตอาวุธปน

หรือใบอนุญาตพกพา ดังนี้

( i) ปนยาวขนาดเล็กไมเกิน .22 คาลิเบอรและเครื่อง

กระสุนดังกลาวที่สถานฝกยิงปนขนาดเล็กโดยเจาของหรือผูจัดการของสถานฝกยิงหรือ

แสดงการยิงดังกลาวมอบอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนดังกลาวให และสถานฝกยิง

หรือที่แสดงการยิงดังกลาวไดจัดใหมีขึ้นตามใบอนุญาตเปนลายลักษณอักษรและตาม

เงื่อนไขที่ออกโดยอธิบดีตํารวจแหงรัฐที่สถานท่ีดังกลาวตั้งอยู

(ii) อาวุธปนและเครื่องกระสุนลูกซอมยิงที่ใชในการแสดง

ละคร หรือการแสดงทํานองเดียวกันหรือใชในการแขงขันกีฬาซึ่งบุคคลไดมีสวนอยู

ดวยในการนั้น ถาหากไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษรจากอธิบดีตํารวจแหงรัฐที่

28 เรื่องเดียวกัน, หนา 12

Page 170: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

146

การแสดงหรือการแขงขันดังกลาวมีขึ้น โดยตองใชอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปน

ดังกลาวในการแสดงหรือการแขงขันกีฬาดังกลาวดวย

(3) บุคคลจะไมถูกถือวาฝาฝนมาตรา 3 ดวยเหตุผลเพียงวาใน

ระหวางเดือนมิถุนายนของปใดบุคคลนั้นมีไวในครอบครองหรือยึดถือหรือใช ควบคุม

หรือพกพาหรือใชซึ่งอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนโดยไมมีใบอนุญาตหรือคําอนุญาต ถา

หากวาบุคคลนั้นไดมีอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนไวในครอบครองของตนหรือไดรับ

อนุญาตใหพกพาและใชอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนนั้นในวันที่ 30 มิถุนายน ของป

เดียวกันตามขอกําหนดของใบอนุญาตอาวุธปนหรือใบอนุญาตพกพาแลว

3.4.1.5 บทลงโทษสําหรับการครอบครองหรือถืออาวุธและ

กระสุนโดยไมมีใบอนุญาตหรือใบอนุญาตพกพา

มาตรา 829 ผูใดฝาฝนบทบัญญัติแหงนี้

(a) มีไวในความครอบครอง ยึดถือหรือควบคุมหรือพกพา

หรือใช ซึ่งอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนใดๆ โดยไมมีใบอนุญาตอาวุธปนหรือ

ใบอนุญาตพกพาอาวุธปนดังกลาว หรือกระทําการอื่นใดนอกเหนือจากที่ไดรับอนุญาตโดย

ใบอนุญาตอาวุธปนหรือใบอนุญาตพกพาอาวุธปน หรือในกรณีมีเครื่องกระสุนปนใน

ปริมาณท่ีเกินกวาที่ไดรับอนุญาต หรือ

(b) ไมปฏิบัติตามเงื่อนไขหรือขอจํากัดในใบอนุญาต

อาวุธปนหรือใบอนุญาตพกพาอาวุธปน ซึ่งตนยึดถือไว

ตองระวางโทษจําคุกไมเกินเจ็ดปหรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นริงกิต

หรือทั้งจําทั้งปรับ

3.4.1.6 บทกําหนดโทษอื่นๆ ตามกฎหมายนี้

มาตรา 3230 (1) (a) ถาบุคคลใดหากใชหรือความพยายามที่จะทํา

อาวุธปนหรืออาวุธเลียนแบบโดยเจตนาเพื่อขัดขืนหรือขัดขวางการจับกุม หรือการ

29 เรื่องเดียวกัน, หนา 1530 เรื่องเดียวกัน, หนา 30

Page 171: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

147

ควบคุมโดยชอบตามกฎหมาย ของตัวเองหรือของผูอื่นๆ ตองระวางโทษจําคุกตลอด

ชีวิตหรือจําคุกไมเกินสิบสี่ป

(b)ในกรณีที่บุคคลใดกระทําความผิดตามอนุมาตรา

นี้ในการกระทําความผิดอยางอื่นที่บุคคลนั้นถูกจับกุมหรือคุมขังโดยชอบดวยกฎหมาย

ในความผิดที่กระทําผิดอยางอื่นนั้น ตองถูกลงโทษตามหมวดนี้รวมกับโทษที่บุคคลนั้น

ไดรับในการกระทําความผิดอื่นนั้นดวย

(2) บุคคลใดมีอาวุธปนหรืออาวุธปนเลียนแบบไวใน

ครอบครองของตน ในขณะที่กระทําผิดหรือในขณะถูกจับกุมในความผิดตามที่ไดระบุไว

ในตารางแรกตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบปเพิ่มเติมจากความผิดที่ระบุไวในตารางแรก

ดังกลาวนั้น เวนแตจะพิสูจนไดวาการมีไวในครอบครองดังกลาวมีวัตถุประสงคที่ถูกตอง

ตามกฎหมาย

(3) ถาในการพิจารณาคดีของบุคคลใดเกี่ยวกับการกระทํา

ความผิดตามอนุมาตรา (1) ศาลยังไมเปนที่พอใจวาบุคคลนั้นไดกระทําความผิดที่ถูก

กลาวหา แตเปนที่พอใจวาบุคคลนั้นไดกระทําความผิดตามอนุมาตรา (2) ศาลจะ

ลงโทษบุคคลนั้นตามที่กําหนดไวในอนุมาตรา (2) ก็ได

มาตรา 3331 บุคคลใดมีไวในครอบครอง ในความยึดถือ ในความ

ควบคุม หรือพกพา ซึ่งอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนใดๆ ในพฤติการณที่มีเหตุอันสมควร

สงสัยไดวาบุคคลนั้นไดใชหรือตั้งใจจะใชหรือเตรียมการเพื่อใชอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปน

ดังกลาวสําหรับการอันมิชอบดวยกฎหมาย หรืออาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนนั้น อยูใน

สภาพที่มีแนวโนมวาจะใชในการทําผิดกฎหมาย ใหถือวามีความผิดตองระวางโทษ

จําคุกไมเกินเจ็ดปหรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นริงกิต หรือทั้งจําทั้งปรับ และจะลงโทษโบยอีก

ดวยก็ได

31 เรื่องเดียวกัน, หนา 30

Page 172: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

148

มาตรา 3432 บุคคลใดเมาสุราหรือประพฤติตนดวยกิริยาไม

เรียบรอยในขณะพกพาอาวุธปน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่ง

หมื่นริงกิต หรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา 3533 บุคคลใดไดรับอนุญาตโดยชอบดวยกฎหมายใหมีไว

ในครอบครอง หรือใหมีไวในความยึดถือหรือความควบคุมแหงตนซึ่งอาวุธปนหรือเครื่อง

กระสุนปนดังกลาว หรือสวนหนึ่งสวนใดของอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนดังกลาว ถูกทํา

ใหสูญหายหรือถูกโจรกรรมไปจากตนตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกิน

หนึ่งพันริงกิต หรือทั้งจําทั้งปรับ เวนแตจะพิสูจนไดวาตนไดใชความรอบคอบอันชอบ

ดวยเหตุผลในการระวังรักษามิใหสูญหายหรือถูกโจรกรรมแลว

3.4.1.7 เงื่อนไขภายหลังการไดรับอนุญาต

มาตรา 734 (1) ในกรณีอาวุธปนสูญหายหรือถูกทําลายหรือเครื่อง

กระสุนปนหาย บุคคลผูมีชื่อในใบอนุญาตเกี่ยวกับอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนนั้นกับ

บุคคลอื่นที่ไดครอบครองอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนนั้นไวกอนวันสูญหายหรือถูก

ทําลายดังกลาวมีหนาที่ตองแจงสถานีตํารวจที่ใกลที่อยูของบุคคลดังกลาวโดยเร็วที่สุด

เทาที่จะทําได แตตองกระทําภายในสิบสี่วันนับแตไดรูถึงการสูญหายหรือถูกทําลาย

ดังกลาว และการละเลยไมแจงภายในกําหนดดังกลาว บุคคลที่วานั้นทุกคนจะถูกลงโทษ

ปรับไมเกินหนึ่งพันริงกิต

(2) บุคคลใด

(a)โดยเจตนาทําใหเสียหาย ทําลาย เปลี่ยนแปลง

ดัดแปลง หรือแปลง ซึ่งเครื่องหมายใด ๆท่ีใชสําหรับเปนเครื่องกําหนดตัวอาวุธปนหรือเครื่อง

กระสุนปนใดๆ ของผูผลิตอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนดังกลาวหรือที่กําหนดไวตาม

ใบอนุญาตอาวุธปนนั้น ๆหรือที่ติดไวตามที่กําหนดไวในมาตรา 4 (6)

32 เรื่องเดียวกัน, หนา 3133 เรื่องเดียวกัน, หนา 3134 เรื่องเดียวกัน, หนา 14

Page 173: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

149

(b)โดยเจตนาฉอโกง ทําเคร่ืองหมายที่อาวุธปนหรือ

เครื่องกระสุนปนใด ๆดวยเครื่องหมายใหเหมือนหรือตั้งใจใหเหมือนกับเครื่องหมายใด ๆที่ระบุไว

ใน (a)

(c)โดยเจตนาฉอโกง ทําลายอาวุธปนใด ๆโดยมิไดรับ

อนุญาตเปนลายลักษณอักษรจากอธิบดีตํารวจแหงรัฐ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองป

หรือปรับไมเกินสองพันริงกิต หรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา 2835 ถาใบอนุญาตใหมีหรือพกพาอาวุธปนที่ออกใหตาม

กฎหมายนี้ถูกทําลาย ลบเลือน ฉีกขาด หรือถูกทําลาย ใหบุคคลผูมีชื่อในใบอนุญาตให

มีหรือพกพาดังกลาวยื่นคําขอตอเจาพนักงานผูมีอํานาจออกใบอนุญาตใหมีหรือพกพา

นั้น และหากเปนที่พอใจของเจาพนักงานดังกลาววาคําขอยื่นมาโดยสุจริตและถูกตอง

โดยเสียคาธรรมเนียมตามที่กําหนดแลว ก็ใหออกใบอนุญาตใหมีหรือพกพาฉบับใหมมี

ขอความเหมือนฉบับที่ถูกทําลาย ลบเลือน ฉีกขาด หรือสูญหายนั้น แกผูขอ

มาตรา 3836(1) หามบุคคลใดนอกจากผูประกอบการเกี่ยวกับ

อาวุธปนที่ไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากอธิบดีตํารวจแหงรัฐที่ผูประกอบการน้ันทําธุรกิจ

อยูทําใหลํากลองปนใดๆ สั้นลง

(2) หามบุคคลใดเปลี่ยนแปลงสภาพของอาวุธ ซึ่ง

กอนเปลี่ยนแปลงสภาพนั้นเปนอาวุธปนที่ถูกผลิตขึ้นเพื่อมิใหสามารถใชยิงกระสุนผาน

ออกไปจากลํากลองปนนั้นได

(3) บุคคลใดฝาฝนอนุมาตรา (1) หรอื (2) ตองระวาง

โทษจําคุกไมเกินสิบสี่ป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นริงกิต หรือทั้งจําทั้งปรับ

(4) บุคคลใดมีไวในครอบครองของตนซึ่งอาวุธปนที่

ถูกทําใหสั้นลงโดยมิไดรับอนุญาตเปนหนังสือตามอนุมาตรา (1) หรืออาวุธที่ถูก

เปลี่ยนแปลงสภาพดังกลาวขางตน ตองระวางโทษเชนที่กําหนดไวในอนุมาตรา (3) นั้น

3.4.1.8 การฝากอาวุธและเครื่องกระสุนปนไวที่สถานีตํารวจ

35 เรื่องเดียวกัน, หนา 2836 เรื่องเดียวกัน, หนา 32

Page 174: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

150

มาตรา 2737 (1) บุคคลใดซึ่งการครอบครองอาวุธปนหรือเครื่อง

กระสุนปนกลายเปนการอันมิชอบดวยกฎหมาย เนื่องจากใบอนุญาตอาวุธปนหมดอายุ ถูก

เพิกถอน หรือถูกยกเลิก ตองสงมอบอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนนั้นตอสถานีตํารวจที่

ใกลที่สุดโดยไมชักชาเกินความจําเปน

(2) ภายใตขอบังคับใดๆ ที่ออกตามกฎหมายนี้ ถา

เจาของอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนใด ๆซึ่งฝากไวที่สถานีตํารวจมิไดรับใบอนุญาตที่ออกให

ครอบครองสิ่งดังกลาวและไมไดยื่นคําขอรับสิ่งดังกลาวภายในกําหนดเวลาหกเดือนนับแต

วันที่ไดฝากไว ใหถือวาอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนนั้นเปนอันถูกริบ

(3) บุคคลทุกคนที่ไดรับอนญุาตใหครอบครองอาวุธปน

หรือเครื่องกระสุนปนตามกฎหมายนี้ ถาออกนอกประเทศมาเลเซียเปนเวลานานกวาสามเดือน

ตองปฏิบัติดังตอไปนี้เวนแตจะไดนําอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนดังกลาวติดตัวไปดวย คือ

(a) ฝากสิ่งดังกลาวไวกับบุคคลใด ๆผูถือใบอนุญาตอัน

ชอบดวยกฎหมายเกี่ยวกับสิ่งดังกลาว

(b) โอนสิ่งดังกลาวใหแกกับบุคคลซึ่งไดรับอํานาจตาม

มาตรา 11 รับมอบไว หรือ

(c) ฝากสิ่งดังกลาวไวเพื่อความปลอดภัยที่สถานีตํารวจ

3.4.1.9 ขอหามเกี่ยวกับการใชอาวุธปน

มาตรา 3738 บุคคลใดยิงอาวุธปนและเปนเหตุใหบุคคลใดไดรับ

อันตรายจากการยิงปนนั้นไมวาจะเปนอันตรายถึงแกชีวิตหรือไม ตองระวางโทษจําคุก

ไมเกินสองป หรือปรับไมเกินหาพันริงกิต หรือทั้งจําทั้งปรับ เวนแตจะพิสูจนเปนที่พอใจ

แกศาลวาตนมีอํานาจกระทําไดโดยชอบดวยกฎหมายหรือมีขอแกตัวสําหรับการทําให

เกิดอันตรายดังกลาว หรือวาตนไดใชความรอบคอบอยางสมเหตุสมผลทุกประการแลว

จนแนใจวาจะไมมีใครไดรับอันตรายจากการยิงดังกลาว

37 เรื่องเดียวกัน, หนา 2838 เรื่องเดียวกัน, หนา 32

Page 175: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

151

มาตรา 3939 หามบุคคลใดยิงอาวุธปน

(a) เวนแตจะยิง ณ สถานที่ซึ่งไดรับอนุญาตเปน

หนังสือใหใชเปนสนามยิงปนจากอธิบดีตํารวจแหงรัฐที่สถานที่นั้นตั้งอยู

(b) เวนแตเพื่อปองกันชีวิตหรือทรัพยสิน

(c) เวนแตจะไดรับอํานาจใหกระทําไดตามกฎหมาย

ลายลักษณอักษรเกี่ยวกับการคุมครองชีวิตสัตวปา ใหยิง ฆา หรือลา สัตวหรือนกตางๆ

และกระทําตามอํานาจที่ไดรับดังกลาว หรือ

(d) เวนแตเปนเจาหนาที่ในกองทัพหรือเจาพนักงาน

ตํารวจหรือบุคคลอื่นใดในการปฏิบัติหนาที่ของตํารวจตามกฎหมายลายลักษณอักษร

และกระทําภายในขอบเขตอํานาจหนาที่ดังกลาว

มาตรา 4040 บุคคลใดพบอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนใดๆ

จะตองรายงานการพบนั้นตอเจาหนาที่ตํารวจ

มาตรา 4141 บุคคลใดใหความชวยเหลือหรืออํานวยความสะดวก

ในการกระทําความผิดที่ตองระวางโทษตามกฎหมายนี้หรือกฎขอบังคับใดๆ ที่ออกตาม

กฎหมายนี้ หรือพยายามกระทําความผิดดังกลาว ตองระวางโทษเชนเดียวกับการ

กระทําความผิดสําเร็จ

3.4.1.10 บทลงโทษ

มาตรา 4342 บุคคลใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามบทบัญญัติใดๆ ใน

กฎหมายนี้หรือตามกฎขอบังคับใดๆ ที่ออกตามกฎหมายนี้ และไมมีบทกําหนดโทษไว

โดยเฉพาะ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองพันริงกิต หรือทั้งจําทั้งปรับ

39 เรื่องเดียวกัน, หนา 3340 เรื่องเดียวกัน, หนา 3341 เรื่องเดียวกัน, หนา 3342 เรื่องเดียวกัน, หนา 34

Page 176: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

152

มาตรา 4543 (1) บุคคลทุกคนซึ่งไดรับการพิสูจนยืนยันวามีไวใน

ครอบครองของตนหรือภายใตการควบคุมของตนซึ่งสิ่งใดๆ ที่บรรจุอาวุธปนหรือเครื่อง

กระสุนปน หรือสิ่งเทียมอาวุธปน ใหถือวามีไวในครอบครองของตนซึ่งอาวุธปนหรือ

เคร่ืองกระสุนปน หรือสิ่งเทียมอาวุธปน เวนแตจะมีขอแกตัวพิสูจนใหเห็นวามิไดเปนเชนนั้น

(2) ผูครอบครองทุกคนซึ่งบานเรือนใดๆ หรืออาคาร

ตางๆ ในที่ซึ่งอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปน หรือสิ่งเทียมอาวุธปนใดๆ ถูกพบ ใหถือวา

เปนผูมีไวในครอบครองซึ่งอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปน หรือสิ่งเทียมอาวุธปนนั้น

จนกวาจะพิสูจนใหเห็นวามิไดเปนเชนนั้น

3.5 กฎหมายอาวุธปนของประเทศออสเตรเลีย จักรภพออสเตรเลีย (Commonwealth of Australia) หรือที่รูจักกัน

อยางสั้นๆ วาประเทศออสเตรเลียนั้น มีพื้นที่ตั้งอยูระหวางมหาสมุทรอินเดียและ

มหาสมุทรแปซิฟกมีเมืองหลวงแหงสหพันธรัฐคือ กรุงแคนเบอรา (Canberra) พื้นที่

โดยรวมทั้งประเทศมีทั้งหมด 7,689,850 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 19,357,594 คน

รัฐธรรมนูญแหงประเทศออสเตรเลียไดนํามาซึ่งการปกครองระบบสหพันธรัฐ (Federal

government) ตั้งแตป ค.ศ.1901 โดยแบงออกเปน 6 มลรัฐ (state) และ 2 ดินแดน ซึ่งมิไดมี

ฐานะเปนรัฐ ดังนี้

1. รัฐนิวเซาทเวลส (New South Wales) เมืองหลวงคือ ซิดนีย

2. รัฐวิคตอเรีย (Victoria) เมืองหลวงคือ เมลเบิรน

3. รัฐควีนแลนด (Queensland) เมืองหลวงคือ บริสเบน

4. รัฐออสเตรเลียใต (South Australia) เมืองหลวงคือ อะเดลิด

5. รัฐออสเตรเลียตะวันตก (Western Australia) เมืองหลวงคือ เพิธ

6. รัฐแทสมาเนีย (Tasmania) เมืองหลวงคือ โฮบารท

7. ดินแดนภาคเหนือ (Northern Territory) เมืองหลวงคือ ดารวิน

8. ดินแดนเมืองหลวงของออสเตรเลีย (Australian Capital Territory) คือ

กรุงแคนเบอรา

43 เรื่องเดียวกัน, หนา 34

Page 177: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

153

โครงสรางการปกครองภายนอกของประเทศออสเตรเลีย ประกอบดวย รัฐบาล

ของจักรภพ (the Commonwealth government) หรือ รัฐบาลสหพันธรัฐ (the federal

government) ซึ่งจัดทําภารกิจในระดับชาติ อาทิเชน การระหวางประเทศ การปองกัน

ประเทศ เปนตน

การปกครองชั้นที่สองของประเทศออสเตรเลียคือการปกครองระดับรัฐ (state) ซึ่งมีอยู

ทั้งสิ้น 6 รัฐและ 2 ดินแดนตามที่ไดกลาวมาแลว แตละรัฐจะมีสภา (ทั้งวุฒิสภาและ

สภาผูแทนราษฎร) ฝายบริหาร และฝายตุลาการ รวมถึงการมีธรรมนูญ (constitution)

เปนของตนเอง

รัฐบาลของจักรภพออสเตรเลียและของรัฐแตละรัฐจะมีกระทรวง ทบวง กรมของ

ตนเองแยกออกตางหากจากกัน กระทรวง ทบวง กรม ของรัฐดําเนินกิจการที่เกี่ยวกับรัฐ

นั้นโดยเฉพาะ สวนกระทรวง ทบวง กรม ของจักรภพดําเนินกิจการที่เกี่ยวของกับทุก ๆรัฐเปน

สวนรวม นอกเหนือจากนั้นขาราชการประจําของจักรภพและของรัฐแตละรัฐก็คนละชุด

กัน ตางฝายตางมีคณะกรรมการ ขาราชการพลเรือนของตนเอง

ในสวนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น (Local Government Authorities) ใน

ประเทศออสเตรเลียถือวาเปนหนวยการปกครองที่มีขนาดเล็กมากเมื่อเปรียบเทียบกับ

องคกรปกครองสวนทองถิ่นในประเทศอื่นๆ อีกทั้งยังมีการจัดโครงสรางภายในและ

ภารกิจหนาที่ที่มีลักษณะเฉพาะเปนของตนเองอีกดวย นอกเหนือจากนั้นลักษณะที่

สําคัญอีกประการหนึ่งคือ การปกครองทองถิ่นในออสเตรเลียไมไดถูกบัญญัติไวใน

รัฐธรรมนูญแหงประเทศออสเตรเลีย หากแตการจัดตั้งองคกรปกครองสวนทองถิ่น

เปนไปตามกฎหมายของรัฐ ซึ่งในบางรัฐอาจบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญของรัฐ หรือรัฐบาง

รัฐอาจตรากฎหมายเกี่ยวกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นขึ้นใชเฉพาะในรัฐนั้นๆ ซึ่ง

แนนอนวาองคกรปกครองสวนทองถิ่นของแตละรัฐยอมตองมีโครงสรางและอํานาจ

หนาที่ตามกฎหมายของรัฐแตละรัฐจะไดกําหนดไว

เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2539 มือปนอายุยี่สิบแปดปที่ติดอาวุธดวยปนไรเฟล

กึ่งอัตโนมัติไดทําการยิงสังหารสามสิบหาคนและไดรับบาดเจ็บอีกสิบแปดคน ใน

สถานที่หลายแหงทั้งในและรอบอารเธอรพอรต ซึ่งเปนบริเวณที่ทองเที่ยวยอดนิยมใน

รัฐแทสเมเนีย ออสเตรเลีย

Page 178: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

154

กอนที่จะมีเหตุการณนี้ การซื้อและครอบครองอาวุธปนในออสเตรเลียนั้นไม

คอยเขมงวดนัก เหตุการณครั้งนี้ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงขนานใหญของกฎระเบียบใน

หกรัฐและสองดินแดน ซึ่งตามปกติการควบคุมอาวุธปนเปนความรับผิดชอบของแต

ละรัฐและดินแดนในออสเตรเลีย รัฐธรรมนูญออสเตรเลียไมไดกําหนดอํานาจในการ

ออกกฎหมายที่เกี่ยวของกับอาวุธปนในกฎหมายของรัฐบาลกลาง รัฐบาลกลางสามารถ

ตรากฎหมายเกี่ยวกับการนําเขาอาวุธปนและอาวุธอื่นๆ ภายใตกฎหมายการคากับ

ตางประเทศ และกฎหมายอื่น ๆที่ใหอํานาจไว รัฐธรรมนูญออสเตรเลียไมไดมีบทบัญญัติ

เกี่ยวกับสิทธิการเปนเจาของปนที่ชัดเจนใดๆ ไว

ในการตอบสนองตอการสังหารหมูที่อารเธอรพอรต สภา(APMC) ในการ

ประชุมการประชุมนัดพิเศษวันที่ 10 พฤษภาคม 1996 ไดตกลงที่จะจัดทําแผนแหงชาติ

สําหรับสงเสริมการควบคุมอาวุธปน จากนั้นนายกรัฐมนตรีจอหน Howard ไดนํามติใน

ที่ประชุมมาจัดทําเปนขอตกลงทั่วประเทศในการควบคุมอาวุธปน (ปกติจะเรียกวา

ขอตกลงอาวุธปนแหงชาติ) ตามขอเสนอของคณะกรรมการแหงชาติเกี่ยวกับการใช

ความรุนแรงซึ่งกอตั้งขึ้นในป 1988 ซึ่งบางรัฐรวมทั้งรัฐบาลกลางไดเริ่มปรับปรุงแกไข

กฎหมายครั้งใหญรวมทั้ง การดําเนินการโครงการซ้ือคืนอาวุธปนจากประชาชน

ปจจุบันกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธปน ขอจํากัด และการขอออก

ใบอนุญาตเกี่ยวกับการซื้อครอบครองและการใชอาวุธปน (รวมทั้งอาวุธปนเลียนแบบ)

ในประเทศออสเตรเลียโดยรัฐตางๆ มีดังนี้

1. รัฐนิวเซาธเวลส พระราชบัญญัติอาวุธปน ป 1996 พระราชบัญญัติ

หามอาวุธ ป 1998 ระเบียบอาวุธปน ป 2006 และระเบียบหามอาวุธ ป 2009

2. รัฐวิกตอเรีย พระราชบัญญัติอาวุธปน ป 1996 พระราชบัญญัติการ

ควบคุมอาวุธ ป 1990 ระเบียบอาวุธปน ป 2008 และระเบียบการควบคุมอาวุธ ป

2011

3. รัฐควีนสแลนด: พระราชบัญญัติอาวุธ ป 1990 ระเบียบอาวุธ ป 1996 และ

ระเบียบประเภทอาวุธ ป 1997

4. รัฐเวสเทิรนออสเตรเลีย: พระราชบัญญัติอาวุธปนป 1973 และระเบียบอาวุธ

ปนป 1974

Page 179: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

155

5. รัฐเซาทออสเตรเลีย: พระราชบัญญัติอาวุธปนป 1977 และระเบียบอาวุธ

ปน ป 2008

6. รัฐแทสมาเนีย: พระราชบัญญัติอาวุธปนป 1996 และระเบียบอาวุธปน ป

2006

7. ดินแดนภาคเหนือ Northern Territory: พระราชบัญญัติอาวุธปน ป 2007 และ

กฎระเบียบที่เก่ียวของ

8. ดินแดนเมืองหลวงของออสเตรเลีย Australian Capital Territory:

พระราชบัญญัติอาวุธปน ป 1996 พระราชบัญญัติอาวุธตองหาม ป 1996 ระเบียบอาวุธ

ปน ป 2008 และ ระเบียบอาวุธตองหาม ป 1997

3.5.1 พระราชบัญญัติอาวุธปน 199644

3.5.1.1 สวนที่ 2 แนวคิดที่สําคัญ45

มาตรา 5 หลักการและวัตถุประสงคแหงพระราชบัญญัติ46

(1) หลักการพื้นฐานตามพระราชบัญญัตินี้ คือ

(a) เพื่อยืนยันการครอบครองอาวุธปนและใชเปนสิทธิพิเศษที่

เปนเงื่อนไขที่ตองดําเนินการเพื่อรับรองความปลอดภัยของประโยชนสาธารณ; และ

(b) ในการปรับปรุงความปลอดภัยของประชาชน

(i) โดยการจัดเก็บภาษีการควบคุมที่ เขมงวดในการ

ครอบครองและการใชอาวุธปน; และ

(ii) โดยการสงเสริมการจัดเก็บที่ปลอดภัยและมีความ

รับผิดชอบและการใชอาวุธปน; และ

44 Firearms Act 1996 A1996-74 Republication No 39 Effective: 3 March 2015 Republication date: 3 March 2015 Last amendment made by A2015-3 Authorised by the

ACT Parliamentary Counsel45 เรื่องเดียวกัน, หนา 446 เรื่องเดียวกัน, หนา 4

Page 180: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

156

(c) เพื่ออํานวยความสะดวกวิธีการแหงชาติเพื่อการควบคุมอาวุธ

ปน

(2) วัตถุประสงคของพระราชบัญญัติ มีดังนี้

(a) เพื่อหามการครอบครองและการใชอาวุธปนอัตโนมัติ ปนยาว

ที่โหลดกระสุนไดดวยตัวเองและปนลูกซอง(รวมทั้งปนแบบปมแอ็กชั่น) ยกเวนในกรณีพิเศษ

(b) เพื่อสรางการออกใบอนุญาตแบบบูรณาการและรูปแบบการ

ลงทะเบียนสําหรับอาวุธปนทั้งหมด

(c) เพื่อใหทราบถึงความประสงคของผูที่มีหรือใชอาวุธปนภายใต

อํานาจของใบอนุญาตที่เปนเหตุผลที่แทจริงสําหรับการครอบครองหรือใชอาวุธปน;

(e) เพื่อตองการใหมีขอกําหนดที่เขมงวดในระดับที่นาพอใจ

เกี่ยวกับการออกใบอนุญาตอาวุธปนและการซื้อและการขายอาวุธปน;

(f) เพื่อใหแนใจวาอาวุธปนที่ไดรับการจัดเก็บและลําเลียงใน

ลักษณะที่ปลอดภัยและเชื่อถือได

(g) จัดใหมีการนิรโทษกรรมในชวงเวลาการเปดใหนําอาวุธปน

ตองหามบางอยางมามอบใหราชการ

3.5.1.2 ความหมายของอาวุธปน

มาตรา 6 ความหมายของอาวุธปน47

(1)ในพระราชบัญญัตินี้

อาวุธปน

(a)หมายถึงปนหรืออาวุธอื่นๆ ที่ในเวลาใดๆ สามารถขับเคลื่อน

กระสุนปนไปไดโดยวิธีการอันเกิดจากแรงระเบิด; และ

(b) หมายความรวมถึง

(i) ปนยิงกระสุนซอมยิง; และ

(ii) ปนลม; และ

(iii) ปนเพนทบอล; และ

47 เรื่องเดียวกัน, หนา 5

Page 181: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

157

(iv) สิ่งที่ประกาศใหเปนอาวุธปนตามมาตรา 31; และ

(V) รายการที่มีการปรับเปลี่ยน; และ

(vi) โครงอาวุธปนหรือเครื่องรับปนที่ไมไดเปนสวนหนึ่งของปน

(2) แตปนไมหมายความรวมถึง

(a) สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ตามระเบียบไมไดกําหนดวาเปนปน; หรือ

(b) ประกาศสิ่งที่ไมเปนอาวุธปนตามมาตรา 31

(3) ในสวนนี้:

รายการที่มีการปรับเปลี่ยนหมายถึงสิ่งที่จะเปนปน ถา

(a) มันไมไดมีสวนอยางใดอยางหนึ่งขาดหายไปจากมันหรือมี

ความบกพรองหรือมีการอุดตัน; หรือ

(b) บางสิ่งบางอยางไมไดรับการเพิ่มลงไป

3.5.1.3 อาวุธปนตองหาม

มาตรา 7 ความหมายของอาวุธปนตองหาม48

(1) ในพระราชบัญญัตินี้

อาวุธปนตองหาม

(a) ความหมาย

(i) อาวุธปนที่อธิบายไวในตารางเวลา 1; และ

(ii) อาวุธปนตามที่กําหนดในขอบังคับ และ

(iii) สิ่งที่ประกาศใหเปนปนตองหามตามมาตรา 31; และ

(b) อาวุธปนที่ถูกปรับเปลี่ยน

(2) อยางไรก็ตามปนตองหามไมรวมถึงบางสิ่งบางอยางที่ไมมีประกาศ

เปนปนตองหามตามมาตรา 31

(4) ในสวนนี้:

ปนดัดแปลงหมายความวาอาวุธปนที่จะเปนอาวุธปนตองหาม ถา

48 เรื่องเดียวกัน, หนา 6

Page 182: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

158

(a) มันไมไดมีสวนอยางใดอยางหนึ่งขาดหายไปจากมัน หรือมี

ความบกพรอง หรือมีการอุดตัน; หรือ

(b) บางสิ่งบางอยางไมไดรับการเพิ่มลงไป

3.5.1.4 การซื้ออาวุธปน

มาตรา 8 ความหมายของการซื้อ49

(1) ในพระราชบัญญัตินี้

การไดรับอาวุธปนหรือกระสุน หมายความวา

(a) การซื้อ การยอมรับ การไดรับ หรือการเขาครอบครองอาวุธปน

หรือกระสุน; แต

(b) ไมรวมถึงการเขาครอบครองชั่วคราวอาวุธปน

(2) ในสวนนี้:

การครอบครองอาวุธปนชั่วคราว ผูที่สามารถครอบครองอาวุธปน

ชั่วคราวได มีดังนี้

(a) ผูที่ไดรับอนุญาตเปนตัวแทนจําหนายที่มีอาวุธปนไวในครอบครอง

ถาเปน

(i) การซอมแซมรักษาหรือทดสอบ; หรือ

(ii) ผูที่เก็บไวสําหรับจะมอบใหกับตัวแทนจําหนาย; หรือ

(b) ถาเปนบุคคลที่มีหนาที่ในการลงทะเบียนใหกับสมาชิกหรือ

บุคคลที่ไดครอบครองอาวุธปน; หรือ

(c) ถาเปนบุคคลที่มีอํานาจที่จะมีหรือใชอาวุธปนตามมาตรา 14 (ผู

มีอํานาจที่จะมีและใชอาวุธปนชั่วคราว) และบุคคลที่มีอาวุธปนในครอบครอง; หรือ

(d) ถาเปนปนเพนทบอล คนที่มีอํานาจที่จะมีการใชงานหรือเก็บปน

เพนทบอลตามมาตรา 15 (ปนเพนทบอล -ผูมีอํานาจที่จะมีเพื่อใชงานหรือรานคา) และ

บุคคลที่มีปนเพนทบอลในความครอบครอง ; หรือ

(e) ในกรณีอื่นๆ ตามที่กําหนดในกฎระเบียบ

49 เรื่องเดียวกัน, หนา 7

Page 183: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

159

3.5.1.5 การจําหนายอาวุธปน

มาตรา 9 ความหมายของจําหนาย50

ในพระราชบัญญัตินี้

จําหนายปน หมายถึง การขาย ใหไป หรือการโอนครอบครองอาวุธปน

3.5.1.6 สวนที่ 5 การประกาศเกี่ยวกับอาวุธปน51

มาตรา 33 นายทะเบียนอาวุธปน52

หัวหนาเจาหนาที่ตํารวจอาจแตงตั ้งบุคคลที่เปนเจาหนาที่ตํารวจ

ตั้งแตระดับผูกํากับขึ้นไปเปนนายทะเบียนอาวุธปน

มาตรา 34 หนาที่ของนายทะเบียน53

นายทะเบียนมีหนาที่กําหนดใหนายทะเบียนโดยพระราชบัญญัตินี้หรือ

กฎหมายอื่นๆ ของดินแดน

มาตรา 35 ผูแทนนายทะเบียน54

นายทะเบียนอาจมอบหมายหนาที่ของนายทะเบียนตามพระราชบัญญัติ

นี้ใหกับเจาหนาท่ีตํารวจ

มาตรา 36 รายงานและขอเสนอแนะ55

นายทะเบียนจะตองรายงานตอรัฐมนตรีในเรื่องใดๆ ที่รัฐมนตรีสั่งการให

นายทะเบียนมีหนาที่รายงาน

มาตรา 37 ขอแนะนําของรัฐมนตรี56

(1) รัฐมนตรีอาจกําหนดแนวทางในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้

50 เรื่องเดียวกัน, หนา 851 เรื่องเดียวกัน, หนา 2552 เรื่องเดียวกัน, หนา 2553 เรื่องเดียวกัน, หนา 3454 เรื่องเดียวกัน, หนา 2655 เรื่องเดียวกัน, หนา 2656 เรื่องเดียวกัน, หนา 26

Page 184: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

160

(2) รัฐมนตรีวาการกระทรวงอาจกําหนดแนวทางเกี่ยวกับการตัดสินใจ

ตอไปนี้โดยนายทะเบียน:

(a) การตัดสินใจเกี่ยวกับประโยชนสาธารณะตามมาตรา 18 (1) (c) (การ

ประเมินเกณฑความเหมาะสมของบุคคล);

(b) การวินิจฉัยภายใตมาตรา 20 (การอนุมัติหลักสูตร ฯลฯ โดยนาย

ทะเบียน);

(c) การวินิจฉัยภายใตมาตรา 31 (ประกาศนายทะเบียนอาวุธปน);

(d) การวินิจฉัยตามพระราชบัญญัตินี้

(i) การออกใบอนุญาต; หรือ

(ii) การใสเงื่อนไขในใบอนุญาต; หรือ

(iii) ระงับใบอนุญาต;

(e) การตัดสินใจเกี่ยวกับการอนุมัติภายใตการใดๆ ของสวนตอไปนี้:

(i) มาตรา 39 (ผูฝกสอนที่ไดรับการรับรองและสมาชิกสโมสร);

(ii) สวน 73 (1) (e) (ใบอนุญาตอาวุธปนของผูบรรลุนิติภาวะ-

เงื่อนไข);

(iii) สวน 94 (1) (b) (ใบอนุญาตอาวุธปนผูเยาว-เงื่อนไข);

(iv) มาตรา 116 (1) (f) (ใบอนุญาตอาวุธปนของนิติบุคคล-เงื่อนไข);

(V) สวน 130 (1) (จ) (ใบอนุญาตอาวุธปนชั่วคราวแกชาวตางชาติ-

เงื่อนไข);

(vi) สวน 244 (ความผิด-ในการขายอาวุธโดยผูขายที่ไดรับ

ใบอนุญาตจําหนายอาวุธปน);

(vii) สวน 245 (ความผิด-ในการขายอาวุธโดยสมาชิกสโมสรที่ไดรับ

อนุญาต);

(viii) สวน 248 (ความผิด-การไดรับสิทธิในการขายอาวุธ);

(ix) สวน 252 (ความผิด-การทําใหเสียหาย การเปลี่ยนแปลง การ

เพิกถอนสัญลักษณ หมาลขเลขทะเบียน);

(f) การตัดสินใจเกี่ยวกับการอนุมัติภายใตการใด ๆ ของสวนตอไปนี้:

Page 185: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

161

(i) 221 สวน (การยิงปนในสถานที่สาธารณะ ฯลฯ );

(ii) สวน 222 (1) (b) (การปลดระวางปนทั่วไป);

(iii) สวน 250 (การดัดแปลงอาวุธปน)

(3) นายทะเบียนจะตองปฏิบัติตามหลักเกณฑใดๆ ที่กําหนดไวเกี่ยวกับ

การตัดสินใจโดยนายทะเบียน

(4) นอกจากนี้ รัฐมนตรีอาจกําหนดแนวทางเกี่ยวกับเรื่องตอไปน้ี:

(a) การจัดเก็บที่ปลอดภัยอาวุธปนในสถานที่;รวมถึงอาคารสถานที่

ยานพาหนะ

(b) การทําใหอาวุธปนใชงานไมได;

(c) การดําเนินงานการถายภาพวิถีกระสุน;

(d) การดําเนินงานจัดระเบียบปนเพนทบอล;

(e) การแกไขทะเบียนที่จําเปนในการจะเก็บไวโดยไดรับใบอนุญาต

จําหนายอาวุธปนตามพระราชบัญญัตินี้

(5) แนวทางปฏิบัติในกรณีไมอนุมัติใบอนุญาต

มาตรา 54 ใบอนุญาตอาวุธปนของผูบรรลุนิติภาวะ – การใชงาน57

(1) ของผูบรรลุนิติภาวะสามารถจะยื่นคําขอตอนายทะเบียนใบอนุญาต

อาวุธปนของผูบรรลุนิติภาวะ

(2) คํารองขอประกอบดวย

(a) หลักฐานแสดงตัวตนของผูขอตามความตองการภายใตการ

รายงานธุรกรรมทางการเงินตามพระราชบัญญัติ 1988 (Cwlth) ที่นํามาใชใน

ความสัมพันธกับการเปดตัวของบัญชีธนาคาร; และ

(b) ขอมูลตามที่กําหนดในขอบังคับ และ

(c) เอกสารที่กําหนดไวในระเบียบ

มาตรา 55 ใบอนุญาตอาวุธปนของผูบรรลุนิติภาวะ-นายทะเบียนตอง

แจงผูยื่นคําขอเกี่ยวกับการฝก ฯลฯ58

57 เรื่องเดียวกัน, หนา 41

Page 186: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

162

ในวันที่ไดรับคําขอสําหรับใบอนุญาตอาวุธปนของผูบรรลุนิติภาวะ นาย

ทะเบียนจะตองแจงขอมูลใหผูยื่นคําขอทราบ

(a) อาวุธปนจะไดรับการอนุมัติ เมื่อผูยื่นคําขอผานหลักสูตรการฝกอบรม;

และ

(b) การเก็บรักษาอาวุธปนและความปลอดภัยตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา 56 ใบอนุญาตอาวุธปนของผูบรรลุนิติภาวะ-ความตองการสําหรับ

ขอมูลเพิ่มเติมอื่นๆ59

(1) ในสวนนี้จะนําไปใชกับคํา รองขอสําหรับใบอนุญาตอาวุธ

ปนของผูบรรลุนิติภาวะ

(2) นายทะเบียนอาจจะใหผู ยื่นคําขอแจงเปนลายลักษณอักษรใน

กรณีที่นายทะเบียนตองการสอบถามขอมูลเพิ่มเติม หรือใหสงเอกสารใหนายทะเบียน

เพื่อใชตัดสินใจเกี่ยวกับคํารองขอ

(3) โดยไมถูกจํากัดตามบทบัญญัติใน (2) ถานายทะเบียนมีเหตุผล

สมควรเชื่อวาสุขภาพจิตของผูยื่นคําขออาจสงผลกระทบตอความสามารถของผูยื่นคํา

ขอที่จะจัดการกับอาวุธปนที่อยูในความรับผิดชอบ นายทะเบียนอาจจะขอใหผูยื่นคําขอ

ยินยอมใหมีการเปดเผยขอมูลสุขภาพสวนบุคคลเกี่ยวกับผูยื่นคําขอ จากบันทึกสุขภาพตอ

นายทะเบียน

(4) ถาผูยื่นคําขอไมยินยอมกับการดําเนินการตาม (2) (ที่นอกเหนือจากที่

เกี่ยวของกับการไดรับความยินยอมดังกลาวใน (3)) นายทะเบียนอาจปฏิเสธที่จะ

พิจารณาคํารองขอตอไป

(5) ในสวนนี้:

ส ุขภาพบ ันท ึกด ูประว ัต ิส ุขภาพ (ความ เป น ส ว นต ัวและ

Access) พระราชบัญญัติ 1997, พจนานุกรม

58 เรื่องเดียวกัน, หนา 4159 เรื่องเดียวกัน, หนา 41

Page 187: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

163

สุขภาพสวนบุคคลที่จะเห็นขอมูลประวัติสุขภาพ (ความเปน

สวนตัวและ Access) พระราชบัญญัติ 1997, พจนานุกรม

มาตรา 57 ใบอนุญาตอาวุธปนของผูบรรลุนิติภาวะ – การตัดสินใจ60

ในการขอใบอนุญาตอาวุธปนของผูบรรลุนิติภาวะ นายทะเบียน

จะตองออกใบอนุญาต เวนแตมีการปฏิบัติที่ไมถูกตองตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา 58 ใบอนุญาตอาวุธปนของผูบรรลุนิติภาวะ – การปฏิเสธ61

(1) นายทะเบียนจะตองปฏิเสธที่จะออกใบอนุญาตอาวุธปนของผูบรรลุนิติ

ภาวะที่จะขอรับใบอนุญาต จนกวาจะไมมีขอสงสัยในเหตุผลและหลักฐาน

(a) เกี่ยวกับตัวตนของผูยื่นคําขอ; และ

(b) ผูยื่นคําขอมีเหตุผลที่สมควร; และ

(c) ผูยื่นคําขอมีเหตุผลอยางแทจริงสําหรับการครอบครองหรือใชอาวุธ

ปน; และ

(d) ผูยื่นคําขอยินยอมที่จะปฏิบัติตามสวนที่ 12 (การเก็บรักษา

ความปลอดภัยของอาวุธปน) เกี่ยวกับกับอาวุธปนที่จดทะเบียนภายใตใบอนุญาต; และ

(e) ซึ่ง-

(i) ผูยื่นคําขอมีหรือกําลังจะมีถิ่นที่อยูตามพระราชบัญญัตินี้;

หรือ

(ii) ภายใตบังคับของมาตรา 61 เปนความจําเปนที่ผูยื่นคําขอ

จะตองครอบครองหรือใชอาวุธปนโดยชอบดวยกฎหมายเนื่องจากอาชีพหรือการ

ปฏิบัติงานตามที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี;้ และ

(f) อาวุธปนที่จดทะเบียนภายใตใบอนุญาตจะถูกเก็บไวใน

ระบบตามพระราชบัญญัตินี้

(2) นายทะเบียนจะตองปฏิเสธที่จะออกใบอนุญาต ถา

(a) ผูยื่นคําขอไมไดเปนผูบรรลุนิติภาวะหรือ

60 เรื่องเดียวกัน, หนา 4261 เรื่องเดียวกัน, หนา 43

Page 188: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

164

(b) สําหรับคํารองขออื่นที่ไมใชการตออายุใบอนุญาต

(c) สําหรับคํารองขอสําหรับใบอนุญาตอื่นๆ นอกเหนือจาก

หมวดหมู D ใบอนุญาตที่ผูยื่นคําขอยังไมผานการฝกอบรมในแตละหลักสูตรการ

ฝกอบรมที่นํามาใชสําหรับอาวุธปนตามประเภทของใบอนุญาต; หรือ

(d) สําหรับคํารองขอสําหรับประเภทที่ D ใบอนุญาตของผูยื่นคํา

ขอไมไดรับการรับรองจากกิจการที่ไดรับการอนุมัติจากนายทะเบียน; หรือ

(e) นายทะเบียนมีเหตุผลเชื่อวาการออกใบอนุญาตจะขัดกับ

ประโยชนสาธารณะ

(3) ไดรับการอนุมัติของกิจการภายใต (2) (d) เปนตราสารที่จะตอง

แจงใหเจาหนาที่ทราบ

3.5.1.7 สวนที่ 9 ใบอนุญาตโดยทั่วไป62

มาตรา 141 อํานาจทั่วไปในการออกใบอนุญาต63

นายทะเบียนจะดําเนินการออกใบอนุญาตประเภทหนึ่งหรือมากกวา

ดังตอไปนี้:

(a) มีไวในครอบครองหรือการใชอาวุธปนในพฤติการณที่กําหนด

โดยระเบียบ (รวมถึงภาพยนตรหรือละครโปรดักชั่น);

(c) การทําใหสั้นหรือการแปลงอาวุธปนตามพฤติการณที่กําหนดโดย

ระเบียบ;

(d) สิ่งอื่นที่ถูกตองตามที่ระเบียบกําหนดใหตองไดรับอนุญาต

3.5.1.8 สวน 11 การลงทะเบียนอาวุธปนและผูใชอาวุธปน64

มาตรา 155 ความหมายของเจาของและผูใชเฉพาะในสวน1165

ในสวนนี้:

62 เรื่องเดียวกัน, หนา 10063 เรื่องเดียวกัน, หนา 10064 เรื่องเดียวกัน, หนา 10865 เรื่องเดียวกัน, หนา 108

Page 189: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

165

เ จ า ขอ งและร ายละ เอ ียด ข องผู ใช ที ่เ กี ่ย ว ข อ งก ับอ า ว ุธ ป นที่

ลงทะเบียน หมายความวา

(a) ชื่อของเจาของอาวุธปนที่จดทะเบียน; และ

(b) ถาเจาของอาวุธปนที่จดทะเบียนเปนนิติบุคคล ใหใชชื่อประธานของ

นิติบุคคลในการจดทะเบียน; และ

(c) ชื่อของแตละผูใชที่ลงทะเบียนอาวุธปนนั้น และ;

(d) รายละเอียดของใบอนุญาตหรือการอนุญาตของแตละเจาของ

อาวุธปนที่จดทะเบียนหรือผูใชที่ลงทะเบียนอาวุธปน

3.5.1.9 หมวด 11.2 ทะเบียนอาวุธปน

มาตรา 156 ทะเบียนอาวุธปน66

(1) นายทะเบียนจะตองดําเนินการลงทะเบียนอาวุธปนเพื่อเก็บ

รักษาขอมูลผูไดรับใบอนุญาตและผูครอบครองใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้

(2) การลงทะเบียนจะตองเก็บไวในวิธีที่สามารถนํามาใชไดโดยสะดวก

(a) การลงทะเบียนจะเชื่อมโยงกับโครงการระดับชาติสําหรับการ

จัดการอาวุธปนหรือการลงทะเบียนตามที่กําหนดในขอบังคับ และ

(b) ขอมูลในการลงทะเบียนใหเขาถึงไดโดยรัฐอื่นๆ และหนวยงาน

ภาครัฐที่รับผิดชอบการบริหารหรือการบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของกับอาวุธปน

(3) อาวุธปนที่มีใบอนุญาตอาวุธปนชั่วคราวแกชาวตางชาติ ไมจําเปนตอง

ไดรับการจดทะเบียน

มาตรา 157 เนื้อหาของการลงทะเบียน67

การลงทะเบียนประกอบดวย

(a) สําหรับจดทะเบียน อาวุธปนแตละกระบอก

(i) เจาของและรายละเอียดของผูใช; และ

(ii) ที่อยูของสถานที่ของอาวุธปน

66 เรื่องเดียวกัน, หนา 10867 เรื่องเดียวกัน, หนา 109

Page 190: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

166

(A) เก็บหรือจะถูกเก็บไว; หรือ

(B) ถาเจาของที่ลงทะเบียนไดรับใบอนุญาตเปนตัวแทน

จําหนายอาวุธปนที่อาจมีการขาย; และ

(iii) รายการอื่นใดตามที่กําหนดในขอบังคับ และ

(b) สําหรับผูใชแตละคนที่ลงทะเบียนอาวุธปน

(i) หากผูใชที่ลงทะเบียนเปนลูกจางของตัวแทนจําหนายอาวุธ

ปนตามชื่อที่ไดรับใบอนุญาตใหเปนตัวแทนจําหนาย; และ

(ii) หากผูใชที่ลงทะเบียนเปนลูกจางของนิติบุคคลประกอบกิจการ

ประเภท B หมวดหมูประเภท C หรือชื่อประเภทใบอนุญาตประกอบกิจการของ H; และ

(iii) หากผูใชที่ลงทะเบียนเปนสมาชิกของสโมสร ซึ่งเปนสโมสรที่

ไดรับอนุมัติอยางถูกตอง; และ

(iv) รายการอื่นใดตามที่กําหนดในขอบังคับ และ

(c) ขอมูลอื่นๆ ที่มีความจําเปนตามพระราชบัญญัตินี้ที่จะตองลงไว

ในการลงทะเบียน

3.5.1.10 สวนที่ 15 อัตราโทษ68 มาตรา 220 ความผิดฐานคาอาวุธปนผิดกฎหมาย69

(1) ถาบุคคลที่กระทําความผิดผูนั้น กระทําการฝาฝนบทบัญญัติที่

เกี่ยวของสามครั้งหรือมากกวาครั้งในชวงระยะเวลา 12 เดือน

โทษสูงสุด: จําคุกเปนเวลา 20 ป

มาตรา 221 ใชอาวุธปนในสถานที่สาธารณะ70

(1) หามบุคคลใด เวนแตมีเหตุอันสมควร

(a) พกพาอาวุธปนบริ เวณถนนที่มีคนพลุกพลานหรือในที่

สาธารณะ; หรือ

68 เรื่องเดียวกัน, หนา 15469 เรื่องเดียวกัน, หนา 154127 เรื่องเดียวกัน, หนา 154

Page 191: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

167

(b) ใชอาวุธปนในบริเวณใกลหรือบนถนนหรือสถานที่สาธารณะ ;

เวนแตจะไดรับการอนุมัติเปนลายลักษณอักษรจากนายทะเบียน

โทษสูงสุด: 100 หนวยโทษ71 จําคุก 1 ปหรือทั้งสองอยาง

(2) หามบุคคลใด เวนแตมีเหตุอันสมควร มีอาวุธปนในครอบครอง (ในที่

อันมิใชถนนที่มีคนพลุกพลานหรือในที่สาธารณะ) ในทางที่เปนอันตรายตอชีวิตของ

บุคคลอื่น

โทษสูงสุด: 50 หนวยโทษ จําคุกเปนเวลา 6 เดือนหรือทั้งสองอยาง

มาตรา 228 ความผิด-การผลิตอาวุธปนโดยไมไดรับอนุญาต72

(1) บุคคลที่กระทําความผิด ถาเปนผูผลิตหรือมีสวนรวมในการผลิตอาวุธ

ปน

โทษสูงสุด:

(a) ถาเปนอาวุธปนตองหาม : 1,500 หนวยโทษ จําคุกเปนเวลา

20 ป หรือทั้งสองอยาง; หรือ

(b) ถาไมไดเปนอาวุธปนตองหาม : 1,000 หนวยโทษ จําคุกเปนเวลา

10 ปหรือทั้งสองอยาง

(2) ขอความใน (1) ไมใชกับผูที่ไดรับมอบอํานาจจากตัวแทนจําหนาย

อาวุธปนที่ไดรับอนุญาตในการผลิตอาวุธปน

71 ในออสเตรเลียกฎหมายหนวยโทษ (ยอเปน PU) เปนจํานวนเงินที่ใชในการคํานวณการลงโทษทางการเงิน

สําหรับการละเมิดจํานวนมากของกฎหมายลายลักษณอักษร. คาปรับจะถูกคํานวณโดยการคูณคาของหนึ่ง

หนวยโทษ โดยจํานวนหนวยโทษที่กําหนดไวสําหรับการกระทําผิดกฎหมายในเขตอํานาจศาลที่แตกตางกันทํา

ให แตละรัฐมีหนวยโทษของตัวเอง โดยในรัฐวิกตอเรียมูลคาของหนวยโทษคือจํานวนเงินที่พิมพในราชกิจจา

นุเบกษาตามหนวยพระราชบัญญัติการเงินระหวางประเทศป 2004 อัตราหนวยโทษคงที่ A $ 144.36 เปน ของ 1

กรกฎาคม 2013 ดังนั้นปรับกําหนดเปน 100 หนวยโทษจะตองเสียคาปรับของ $ 14,436 (ปดเศษที่ใกลที่สุด 10

เซนต) หนึ่งหนวยโทษในนิวเซาธเวลสเปน $ 110 หนึ่งหนวยโทษในรัฐควีนสแลนดเปน 113.85 $ ในรัฐแทส

เมเนียคาปจจุบันของหนวยโทษเปน $ 154 การปรับในแตละปขึ้นอยูกับดัชนีราคาผูบริโภค (CPI)

ภายใตกฎหมายของรัฐบาลกลางออสเตรเลียหนวยโทษสําหรับบุคคลเทากับ $ 180 ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2015

72 เรื่องเดียวกัน, หนา 161

Page 192: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

168

(3) ในสวนนี้:

ผลิตอาวุธปน รวมถึงการประกอบปนจากชิ้นสวนอาวุธปน

การมีสวนรวม ถาบุคคลนั้นใชเวลาสวนหนึ่งในการผลิตอาวุธปน

(a) ใชเวลา หรือมีสวนรวมในขั้นตอนหรือทําใหเกิดขั้นตอนที่จะตอง

ดําเนินการในขั้นตอนของการผลิต; หรือ

(b) ใหหรือจัดเงินทุนสําหรับขั้นตอนในกระบวนการ; หรือ

(c) มีสถานที่ที่ขั้นตอนในกระบวนการผลิตจะตองใชหรือชวยให

ขั้นตอนในกระบวนการผลิตดําเนินการไดในสถานที่ซึ่งคนที่เปนเจาของผูเชาหรือผู

ครอบครองหรือการที่บุคคลนั้นมีการดูแลควบคุมหรือจัดการสถานที่นั้น

มาตรา 231 การโฆษณาการขายอาวุธปน73

บุคคลตองไมกอใหเกิดการเผยแพรโฆษณาขายปนหรือสวนหนึ่งสวน

ใดของอาวุธปน เวนแต

(a) บุคคลที่เปนตัวแทนจําหนายที่ไดรับใบอนุญาตอาวุธปน; หรือ

(b) การเสนอขายจะไดรับการจัดโดยหรือผานตัวแทนจําหนายที่

ไดรับใบอนุญาตอาวุธปน

โทษสูงสุด: 50 หนวยโทษ

มาตรา 233 การขนสงอาวุธปนและกระสุน74

ผูใดมีสวนรวมในธุรกิจการขนสงสินคาโดยไมมีขอแกตัวที่เหมาะสมใน

การขนสงสินคาใดๆ ที่มีทั้งอาวุธปนและกระสุนปน

โทษสูงสุด: 50 หนวยโทษ

มาตรา 234 หามขนสงอาวุธปนหรือปนพก75

บุคคลตองไมขนสง (หรือไมในการดําเนินธุรกิจ) อาวุธปนตองหามหรือ

ปนพกยกเวนวาไดปฏิบัติตามขอกําหนดดานความปลอดภัยที่กําหนดไว

73 เรื่องเดียวกัน, หนา 16374 เรื่องเดียวกัน, หนา 16475 เรื่องเดียวกัน, หนา 164

Page 193: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

169

โทษสูงสุด: 50 หนวยโทษ

มาตรา 235 ครอบครองลํากลองอะไหลสําหรับอาวุธปน76

บุคคลที่ไมตองมีลํากลองอะไหลสําหรับปน เวนแตบุคคลนั้นไดรับ

อนุญาตตามใบอนุญาตหรือไดรับใหมีอาวุธปนหรือลํากลองอะไหล

โทษสูงสุด: 50 หนวยโทษ จําคุกเปนเวลา 6 เดือนหรือทั้งสองอยาง

มาตรา 240 การทําอาวุธปนใหสั้นลง77

(1) หามบุคคลใดกระทําการเวนแตไดรับอนุญาตใหทําเชนนั้นโดยมี

ใบอนุญาต

(a) ทําอาวุธปนใหสั้นลง (นอกเหนือจากปนพก); หรือ

(b) ภายใตบังคับมาตรา 241 (1), มีอาวุธปนดังกลาวใดๆ ที่ไดรับ

การตัดใหสั้น; หรือ

(c) การขายหรือใหครอบครองอาวุธปนดังกลาวที่ไดรับการตัดให

สั้นไปยังบุคคลอื่น

โทษสูงสุด: 50 หนวยโทษ จําคุกเปนเวลา 6 เดือนหรือทั้งสองอยาง

76 เรื่องเดียวกัน, หนา 16477 เรื่องเดียวกัน, หนา 167

Page 194: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

บทที่ 4วิเคราะหปญหาของมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมทะเบียนอาวุธปน

ของประเทศไทย และผลกระทบตอผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนและสังคม

เนื่องจากอาวุธปนเปนสิ่งประดิษฐที่มนุษยคิดคนและสรางขึ้นมาโดยมี

วัตถุประสงคโดยตรงในการใชเปนเครื่องมือในการประหัตประหารสิ่งมีชีวิตทุกชนิด อาวุธปน

ถือวาเปนศาสตราวุธที่มีอานุภาพรายแรง สามารถทําอันตรายตอชีวิตและรางกายทั้ง

มนุษยและสัตวทุกประเภทไดอยางเฉียบขาด ดังนั้น อาวุธปนจึงมีทั้งคุณอนันตและ

โทษมหันต เพราะหากอาวุธปนอยูในความครอบครองของบุคคลที่ดี อาวุธปนนั้นก็

สามารถใชในการปองกันชีวิตและทรัพยสินของบุคคลนั้นตลอดจนครอบครัวและญาติพี่

นองไดเปนอยางดี แตในทางตรงกันขามหากอาวุธปนตกอยูในมือของคนราย ยอมเปนสิ่ง

ที่เลวรายและเปนอันตรายอยางยิ่งตอท้ังพลเมืองดีและสังคม

นอกจากนี้อาวุธปนยังเปนเครื่องมือที่จําเปนอยางยิ่งที่เจาหนาที่ของรัฐซึ่ง

มีหนาที่ในการปองกันและปราบปรามอาชญากรรมตางๆ จะตองมีไวประจํากายและ

ตองฝกฝนการใชอาวุธปนดังกลาวจนชํานาญเพื่อใชในการตอสูกับคนรายที่มีอาวุธปน

ไดอยางมีประสิทธิภาพ

อยางไรก็ตามแมทุกประเทศตางยอมรับวาอาวุธปนเปนสิ่งที่อันตราย แต

เนื่องจากในสภาพแวดลอมของสังคมปจจุบันที่ตองยอมรับความจริงวามีอันตรายแอบ

แฝงอยูในทุกสถานที่ การหวังพึ่งพาความชวยเหลือจากเจาหนาที่ของรัฐในยามวิกฤต

อาจไมทันการณ ทําใหบุคคลจํานวนมากตองการมีอาวุธปนไวในครอบครองเพื่อใชใน

การปองกันชีวิตและทรัพยสินของตนและครอบครัวตลอดจนญาติพี่นองใหพนอันตราย

จากผูประสงครายทั้งหลาย ซึ่งจากความตองการอาวุธปนดังกลาวจึงกอใหเกิดการประกอบ

ธุรกิจการคาอาวุธปนที่ถูกตองตามกฎหมายขึ้น และถือไดวาธุรกิจการคาอาวุธปนเปน

ธุรกิจที่มีมูลคาทางการตลาดสูงมาก มีการพัฒนาและออกแบบอาวุธปนแบบใหมๆ ที่มี

ประสิทธิภาพสูงออกมาสูทองตลาดอยางตอเนื่องตลอดเวลาที่ผานมา

เพื่อมิใหอาวุธปนกอใหเกิดปญหาเกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของสังคม

และความมั่นคงของประเทศของตน ทุกๆ ประเทศในโลกจึงตองมีมาตรการทางกฎหมาย

ในการควบคุมทะเบียนอาวุธปนอยางรอบคอบและรัดกุม เพื่อใหสามารถควบคุมและ

Page 195: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

171

ตรวจสอบอาวุธปนทุกกระบอกที่อยูในความครอบครองของประชาชนไดอยางมี

ประสิทธิภาพ ประกอบกับการกําหนดมาตรการทางกฎหมายอยางเขมงวดในการ

กลั่นกรองใหอาวุธปนดังกลาวอยูในความครอบครองของบุคคลที่มีความประพฤติดี มีที่

อยูเปนหลักแหลง มีอาชีพการงานสุจริต และประการสําคัญตองไมเคยมีประวัติการกอ

อาชญากรรมที่รายแรงมากอน ซึ่งมาตรการของแตละประเทศก็มีความเขมงวดแตกตาง

กันตามลักษณะขนบธรรมเนียมจารีตประเพณีของแตละประเทศ บางประเทศเขมงวด

มากที่สุด เชน ประเทศสิงคโปร ประเทศมาเลเซีย ประเทศอังกฤษ ฯลฯ บางประเทศเขมงวด

ปานกลางถึงมาก เชน ประเทศไทย ประเทศฟลิบปนส ฯลฯ และบางประเทศเขมงวดนอย

เชน ประเทศฮอนดูรัส ประเทศสหรัฐอเมริกา ฯลฯ

ปญหาเกี่ยวกับเรื่องการควบคุมอาวุธปนนี้ คณะกรรมาธิการยุติธรรมและ

สิทธิมนุษยชน วุฒิสภาเคยทํารายงานการศึกษาเรื่อง “ศึกษาพระราชบัญญัติอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490” โดยการ

วิจัยเชิงสํารวจและนําเขาที่ประชุมวุฒิสภาเพื่อรายงานเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2546 ผล

การศึกษาปรากฏวาประชาชนสวนใหญเห็นวาการอนุญาตใหประชาชนทั่วไปมีอาวุธปน

ยังมีความจําเปนอยูแตอาจกําหนดมาตรการในการอนุญาตอาวุธปนใหมีความเขมงวด

มากขึ้น และควรหามการพกพาอาวุธปนโดยเด็ดขาด โดยขอ เสนอแนะของ

คณะกรรมาธิการ มีดังนี้

1. ไมควรอนุญาตใหพกพาอาวุธปนโดยเด็ดขาด โดยตํารวจทหารใหพกพา

ไดเฉพาะในการปฏิบัติหนาที่ในเครื่องแบบ กรณีนอกเครื่องแบบใหพกพาไดเฉพาะ

ตํารวจสันติบาลเทานั้น และเมื่อใชในหนาที่ราชการเสร็จตองมีการสงคืนตามระเบียบ

ทันที ทั้งนี้ตองกําหนดบทลงโทษผูฝาฝนรุนแรงถึงขั้นประหารชีวิต

2. ควรจํากัดรานคาที่จําหนายอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนไมใหมีเพิ่มมากขึ้น

และผูซื้อกระสุนตองไดรับอนุญาตดวย การพิจารณาอนุญาตตองเปนไปโดยเขมงวด

เชน เจาของปนที่มาซื้อตองมีหลักฐานหรือมีเหตุผลวากระสุนเดิมที่มีอยูไดใชไปในเรื่องใด

เพราะอะไร หรือตองมีหลักฐานวากระสุนเดิมเสื่อมอายุ รวมทั้งกําหนดมาตรการ

ควบคุมกระสุนสําหรับซอมยิงใหใชไดในสนามซอมที่ไดรับอนุญาตเทานั้น

Page 196: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

172

3. ควรจัดใหมีศูนยรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับการขออนุญาตใหมีและใชอาวุธปน

และการอนุญาตใหพกพาอาวุธปน โดยใหนายทะเบียนกลางทําหนาที่รวบรวมรวบรวม

ขอมูลทางสถิติและจัดระบบการรวบรวมขอมูลทางสถิติ

4. การกําหนดมาตรการในการควบคุม

4.1 ควรกําหนดมาตรการในการควบคุมการอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน

อยางเครงครัดและเขมงวด โดยตรวจสอบความจําเปนอยางยิ่งของแตละบุคคล

ตลอดจนพิจารณาจากกระแสการหมุนเวียนทางดานการเงิน อาชีพที่มั่นคง มีผูรับรอง

ความประพฤติและสถานะทางการเงิน

4.2 กรณีเจาของอาวุธปนยายที่อยูหรือเปลี่ยนภูมิลําเนา จะตองมีการยาย

อาวุธปนติดตามไปดวย

4.3 ผูมีหนาที่เกี่ยวของกับอาวุธปนควรตองพิจารณาการควบคุมอาวุธปน

ใหมีประสิทธิภาพ โดยมีการกําหนดจํานวนการอนุญาตใหมีอาวุธปนตอคนใหเหมาะสม

รวมทั้งหามาตรการในการควบคุมอาวุธปนที่หมดสภาพแลววาควรจะดําเนินการ

อยางไร

4.4 ควรมีการแยกประเภทอาวุธใหเปนระบบ เชน อาวุธปนที่ชํารุด อาวุธ

ปนที่ควรเก็บรักษา อาวุธปนสวยงาม หรืออาวุธปนที่ใชในการแขงขันกีฬา เปนตน

5. ควรกําหนดใหนําอาวุธปนมาตรวจสอบทุกสามหรือหาป

6. ควรจัดใหมีการฝกอบรมใหแกผูมาขออนุญาตมีอาวุธปนไวในครอบครอง

ในเรื่องกฎแหงความปลอดภัย รวมทั้งใหมีการทดสอบหลังการฝกอบรมเชนเดียวกับการ

ขออนุญาตใบขับขี่รถยนต

7. อาวุธปนทุกกระบอกตองทําการยิงเพื่อเก็บหลักฐานไวที่กองทะเบียน

ประวัติ สํานักงานตํารวจแหงชาติ

8. ควรหามาตรการในการควบคุมอาวุธอิเล็กทรอนิกสที่อาจมีในอนาคต

ดวย1

1 สุเจตน สงสัมพันธสกุล, “ปญหาและแนวทางแกไขปญหาการบังคับใชพระราชบัญญัติอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490: ศึกษาเฉพาะกรณี

Page 197: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

173

4.1 สภาพปญหาของมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมทะเบียนอาวุธปน พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่ง

เทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 ซึ่งเปนกฎหมายหลักที่ใชในการควบคุมทะเบียนอาวุธปนนั้น

จากขอเท็จจริงเบื้องตนที่ไดกลาวมาแลวทั้งหมด จึงขอสรุปประเด็นปญหาที่

เกี่ยวของกับการควบคุมทะเบียนอาวุธปน ดังนี้

4.1.1 ประเด็นปญหาอายุของใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนไมเหมาะสม

จากการที่มาตรา 23 (3) แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุ

ระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 บัญญัติใหใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธ

ปน (แบบ ป.4) มีอายุตลอดเวลาที่ผูรับใบอนุญาตเปนเจาของอาวุธปนนั้น กอใหเกิด

สภาพปญหาในการควบคุมทางทะเบียนอาวุธปนในประเทศไทยเปนอยางยิ่ง กลาวคือ

ในขอเท็จจริงนั้นเมื่อนายทะเบียนทองที่ออกใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนใหกับ

เจาของอาวุธปนไปแลว การที่ใบอนุญาตดังกลาวไมมีการกําหนดวันหมดอายุเอาไวทํา

ใหการติดตามตรวจสอบอาวุธปนทั่วประเทศจํานวนหลายลานกระบอกเปนไปไดยาก

เพราะเจาของอาวุธปนจะนําอาวุธปนพรอมใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนมาใหนาย

ทะเบียนทองที่ตรวจสอบอีกครั้งก็ตอเมื่อจะมาทําการยาย หรือมีการโอนโดยการซื้อขาย

หรือรับมรดกเทานั้น และปญหาที่สําคัญคือบางครั้งเมื่ออาวุธปนกระบอกดังกลาวเกิด

การสูญหายหรือถูกทําลาย แทนที่เจาของอาวุธปนจะแจงเหตุพรอมกับนําใบอนุญาตสง

มอบใหนายทะเบียนทองที่ภายในสิบหาวันตามมาตรา 21 แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 เจาของอาวุธ

ปนบางรายกลับเก็บใบอนุญาตดังกลาวไวและพยายามหาอาวุธปนเถื่อนที่มีรุนหรือ

ยี่หอเดียวกันมาทําการสวมทะเบียนแทน หรือบางครั้งเจาของอาวุธปนบางรายก็จะใช

วิธีการขายใบอนุญาตดังกลาวเพื่อใหบุคคลอื่นที่มีอาวุธปนเถื่อนในครอบครองอยูแลว

นําใบอนุญาตไปสวมทะเบียนปนเถื่อนดังกลาว ซ่ึงผลจากการกระทําดังกลาวขางตนสงผลให

ในปจจุบันอาวุธปนจํานวนไมนอยในประเทศไทยที่มีลักษณะเปนอาวุธปนเถื่อนที่สวม

ทะเบียนแทนอาวุธปนที่ถูกตองตามกฎหมายไปแลว และอาวุธปนที่ผิดกฎหมายเหลานี้

การควบคุมอาวุธปน”, ผลงานหลักสูตรการอบรม “หลักสูตรผูพิพากษาผูบริหารในศาลชั้นตน”,

(สถาบันพัฒนาขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม สํานักงานศาลยุติธรรม), 2555 หนา 20 - 21

Page 198: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

174

จํานวนหนึ่งอยูในความครอบครองของเหลามิจฉาชีพที่พรอมจะนําออกมาใชในการกระทํา

ความผิดตางๆ ไดอยางไมลังเลใจ ซึ่งมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองแกไขเพิ่มเติม

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน

พ.ศ. 2490 ในประเด็นเกี่ยวกับอายุของใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนซึ ่งเดิมมีอายุ

ตลอดเวลาที่ผูรับใบอนุญาตเปนเจาของอาวุธปนแกไขใหใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธ

ปนมีอายุคราวละหาปนับแตวันออก ทั้งนี้ เจาของอาวุธปนจะตองนําอาวุธปนพรอม

ใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนมาใหนายทะเบียนทองที่ตรวจสอบและตออายุ

ใบอนุญาตทุกๆ หาป ซึ่งจะทําใหนายทะเบียนทองที่สามารถควบคุมตรวจสอบอาวุธปน

ทุกๆ กระบอกที่อยูในเขตทองที่ของตนไดอยางถูกตอง อันจะสามารถแกปญหาการนํา

ปนเถื่อนมาสวมทะเบียนใบอนุญาตไดอยางมีประสิทธิภาพ แตอยางไรก็ตาม การ

บังคับใชกฎหมายอยางเครงครัด ในกรณีตรวจพบอาวุธปนเถื่อน หรืออาวุธปนที่ไมชอบดวย

กฎหมาย จะตองมีการดําเนินคดีอยางเฉียบขาด และลงโทษตามกฎหมายโดย

เครงครัด ก็จะเปนอีกมาตรการหนึ่งที่สามารถแกไขปญหาดังกลาวได โดยเปนทั้งการปอง

ปรามและการปองกันอันจะทําใหสังคมเกิดความสงบเรียบรอยมากยิ่งขึ้น

4.1.2 ประเด็นปญหาการไมมีระบบควบคุมทางทะเบียนอาวุธปนที่เหมาะสม

ในประเด็นปญหานี้มีปญหาที่ตองศึกษาสองเรื่อง คือ

4.1.2.1 การจัดเก็บขอมูลหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปนของอาวุธปนที่

ไดรับใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนทุกกระบอกเพื่อจัดทําทะเบียนอาวุธปน

ในขณะนี้กฎหมายวาด วยอาวุธปนของประเทศไทย อัน

ประกอบดวยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่ง

เทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 ซึ่งเปนกฎหมายหลัก และกฎหมายลําดับรองที่ออกโดย

อาศัยอํานาจของพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง

และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 นั้นไมมีบทบัญญัติใดที่ใหมีลักษณะเปนการจัดเก็บ

รายละเอียดเกี่ยวกับอาวุธปนโดยใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยแตอยางใด ซึ่งการจัดเก็บหัว

กระสุนปนและปลอกกระสุนปนของอาวุธปนที่ไดรับใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนทุก

กระบอก เพื่อจัดทําระบบควบคุมทางทะเบียนอาวุธปนที่ทันสมัยนับเปนแนวความคิด

ที่เปนประโยชนตอการควบคุมทางทะเบียนอาวุธปนของประเทศไทยเปนอยางมาก

Page 199: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

175

เพราะหากประเทศไทยสามารถดําเนินการจัดเก็บหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปน

ของอาวุธปนทุกกระบอกที่มีใบอนุญาตไดอยางครบถวนและ จัดทําขอมูลไวในระบบ

เทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางสมบูรณครบถวนแลว ยอมมองเห็นประโยชนสาธารณะ

อยางมหาศาลที่จะตามมาก็คือหากมีการนําอาวุธปนที ่ม ีใบอนุญาตไปใชในการ

กระทําความผิดและเจาหนาที่สามารถตรวจพบหัวกระสุนปนหรือปลอกกระสุนปนในที่

เกิดเหตุ ก็จะสามารถตรวจสอบและทราบถึงชื่อและรายละเอียดของเจาของอาวุธปน

ที่ใชในการกระทําความผิดไดอยางรวดเร็วและยังสามารถนําไปใชเปนพยานหลักฐาน

ในชั้นศาลไดอยางมีประสิทธิภาพอีกดวย

ดังนั้น จึงเปนความจําเปนเรงดวนของประเทศไทยที่จะตองทําการปฏิรูป

การเก็บรายละเอียดเกี่ยวกับอาวุธปนแตละกระบอกท่ีบันทึกในทะเบียนอาวุธปนเสียใหม

จากเดิมที่เปนเพียงการบันทึกรายละเอียดตางๆ เกี่ยวกับอาวุธปนซึ่งไมมีประสิทธิภาพ

เทาที่ควรเปนการจัดเก็บขอมูลทะเบียนอาวุธปนในรูปแบบใหม ซึ่งจากการศึกษา

วิเคราะหเทคโนโลยีการวิเคราะหกระสุนปนตามหลักนิติวิทยาศาสตร สรุปไดวาการ

วิเคราะหกระสุนปนตามหลักนิติวิทยาศาสตร (Bullet and Cartridqe Identification) ปลอก

กระสุน รองรอยจากรูกระสุนและกระสุนที่เกลื่อนกลาดในที่เกิดเหตุจํานวนมากมายนั้น

เพียงพอที ่จะใชส ืบสวนหาคนรายไดไมยากดวยเทคโนโลยีด านนิติวิทยาศาสตร

(Forensic Science) ที่พัฒนาไปอยางมากมาย การวิเคราะหปลอกกระสุนปน หัว

กระสุนปนในที่เกิดเหตุ นําไปสูการจับกุมฆาตรกรหลายตอหลายครั้ง และเปนหลักฐาน

ทางดานวิทยาศาสตรที่แนนหนา แมแตคดีฆาตรกรรมตอเนื่องโดยการซุมยิงที่แทบไมมี

หลักฐานเหลืออยู หรือไมมีแมแตแบบแผนในการลงมือ ตํารวจและเจาหนาที่ไดแกะรอย

จากกระสุนและปลอกกระสุน ซึ่งนําไปสูการจับกุมคนรายในเวลาตอมา

การใชเทคนิควิเคราะหและติดตามคนรายโดยอาศัยรองรอยจากกระสุน

ปนและปลอกกระสุนปนมีมานานแลว ซึ่งบทความ The following paper was published in the

Association of Firearm and Tool Mark Examiners Journal, 30th Anniversary Issue,

Volume 31 Number 3, Summer 1999. Revised April 2008. ของ James E. Hamby ได

รวบรวมที่มาไดอยางครบถวน

Page 200: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

176

แตคดีที่การวิเคราะหหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปนเขามามีบทบาท

อยางมาก จนถือไดวาเปนพระเอกคือ คดีฆาตรกรรมตอเนื่องที่ฆาตรกรใชการซุ มยิง

เหยื่อดวยปนไรเฟล โดยไมมีแบบแผน โดยจะลงมือกระจายอยูในพื้นที่ วอชิงตัน ดีซี แม

รี่แลนด และบริเวณรอบๆ โดยมีเหยื่อถึง 10 ราย รวมทั้งนักเรียนอายุ 13 ขวบ ซึ่งใน

ขณะนั้นผูคนผวามาก เพราะไมรูวาฆาตรกรจะลงมือเมื่อไหร ที่ไหน โดยมีทั้งยิงหนา

โรงเรียน บนดานเก็บเงินทางดวน ทางการประกาศเตือนสถานที่เสี่ยงตอการถูกยิง เชน ลาน

ปมน้ํามัน ลานจอดรถหางสรรพสินคา ไมนาเชื่อวา เพียงแคหัวกระสุนปน สามารถนําไปสู

การจับกุมฆาตรกรได

หลักการของการวิเคราะหหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปนคือ ปนแตละ

กระบอกจะใหรองรอยบนหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปนที่แตกตางกัน ดังรูป โดยจะมี

รอย เข็มแทงชนวน นกสับ และชองคายปลอกกระสุนรวมไปถึงรองรอยจากลํากลองปนที่ทิ้ง

เปนของแถม เมื่อใชเครื่องมือขยายออกมา จะไดลักษณะเหมือน DNA หรือ บารโคดเลย

ทีเดียว

Page 201: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

177

ภาพที่ 38 ลักษณะรองรอยบนหัวกระสุนปน

ที่มาของภาพจาก http://www.oknation.net/blog/schamrat/2009/04/22/entry-1.

28 กันยายน 2558

ลั กษณะรองรอยอาจจะมีทั้ งมองไดดวยตาเปลาและใชอุปกรณ

เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น เชน ระบบ National Integrated Ballistics Identification Network

(NIBIN) ของประเทศสหรัฐอเมริกา ที่รวบรวมฐานขอมูลเกี่ยวกับอาวุธปนเอาไว และมี

โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเพื่อชวยในการวิเคราะห และระบุอาวุธที่ใชในคดีฆาตรกรรมตาง ๆ

Page 202: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

178

ภาพที่ 39 การตรวจวิเคราะหหัวกระสุนปนโดยผูเชี่ยวชาญ

ที่มาของภาพจาก http://www.oknation.net/blog/schamrat/2009/04/22/entry-1.

28 กันยายน 2558

ภาพที่ 40 รูปแบบการวิเคราะหหัวกระสุนปน

ที่มาของภาพจาก http://www.oknation.net/blog/schamrat/2009/04/22/entry-1.

28 กันยายน 2558

Page 203: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

179

ภาพที่ 41 รูปแบบการวิเคราะหหัวกระสุนปน

ที่มาของภาพจาก http://www.oknation.net/blog/schamrat/2009/04/22/entry-1.

28 กันยายน 2558

นอกจากนี้ยังมีเทคโนโลยีที่พัฒนาใหมๆ หลายอยาง เชน Microstamping ที่ใช

เลเซอรในการสรางกําลังขยายสูง ๆ เพื่อดูรองรอยที่มองดวยตาเปลาไมเห็น หรือ การ

ตรวจหารองรอยที่อาจมีการลบออกไป

ภาพที่ 42 รูปแบบการวิเคราะหหัวกระสุน

ที่มาของภาพจาก http://www.oknation.net/blog/schamrat/2009/04/22/entry-1.

28 กันยายน 2558

Page 204: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

180

สังเกตไดวารอยเล็กๆ เหลานี้มักจะเปนรอยที่บริษัทผูผลิตประทับตราไว

จากรอยพวกนี้ตํารวจและเจาหนาที่ DSI สามารถสืบไดวา กระสุนลอตนี้ผลิตที่ไหน

เมื่อไหร ซื้อขายใหใคร ปไหน ใชหนวยงานไหน หรือถามีการเล็ดลอด มันเล็ดลอดมาจาก

ไหน2

4.1.2.2 การควบคุมทางทะเบียนอาวุธปน

โดยอาวุธปนทุกกระบอกที่มีใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน ตองมี

การฝงชิปคอมพิวเตอรไวที่ตัวปน โดยชิปดังกลาวจะบันทึกขอมูลรายละเอียดตางๆ

เกี่ยวกับอาวุธปน รายละเอียดเกี่ยวกับผูครอบครองอาวุธปน ฯลฯ ซึ่งพนักงานเจาหนาที่

สามารถใชเครื่องสแกนอานและบันทึกรายละเอียดขอมูลตางๆ ไดอยางรวดเร็วถูกตองและ

แมนยํา

1) ความหมายของชิป (Chip)

หมายถึงวงจรรวม (integrated circuit) ทําหนาที่ เหมือนสาร

กึ่งตัวนํา ใชเปนที่เก็บขอมูลหรือหนวยความจําในไมโครคอมพิวเตอร ในปจจุบัน มีชิป

แบบวีแอลเอสไอ (VLSI หรือ Very large scale integrated circuit ) ซึ่งจะมี

ทรานซิสเตอรเปนพัน ๆตัว แตมีขนาดเล็กนิดเดียว ราคาถูกลงทุกวัน แตมีประสิทธิภาพสูง

มาก ถาชิปใดมีทั้งหนวยความจํา หนวยคํานวณ และตรรกะ เราจะเรียกชิปนั้นวา ไมโคร

โพรเซสเซอร (micro processor) ปจจุบัน เราใชชิปกันมากในเครื่องคอมพิวเตอรขนาดเล็ก

เครื่องคิดเลข นาฬิกา เครื่องมือแพทย ฯ ดู microprocessor ประกอบ3

2 oknation [Online] Available URL :

http://www.oknation.net/blog/schamrat/2009/04/22/entry-1การวิเคราะหกระสุนปนตามหลัก

นิติวิทยาศาสตร (Bullet and Cartridqe Identification). 28 กันยายน 25583 sanook dictionary [Online] Available URL : http://dictionary.sanook.com/search/dict-

computer/chip. 28 กันยายน 2558

Page 205: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

181

2) เทคโนโลยีเกี่ยวกับชิป

(1) ชิป RFID

ทีมนักวิจัยพบวิธีฝงชิป RFID ขนาดจิ๋วเขาไปใยที่ทอเปน

เสื้อผา แถมนําไปซักและอบไดตามปกติ

ภาพที่ 43 ชิป RFID

ที่มาของภาพจาก http://jimmysoftwareblog.com/node/1593. 28 กันยายน 2558

เทคโนโลยี RFID ( Radio Frequency Identification )

นั้นเขามาอยูกับชีวิตประจําวันของคนเรามากขึ้นเรื่อยๆ เรียกวาอยูทั่วไปรอบตัวเลยก็วา

ได กับสิ่งของไฮเทคที่ทํางานไดเองแบบไมตองเขาไปสัมผัส เชนบัตรผานประตูคอนโด

กุญแจรถ บัตรพนักงานบริษัท บัตร 7-11 บัตรรถไฟฟา บัตรทางดวน ซึ่งเพิ่มความ

สะดวกใหเราอยางมากมาย แลว RFID คืออะไร

แทจริงแลว ก็คือการสงคลื่นวิทยุออกจากชิพเล็กๆ ที่ฝงไว

ในบัตรหรือในกุญแจรถที่เราถืออยูไปที่ตัวรับ จากนั้นก็จะมีการยืนยันตัวตนแลวจะ

ประมวลผลอะไรก็วากันตอไป เดี ๋ยวนี้เราไมตองไขกุญแจรถแลว แคเดินเขาไปใกลก็

Page 206: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

182

สามารถกดรีโมทเปดประตูรถได สตารทเครื่องยนตได ที่กั้นทางดวนสามารถยกเอง

ไดและตัดเงินจากบัตรโดยอัติโนมัติ เปนตน

ในวงการอื่นก็ใช RFID กันอยางแพรหลาย เลาหมูบาง

แหงในเมืองไทยตอนนี้ก็ฝงชิพนี้ไวในตัวหมู ระบบจะควบคุมใหเครื่องใหอาหารปลอย

อาหารมาตามปริมาณที่เหมาะสมกับหมูแตละตัว โดยเจาของจะรูดวยวาหมูตัวไหนมีเลข

ประจําตัวอะไร เปนโรคอะไร อายุน้ําหนักเทาไร สะดวกขึ้นมาก

ภาพที่ 44 ขนาดของ ชิป RFID

ที่มาของภาพจาก http://jimmysoftwareblog.com/node/1593. 28 กันยายน 2558

เมื่ อเร็ วๆนี้ ที มนั กวิ จั ยจาก Nottingham Trent University

(NTU) เผยแพรงานวิจัยของตนวาสามารถพัฒนาชิป RFID ที่มีขนาดเล็กจิ๋วกวาที่เคยทํา

กันมาสําเร็จ เล็กเสียจนนําไปใสไวในเสนใยเพื่อใชในการทําสิ่งทอได

ชิป RFID จิ๋วนี้มีขนาดยาวเพียง 1 มม กวาง 0.5 มม. หุมดวย

แทงเรซินเพื่อปกปองชิ้นสวนละเอียดออนจากความชื้นและความรอนในขณะที่เสื้อผาถูก

นําไปซักหรืออบแหง ตัวชิปจะถูกเชื่อมตอกับเสนทองแดงฟนเกลียวขนาดเล็กทั้ง 2 ดาน

เพื่อทําเปนเสาอากาศ ตอไปหางสรรพสินคาก็ไมจําเปนตองติดแท็ก RFID ที่เสื้อผาเพื่อกัน

ขโมย เสื้อแบรนดเนม ก็ไมตองกลัววาจะมีของกอปเพราะสามารถเช็คไดไมยาก อีกหนอย เราก็

ไมตองพกบัตรอะไรเยอะแยะ เสื้อฟอรมพนักงานจะทําใหเราเดินผานประตูไปไดโดยไม

Page 207: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

183

ตองหยิบบัตรมาแตะ ในอนาคต เสื้อผาเราจะฉลาดจนคุยกับสมารทโฟนรูเรื่องก็เปนไป

ได4

(2) เวอริชิป" (VeriChip)

เวอริชิป เปนปฏิมากรรมเทคโนโลยียุคใหมที่นาจับตาใกลชิด

เหตุเพราะเปนสิ่งหนึ่งที่จะเขาไปมีสวนชวย ในการดํารงชีวิตมนุษยอยางแทจริง ที่สําคัญเปนอีก

เทคโนโลยี ที่เขาไปมีสวนผลักดัน เปล่ียนแปลงการดําเนินการ ในหลายวงการตางๆ ไมวาจะ

เปนวงการแพทย เจาหนาท่ีรักษาความปลอดภัย ตลอดจนองคกรอุตสาหกรรมอื่นๆ

ทั้งนี้หากใครเคยชมภาพยนตรแนววิทยาศาสตรสมมติ หรือ

ไซ-ไฟ อยาง Sixth day มาบาง คงพอคุนตา กับฉากการฝงชิพไวในตัวมนุษย เพื่อติดตาม

ความเคลื่อนไหวตางๆ และดูเหมือนภาพยนตรแหงจินตนาการเหลานั้นกําลังเปนรูปเปน

รางขึ้นมาบางแลว เมื่อมีความพยายามในการคิดคนชิพสําหรับฝงไวภายในรางกาย

มนุษย เพื่อใหความชวยเหลือทางการแพทย อาทิ สามารถแจงเหตุฉุกเฉิน และขอความ

ชวยเหลือ กรณีเด็กเกิดอุบัติเหตุ หรือบอกถึงยามที่ผูขับขี่เมาสุรามีอาการแพ รวมถึง

ประวัติการรักษา เพื่อประกอบการวินิจฉัยของแพทยที่รับตัวผูประสบเหตุดังกลาว เขา

รักษาในโรงพยาบาล นอกจากนี้ เมื่อพอแมเด็กเดินทางถึงโรงพยาบาล พวกเขาก็เพียง

ยื่นมือขางที่ฝงชิพไวของตัวเอง เพื่อจัดการกับคาใชจาย ที่เกิดขึ้น ซึ่งจะมีขอมูลเชื่อมตอ

ประกันสุขภาพที่พวกเขาทําไวแลวนั่นเอง แมขณะนี้ ภาพเหตุการณตัวอยางเหลานั้น

จะยังไมเกิดขึ้นจริง แตทุกอยางที่กลาวถึง ก็สามารถเปนไปได ดวยเทคโนโลยีชิพ

ดังกลาว ซึ่งอาจมีประโยชนอื่นอีกมากมายนอกเหนือจากที่กลาวถึง ไมวาจะเปนการชี้

ตําแหนงกรณีเด็กหลงทาง หรือกระทั่งผูปวยโรคอัลไซเมอร

นายคริส ฮาเบิลส เกรย ศาสตราจารยทางวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีแหงมหาวิทยาลัยเกรท ฟอลล ในมอนแทนา กลาวถึงชิพดังกลาววา

ทายที่สุดแลว ชิพจะเปนเสมือนบัตรเครดิต ที่ทําใหเราไมจําเปนตองพกพาเงินสดติดตัว

4JIMMY,S BlOG [Online] Available URL : http://jimmysoftwareblog.com/node/1593. 28 กันยายน

2558

Page 208: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

184

อีกตอไป อยางไรก็ตาม นายลี เตียน ทนายความอาวุโสแหงมูลนิธิอิเล็กทริค ฟรอนเทีย

ใหขอคิดไววา เทคโนโลยีใดก็ตาม ในทํานองนี้ ยอมเสี่ยงตอการละเมิดสิทธิสวนบุคคล

ไดงาย พรอมชี้วา หากสามารถเฝาติดตาม ความเคลื่อนไหวของเด็กได พอแมของเด็ก

เหลานั้นจะยอมใหผูอื่นติดตามดวยไดหรือไม ซึ่งกรณีนี้ ไมตางอะไรกับการเปนดาบสอง

คมนั่นเอง การวิจัยและถกเถียงเกี่ยวกับไมโครชิปแบบฝง ไมใชของใหมเสียทีเดียว โดย

หากยอนกลับไปเมื่อป พ.ศ.2541 มีการทดลอง ฝงชิปไวภายในแขนของนายเควิน วอร

วิค ศาสตราจารยแหงมหาวิทยาลัยรีดดิง นอกกรุงลอนดอน เพื่อติดตามดูความ

เปลี่ยนแปลงของคอมพิวเตอรวา สามารถสื่อสารไรสายสัมพันธกับการเคลื่อนไหวของ

นายวอรวิค ภายในบริเวณ มหาวิทยาลัยหรือไม

จากนั้นบริษัท แอพพลายส ดิจิทัล โซลูชั่นส อิงค. (เอดี

เอส) ในรัฐฟลอริดา กลายเปนอีกหนึ่งความพยายามลาสุด ที่ตองการผลักดันใหการ

ทดลองตางๆ เกิดขึ้นนอกเหนือจากงานวิจัยในสถาบันการศึกษาเทานั้น ซึ่งรวมถึงความ

พยายามในการฝงชิพตามรางกายและมือของมนุษย ตัวแทนของบริษัท เผยวา เมื่อไม

นานมานี้ องคการอาหารและยาอนุญาตใหมีการทดลองอุปกรณ "เวอริชิป "

(VeriChip) กับมนุษยไดแลว โดยชิปดังกลาว จะมีขนาดเทาเมล็ดขาวและสามารถใส

รหัสเพื่อปอนขอมูลตางๆ จากนั้นจึงทําการฝงไวภายใตชั้นผิวหนังของมนุษย เมื่อชิปที่

ถูกฝง ไดรับการตรวจจับจากเครื่องอานขอมูลขนาดพกพา จะทําใหทราบถึงหมายเลข

สวนบุคคล (ID) ซึ่งเชื่อมตอกับไฟลฐานขอมูลคอมพิวเตอร ที่บรรจุไปดวยขอมูล

รายละเอียดตางๆ ของเจาของหมายเลข

นายเคธ โบลตัน หัวหนาฝายเทคโนโลยีของเอดีเอส กลาววา เว

อริชิปยังคงอยูในขั้นเริ่มตนเทานั้น พรอมเผยวา กอนหนานี้บริษัทเริ่มทดลองนําเวอริชิพ

ติดตั้งไวในผลิตภัณฑอีกชิ้นของบริษัท ที่เรียกวา "ดิจิทัล แองเจิล" (Digital Angel) ซึ่งมี

ขนาดเทากระดาษ เพื่อใหสถานดูแลและพอแม สามารถเฝาติดตามอาการและความ

เคลื่อนไหวของผูปวย และเด็กไดตลอดเวลาผานทางดาวเทียมระบบคนหาตําแหนงทั่ว

โลก (จีพีเอส)นายโบลตัน เผยตอวา หากนําทั้งสองชิ้นมารวมกัน ผลิตภัณฑที่เกิดขึ้นจะ

มีขนาดราวหนึ่งในสี่ ของเหรียญที่ใชกันอยู ในสหรัฐ และยังสามารถพัฒนาเพิ่มขึ้น

สําหรับเฝาติดตามผูปวยโรคอัลไซเมอรไดอีกดวย

Page 209: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

185

การทดลองฝงชิปดังกลาว กําลังไดรับการจับตามองอยาง

มาก โดยเฉพาะหลังจาก เกิดเหตุกอการราย ในสหรัฐเมื่อวันที่ 11 กันยายน นายริชารด

ซีลิก อดีตศัลยแพทย ซึ่งปจจุบันรับเปนที่ปรึกษาทางการแพทยใหกับเอดีเอส กลายเปน

มนุษยคนแรกที่ไดรับการฝงเวอริชิปไวในแขนและสะโพกเมื่อวันที่ 16 กันยายน โดยเขา

กลาวถึงการตัดสินใจเปนหนูลองยาของตัวเองวา เกิดขึ้นจากการที่เขาเห็นภาพ

หนวยกูภัยในเหตุการณตึกเวิลดเทรดเซ็นเตอรถลม เขียนขอมูลบนผิวหนังของพวกเขา

เพื่อใชเปนเครื่องหมายชี้ตัวบุคคล หากเกิดกรณีที่พวกเขาไดรับบาดเจ็บจากการกูซาก

ตึกถลมดังกลาว นายซีลิก ระบุวา นั่นเปนสิ่งชี้ชัดถึงความจําเปนที่ตองมีรูปแบบของ

ระบบรักษาความปลอดภัยสวนบุคคลที่พัฒนาขึ้น และทําใหเขาตัดสินใจทดลองฝงชิป

ไวในตัวเอง ยิ่งกวานั้น ไมเพียงแตนายซีลิกเทานั้น ที่อาสาเขารวมการทดลองครั้งนี้ แต

ผูสนใจอีกราว 50 คน ก็ตัดสินใจเขารวมลงทะเบียนกับบริษัท เพื่อขอเปนสวนหนึ่งใน

การทดลองเวอริชิปแลวเชนกัน

ความพยายามตาง ๆที่คาดหวังไว อาทิ การคนหาเด็กพลัด

หลงกับพอแม หรือการแจงขอชวยเหลือในเหตุฉุกเฉิน อาจไมเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล

โดยนอกเหนือจากการตองรอใหองคการอาหารและยาอนุมัติการฝงชิพ ในมนุษยแลว

ซึ่งอาจกินเวลานานหลายป ผูเชี่ยวชาญบางราย ชี้วา ยังมีอุปสรรคอื่นอีกหลายอยางรอ

ใหแกไขอยูดวยเชนกัน5

5 NECTEC [Online] Available URL :

http://www.nectec.or.th/bid/mkt_info_tech_verichip.htm/. 28 กันยายน 2558

Page 210: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

186

ภาพที่ 45 ขนาดของชิบ RFID (radio-frequency identification)

เทียบกับขนาดของเมล็ดขาวสาร

ที่มาของภาพจาก http://www.nectec.or.th/bid/mkt_info_tech_verichip.htm.

28 กันยายน 2558

3) การฝงชิป RFID ในรางกายมนุษย

ขอมูลขาวลาสุดจากตางประเทศที่ไดรับความสนใจอยูในขณะนี้

เกี่ยวกับการเริ่มตนปลูกฝงชิบ RFID (radio-frequency identification) ไวในรางกายมนุษย

ในระดับการใชงานจริง ซึ่งจะเกิดขึ้นกับพนักงานสวนหนึ่งของ Epicenter บริษัทดาน

การรักษาความปลอดภัยของประเทศสวีเดน ในโครงการรับอาสาสมัครโดยสมัครใจ

เพื่อฝงชิปไวในรางกาย และใชสําหรับการสแกนเพื่อเขาถึงขอมูลตางๆ ในบริษัท แทนการใช

วิธีสแกนลายนิ้วมือ หรือการใชการดรูดฝงชิปแบบเกาๆ ที่เคยใชกัน

Page 211: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

187

ภาพที่ 46 ชิบ RFID (radio-frequency identification)ฝงในฝามือมนุษย

ที่มาของภาพจาก http://www.nectec.or.th/bid/mkt_info_tech_verichip.htm.

28 กันยายน 2558

ชิป RFID ที่ถูกฝงอยูในรางการของพนักงานอาสาสมัครโดยสมัคร

ใจจากทั้งหมด 400 คนของบริษัทแหงนี้ จะสามารถครอบคลุมการเขาถึงขอมูล และการ

ใชงานตางๆ ภายในตัวอาคาร เพื่อใชสําหรับการยืนยันตัวตน อาทิเชน การเปดประตู

เขาออกภายในอาคาร การใชงานเครื่องถายเอกสาร เปนตน และในเร็วๆ นี้จะนํามาใช

สําหรับการจายเงินสําหรับการใชงานรถบัส และการซื้อแซนวิส

ภาพที่ 47 ตําแหนงในการฝงชิปในฝามือ

ที่มาของภาพจาก http://www.nectec.or.th/bid/mkt_info_tech_verichip.htm.

28 กันยายน 2558

Page 212: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

188

เทคโนโลยีการฝงชิป RFID (radio-frequency identification) ใน

รางกายมนุษยในครั้งนี้ ยังจํากัดอยูเฉพาะในพนักงานของบริษัท Epicenter เทานั้น ซึ่ง

โครงการตามความสมัครใจดังกลาว ก็ไดรับความสนใจจากพนักงานบริษัท โดยพนักงาน

บางสวนกระตือรือรนและเฝารอคอยโอกาสที่จะไดฝงชิปดังกลาวอยางใจจดใจจอ ในขณะที่

พนักงานบางสวนก็ไมอยากจะใหมีอะไรแปลกปลอมอยูในรางกาย

4) การนําเทคโนโลยีชิป (RFID) มาใชในระบบควบคุมทะเบียนอาวุธ

ปน

ลาสุดมีการพัฒนาปนที่เจาของเทานั้นที่จะยิงได ปนกระบอก

ดังกลาวชื่อวา Armatix iP1 Digital Smart Gun พัฒนาโดยบริษัทจากเยอรมัน มันจะ

ทํางานคูกับนาฬิกาภายในรัศมี 40 เซนติเมตรถึงจะทํางานได นอกจากนี้ยังมีระบบ

รักษาความปลอดภัยอีกชั้นก็คือ ปลดล็อคดวยรหัสผาน 5 หลัก

การออกแบบตัวปนจะคลายกับ Walther PPK/S 9mm ที่เจมส

บอนดใชในหนังเรื่อง Skyfall น้ําหนักของ Armatix iP1 เวลาไมไดใสแมกกาซีนอยูที่

518 กรัม ใชกระสุน .22 LR caliber ระยะหวังผลอยูที่ 69 เมตร

ภาพที่ 48 ปน Armatix IP1 c]t iW1 นาฬิกาขอมือที่ใชในงาน RFID

ที่มาของภาพจาก http://www.dailygizmo.tv/wp-ontent/uploads/2014/05/xl_smart-

gun-Armatix.jpg. 28 กันยายน 2558

เบื้องหลังก็คือชิปที่ปลอยคลื่นวิทยุที่ฝงเอาไวในกระบอกปนที่

จะทําหนาที่สื่อสารกับนาฬิกาขอมือเพื่อใหคนที่สวมอยูเทานั้นถึงจะยิงปนได สวน

รหัสผานจะเอาไวปองกันในกรณีที่ปนหายหรือถูกขโมยจะทําหนาที่ล็อคใหปนใชงาน

Page 213: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

189

ไมได บนกระบอกปนจะมีไฟ LED เอาไวบอกสถานะ เชน แม็กกาซีนปนถูกบรรจุเอาไว

แลวซึ่งไฟนี้จะสรางขึ้นเมื่อปนกับนาฬิกาอยูใกลกัน นอกจากนี้นาฬิกายังสามารถตั้ง

โปรแกรมใหปนยิงไดแบบจํากัดจํานวนครั้งไดอีก ซึ่งปจจุบันกระบอกนี้เริ่มวางขายใน

หลายประเทศแลว6

ชิปที่ฝงเอาไวในตัวปนสามารถเก็บขอมูลจํานวนมากของ

อาวุธปน และผูที่ไดรับอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนไดเปนอยางดี ซึ่งขอมูลที่บรรจุอยูใน

ชิปดังกลาวจะมีประโยชนอยางมากมายตอการควบคุมทางทะเบียนอาวุธปนและการ

ปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ของรัฐ

4.1.3 ประเด็นปญหาการควบคุมจํานวนอาวุธปนที่มีใบอนุญาตของประเทศไทย

ใหมีจํานวนที่เหมาะสมและการแกไขปญหาอาวุธปนนอกระบบ (ปนเถื่อน)

จากขอมูลลาสุดซึ่งปรากฏวาประเทศไทยมีจํานวนอาวุธปนที่ ไดรับ

ใบอนุญาตและบันทึกไวในฐานขอมูลระบบคอมพิวเตอรจํานวนถึง 4,079,657 กระบอก

ทั้งนี้ ยังไมรวมถึงจํานวนการมีและใชอาวุธปน เครื่องกระสุนปน ของหนวยราชการ

และรัฐวิสาหกิจ และการมอบใหประชาชนมีและใชอาวุธปน เครื่องกระสุนปน เพื่อ

ชวยเหลือราชการตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2553 ซึ่งไมอยูภายใตบังคับแหงพระราชบัญญัติ

อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490

เมื่อเทียบกับจํานวนประชากรของประเทศไทย ณ ปจจุบันที่มีจํานวน

65,729,098 คน7 คิดเปนอัตราสวนจํานวนอาวุธปนไดประมาณ 1 ตอ 16 หมายความวา

ขณะนี้ในจํานวนคนไทย 16 คน หนึ่งในนั้นเปนผูมีอาวุธปนไวในครอบครอง ทั้งนี้ ยังไม

รวมถึงอาวุธปนนอกระบบอีกจํานวนมาก เชน อาวุธปนเถื่อนที่ผลิตจากตางประเทศแต

ไมนํามาขึ้นทะเบียน อาวุธปนเถื่อนที่ผลิตในประเทศไทยจําพวกปนลูกซองสั้นตางๆ ปน

ไฟแช็ค ปนปากกาของนักศึกษาชางกลตางๆ รวมทั้งอาวุธสงครามประเภทเอ็ม 16 เอเค

47 (อาการ) หรือแมแตเครื่องยิงลูกระเบิดเอ็ม 79 ที่มีการนํามาใชยิงบอยครั้งในชวง

6 ailygizmo [Online] , Available URL:

http://www.dailygizmo.tv/wpcontent/uploads/2014/05/xl_smart-gun-Armatix.jpg. 28 กันยายน

25587 ประกาศกรมการปกครอง เรื่อง แจงขอมูลทางการปกครอง ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ 2559

Page 214: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

190

ที่มีสถานการณชุมนุมทางการเมืองกันอยางไมเกรงกลัวตอกฎหมาย ฯลฯ ซึ่งอาวุธปน

นอกระบบเหลานี้ไมสามารถทราบจํานวนที่แนนอนไดแตก็ประมาณการไววานาจะมีอยู

หลายแสนกระบอกกระจายซุกซอนอยูในทุกพื้นที่ของประเทศไทย

ปนเถื่อน หมายถึง ปนที่ไมไดรับการขึ้นทะเบียน หรือปนที่ขึ้นทะเบียนถูกตอง

แตมีเหตุอยางใดอยางหนึ่ง ที่ทําใหอาวุธปนนั้นตองถูกยกเลิกทะเบียน หรือเครื่องหมาย

ทะเบียนถูกลบแกไข ฯลฯ สามารถแบงไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ ปนยี่หอดังท่ีมีการผลิต

จากบริษัทตางประเทศ แตมีการลักลอบนําเขามาในประเทศไทย โดยไมมีการเสียภาษี

หรือใบอนุญาตอยางถูกตองตามกฎหมาย และปนเถื่อนที่ผลิตข้ึนเองในประเทศไทย หรือเรียก

กันวา ปนไทยประดิษฐที่ใชกระสุนขนาด 9 มิลลิเมตร ขนาด .38 หรือใชกระสุนลูกซอง

เบอร 12 เบอร 20 นอกจากนี้ยังรวมถึงปนที่มี

ทะเบียนแตถูกโจรกรรม ลบทะเบียน และนํามาใชกอคดี8

ทุกวันนี้ปนเถื่อน ไมตางจากการหาของใชในรานคาขายของชํา ดวยจํานวนปน

เถื่อนที่มีอยูมาก หางาย และราคาถูก แตกลับตรวจสอบจํานวนที่แทจริงไดยาก

เนื่องจากมีการซื้อขายกันอยางอุนหนาฝาคั่ง จึงไมทราบแนชัดวามีจํานวนมากเทาไหรที่

แฝงตัวอยูในสังคม จนวันหนึ่งที่เผยตัวก็อาจถูกนําไปใชเปนเครื่องมือกอเหตุอาชญากรรมเสีย

แลว แมหลายคนจะรูวาการครอบครองปนเถื่อนมีความผิด เพราะอาจเปนที่มาของการ

เกิดอาชญากรรมได แตดวยราคาที่ถูกกวาปนถูกกฎหมายทั่วไป ทั้งการซื้อขายสามารถ

ทําไดงาย และมีหลากหลายชองทาง ไมวาจะเปนการติดตอซื้อผานคนรูจัก หรือการ

จําหนายผานทางอินเทอรเน็ต ที่มีใหเลือกมากมายกอนตัดสินใจซื้อ และดวยหลายเหตุ

ปจจัยหนุนนําใหคนครอบครองปนเถื่อนไดงาย แตถาปนเหลานี้ไปอยูกับคนเลือดรอนก็

อาจนําไปใชในทางที่ผิดไดงายเชนกัน และยิ่งถาตกไปอยูในมือของพวกมิจฉาชีพ โจร

ผูราย อันธพาลสังคมดวยแลว ก็จะเปนวังวนปนเถื่อนที่ถูกนําไปใชกระทําความผิดอยาง

ไมมีที่สิ้นสุด9

8 [Online] , Available URL :

http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9550000090048. 28 กันยายน 25589 เรื่องเดียวกัน

Page 215: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

191

จากการสอบถามนักเลนปน ยานหลังวังบูรพา แหลงจําหนายอาวุธปนที่ใหญ

ที่สุดของประเทศไทย เลาใหฟงวา ปนที่คนรายนํามาใชกอเหตุยิงกัน สวนใหญเปนปน

เถื่อน ซึ่งการเขาถึงก็งายมาก ใครจะซื้อจะขายตองมาที่นี่ มีทั้งปนเถื่อนและถูกกฎหมาย

เรื่องสถานที่ขายไมมีหนาราน แคใชสถานที่แหลงขายปนเพ่ือนัดเจอกันและสงของเทานั้น

เพราะรานที่ขายปนถูกกฎหมายเขาก็ไมกลาเสี่ยง นอกจากนี้การจําหนายปนในอินเทอรเน็ต

ก็เปนอีกหนึ่งชองทางการซื้อขาย กอนที่จะมีการนัดเจอตัวเพ่ือสงของถึงมือผูซื้อ ซึ่งตอนนี้

มีเว็บไซตที่เกี่ยวกับอาวุธปนมากกวา 20 เว็บไซต ใชเปนพื้นที่แลกเปลี่ยนขอมูลความรู

รวมทั้งมีบอรดซื้อขายปนดวย และเปนเรื่องธรรมดาที่ตองมีปนเถื่อนรวมจําหนาย จาก

การสังเกตพบวาการขายปนผิดกฎหมายทางอินเทอรเน็ตดูจะมีสภาพคลองกวาปน

ถูกตองตามกฎหมายเสียอีก อยางเชนเว็บบอรดหนึ่ง มีสมาชิกไดลงประกาศขายปนเถื่อน

พรอมบอกลักษณะและคุณสมบัติอยางครบถวนไววา “มีปนเถื่อนทุกขนาดเฉพาะพกสั้น

เปนของใหม ผลิตเอง งานเนี๊ยบ สวย รับประกันได ดามไมทุกตัว ไมไดทําเกลียวลํา

กลอง หมดแม็กไมมีขัดลํา ของมีพรอมสง ลูกซองสั้น เบอร 12 สีดํา 2,000 บาท สแตน

เลส 3,000 บาท ไมมีอะไรยุงยากในวงการนี้ มีทุกอยางใหเลือกสรร เงินมาของไป”10

จากจํานวนอาวุธปนที่มีปริมาณมากมายนี้ รวมทั้ง ปญหาการแพรหลายของ

อาวุธปนเถื่อนในทุกพื้นที่ดังที่ไดกลาวมาแลวจึงเปนความจําเปนเรงดวนที่ประเทศ

ไทยจะตองหามาตรการแกไข ดวยการแกไขกฎหมายที่ควบคุมอาวุธปนคือพระราชบัญญัติ

อาวุธปน เครื่องกระสุนปนวัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490

รวมทั้งการออกกฎหมายลําดับรองเชน กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ฯลฯ เพื่อจํากัด

การมีและใชอาวุธปน เชน การอนุญาตใหมีอาวุธปนไวในครอบครองคนละไมเกิน 2

กระบอก (ปนสั้น 1 กระบอก ปนยาว 1 กระบอก) การเพิ่มอัตราโทษผูมีอาวุธปนเถื่อนไว

ในครอบครองใหมีอัตราโทษที่หนักถึงขั้นจําคุกตลอดชีวิตหรือประหารชีวิตซึ่งเปนอัตรา

โทษในระดับเดียวกันกับที่ประเทศสิงคโปรใชไดผลมาแลว ฯลฯ รวมถึงการบังคับใช

กฎหมายอยางเครงครัด และมีมาตรการในการลงโทษที่เฉียบขาด รวมถึงการดําเนินคดี

10 เรื่องเดียวกัน

Page 216: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

192

ทางอาญา ก็จะเปนอีกมาตรการหนึ่งในการควบคุมจํานวนอาวุธปนและผูครอบครองมิ

ใหกระทําผิดกฎหมาย

4.1.4 ประเด็นปญหาการสอบความรูความสามารถในการใชอาวุธปน

สืบเนื่องมาจากขอเท็จจริงที่วาผูที่ครอบครองรถจักรยานยนตหรือรถยนต

เมื่อขับยานพาหนะดังกลาวจะตองมีใบอนุญาตขับขี่ดวย โดยผูนั้นตองหัดขับรถและ

เรียนรูถึงกฎหมายตางๆที่ เกี่ยวกับการจราจรเพ่ือจะไปสอบใบอนุญาตขับขี่รถยนต หาก

สอบไมผานตามเกณฑที่กําหนดทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติจะตองสอบใหมจนกวา

จะผานเกณฑจึงจะไดรับใบอนุญาตขับขี่รถยนต และจะไดใบอนุญาตชั่วคราวหนึ่งป

กอน เมื่อครบหนึ่งปจึงจะสามารถขอเปลี่ยนเปนใบอนุญาตอายุหาปได

รถจักรยานยนตหรือรถยนตซึ่งเปนทรัพยสินประเภทสังหาริมทรัพยธรรมดา

ในการใชงานก็ยังตองมีการสอบเพื่อขอใบอนุญาตขับขี่กอนเพื่อใหเกิดความมั่นใจวาผูที่

สอบผานเกณฑและไดรับใบอนุญาตขับขี่แลว จะสามารถขับขี่รถจักรยานยนตหรือ

รถยนตไดอยางปลอดภัย เพื่อประโยชนทั้งแกตัวผูขับขี่เองและผูโดยสาร รวมทั้งไมเกิด

อันตรายตอประชาชนผู เด ินถนนหรือผูใชรถใชถนนอื่นๆ แตเหตุใดอาวุธปนซึ่งเปน

ทรัพยสินที่มีสภาพความเปนอาวุธรายแรงโดยสภาพกลับไมมีการทดสอบความรูความ

เขาใจเกี่ยวกับกฎหมายอาวุธปน หลักความปลอดภัยในการใชอาวุธปน ความรู

ความสามารถและประสิทธิภาพในการใชอาวุธปน เพื่อเปนหลักประกันความปลอดภัย

ตอสังคมและประชาชนทั่วไปวาผูที่ซื้ออาวุธปนมาแลวจะตองเปนผูที่สามารถใชอาวุธ

ปนไดอยางถูกตองตามกฎหมาย รูหลักความปลอดภัยในการใชอาวุธปน มีความรู

ความสามารถและประสิทธิภาพในการใชอาวุธปนไดเปนอยางดี

จึงตองมีการกําหนดไวในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุน

ปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 วาผูที่จะขออนุญาตมีและใช

อาวุธปนนอกจากคุณสมบัติตางๆ ที่กําหนดไวในกฎหมายปจจุบันแลวตองเพิ่ม

คุณสมบัติใหตองเปนผูที่สอบผานเกณฑการทดสอบความรูความสามารถในการใช

อาวุธปนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติตามหลักเกณฑและวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศ

กําหนด

Page 217: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

193

4.1.5 ประเด็นปญหาการตรวจสภาพทางจิตในการขอใบอนุญาตใหมีและใช

อาวุธปน

จากเหตุการณการกราดยิงเกิดขึ้นครั้งใหญๆ ในสหรัฐอเมริการะหวางป

2525-2555 มีถึง 49 ครั้ง ที่ฆาตกรซื้ออาวุธมาอยางถูกกฎหมาย มีเพียง 11 ครั้ง และเมื่อ

เทียบกับประเทศอื่นๆ ในโลก สหรัฐอเมริกาเปนประเทศที่มีอาวุธปนตอหัวประชากรมาก

ที่สุดในโลก คือประชากรจํานวน 270 ลานคนมีอาวุธในครอบครอง หรือโดยเฉลี่ยคิด

เปนชาวอเมริกันทุกๆ 10 คน มีอาวุธปน 9 กระบอก สวนประเทศที่มีอาวุธปนรองลงมา

คือเยเมน ฟนแลนด ไซปรัส และอิรัก สวนประเทศที่มีประชากรครอบครองอาวุธปนนอย

ที่สุด คือ ญี่ปุน ซึ่งตอ 100 คน มีเพียง 1 คนเทานั้นถือมีอาวุธปน และเมื่อดูความรุนแรง

จากการฆาตกรรมดวยอาวุธปน เมื่อเทียบกับประเทศที่พัฒนาแลว เชน ในยุโรป

แคนาดา อินเดีย และออสเตรเลีย ขอมูลก็ชี้วา สหรัฐมีอัตราความรุนแรงที่เกิดจากปน

ล้ําหนามากกวาประเทศอื่น โดยสถิติของชนิดอาวุธที่ใชฆาตกรรม คิดเปนปนรอยละ

68 จากประเภทอาวุธทั้งหมด แตถาหากเทียบกับประเทศอื่นๆ ในโลก ประเทศที่ถือวามี

ความรุนแรงจากปนมากที่สุด คือฮอนดูรัส และบางประเทศในอเมริกาใตและ

แอฟริกาใต11

เหตุการณกราดยิงสังหารหมูโดยใชอาวุธปนที่รายแรงหลายครั้งนั้นเกิดจาก

ฆาตกรที่มีความผิดปกติทางจิต เพื่อใหเห็นความรุนแรงของปญหาในเรื่องนี้ ผูจัดทํา

วิทยานิพนธขอนําเรื่องการสังหารหมูที่พอรตอารเทอร มาเปนอุทาหรณใหเห็นถึงความ

รุนแรงที่เกิดขึ้นจากผูที่มีความผิดปกติแตมีอาวุธปนอานุภาพรายแรงไวในครอบครอง

โดยชอบดวยกฎหมาย และนํามาสูการแกไขกฎหมายอาวุธปนครั้งใหญในออสเตรเลียดังนี้

การสังหารหมูที่พอรตอารเทอร12 เปนเหตุการณสะเทือนขวัญอันเปนเหตุใหมี

ผูเสียชีวิต 35 ราย และบาดเจ็บ 37 ราย เกิดขึ้นในวันที่ 28 เมษายนพ.ศ. 2539 โดยนาย มารติน

11 [Online] , Available URL : http://www.oknation.net/blog/olympic2549/2013/01/19/entry-1.

28 กันยายน 255812 การสังหารหมูพอรตอารเทอร [Online] , Available URL : https://th.wikipedia.org/wiki/การ

สังหารหมูพอรตอารเทอร_(ออสเตรเลีย). 28 กันยายน 2558

Page 218: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

194

ไบรแอนต (Martin John Bryant) ชายวัย 28 ปจากเมืองนิวทาวน โดยบริเวณเกิดเหตุสวน

ใหญคือสวนประวัติศาสตรพอรตอารเทอร เขาถูกพิพากษาวาเปนเหตุใหผูอื่นเสียชีวิตถึง

35 ชีวิตและถูกจองจําตลอดชีวิตโดยไมมีโอกาสไดรับการอภัยโทษ ปจจุบัน ผูตองหาราย

นี้ถูกคุมขังอยูที่ ศูนยจองจําวิลเฟรด (Wilfred Lopes Centre) ใกลกับเรือนจําริสดอน

(Risdon Prison) เหตุการณในครั้งนี้นับเปนเหตุสะเทือนขวัญที่สุดในออสเตรเลีย และ

เปนหนึ่งในเหตุการณสะเทือนขวัญของโลกในปจจุบัน

เหตุการณสังหารหมูที่พอรตอารเทอรนี้ คลายคลึงกับเหตุการณในเมือง

Dunblane ในสก็อตแลนด ที่เกิดเหตุคลายคลึงกัน (การสังหารหมูที่เมืองDunblane)

เมื่อไมกี่สัปดาหกอนหนานี้ ทําใหชุมชนของทั้ง 2 เมืองแลกเปลี่ยนสิ่งของกันไปวางไว

อาลัยที่อนุสรณของเหตุการณดังกลาวทั้งสองเหตุการณ

ศาสตราจารย พอล มูเลน นักจิตวิทยา Forensic ทําการวิจัยเพิ่มเติมพบวา

เหตุการณสังหารหมูท่ีพอรตอารเทอรและที่เกิดขึ้นกอนนี้ ในออสเตรเลียและนิวซีแลนดนั้น

เปนอาชญากรรมลอกเลียนแบบ (Copycat Crime) จากทฤษฎีนี้ บรรดาสื่อมวลชน ก็

พยายามแนะนําเพื่อปองกันการเกิดพฤติกรรมลอกเลียนแบบอาชญากรรม ที่เคยเกิดขึ้น

กอนหนานี้ ในแทสเมเนีย นักสืบก็พบวารายการ A Current Affair (รายการโทรทัศนใน

ออสเตรเลีย ปจจุบันก็ยังฉายอยูทางชอง 9 ของออสเตรเลีย) ไดแนะนําการฆาตัวตาย

ซึ่งเปนไปไดวาจะทําใหเกิดการยอมรับการสังหารหมู แตแรงจูงใจใหไบรแอนตกอเหตุนั้น

นาจะมาจากการสังหารหมูที่ Dunblane

ในประเทศไทยแมจะไมเคยเกิดเหตุการณกราดยิงอยางรายแรงดังเชนที่เกิด

ในประเทศสหรัฐอเมริกา หรือออสเตรเลียก็ตาม แตก ็ต องยอมรับขอเท็จจริงว า

เหตุการณที่มีการใชอาวุธปนยิงกันของประเทศไทยนั้นมีขาวลงในหนังสือพิมพทุกวัน

รวมแลวแตละปก็มีจํานวนไมนอยทีเดียว จึงมีความเห็นวานาจะตองมีการกําหนดไวใน

บทบัญญัติของพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่ง

เทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490วาผูที่จะขออนุญาตมีและใชอาวุธปนนอกจากคุณสมบัติตางๆ ที่

กําหนดไวในกฎหมายปจจุบันแลวตองเพิ่มการใหมีใบรับรองจากจิตแพทยวาเปนบุคคลที่มี

สภาวะทางจิตปกติไมมีแนวโนมวาเปนผูมีอารมณแปรปรวนชอบใชความรุนแรงหรือชอบ

ทะเลาะวิวาททํารายผูอื่นประกอบดวย

Page 219: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

195

4.2 ผลกระทบตอผูประกอบกิจการคาอาวุธปนจากการปรับปรุงมาตรการควบคุมทะเบียนอาวุธปน 4.2.1 มูลคาการประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนของประเทศไทย

จากสถิติขอมูลปจจุบันนับถึงเดือนมกราคม 2558 ประเทศไทยมีการ

ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการคาอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน ดังนี้

- รานคาอาวุธปนในทองที่กรุงเทพมหานคร จํานวน 381 ใบอนุญาต

- รานคาอาวุธปนในทองที่ตางจังหวัด จํานวน 121 ใบอนุญาต

- รวม จํานวน 502 ใบอนุญาต

ในแตละปรานคาอาวุธปนที่ไดรับใบอนุญาตใหจําหนายอาวุธปนและ

เครื่องกระสุนปนสําหรับการคา (แบบ ป.5) จะสามารถนําเขาอาวุธปนเพื่อจําหนายไดไมเกิน

ใบอนุญาตละ 80 กระบอก โดยแยกเปนอาวุธปนยาวทุกชนิดไมเกินใบอนุญาตละ 50

กระบอก และอาวุธปนสั้นทุกชนิดไมเกินใบอนุญาตละ 30 กระบอก สําหรับในสวนกระสุน

ปนใบอนุญาตแตละฉบับสามารถนําเขาอาวุธปนแยกเปนประเภทตางๆ ดังนี้

- กระสุนปนลูกโดด ทุกชนิด/ขนาด ไมเกินใบอนุญาตละ 2,000 นัด

- กระสุนปนลูกซอง ทุกชนิด/ขนาด ไมเกินใบอนุญาตละ 7,500 นัด

- กระสุนปนลูกกรด ทุกชนิด/ขนาด ไมเกินใบอนุญาตละ 10,000 นัด

- กระสุนปนอัดลม ทุกชนิด/ขนาด ไมเกินใบอนุญาตละ 30,000 นัด

นอกจากในสวนของอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนที่ถูกจํากัดจํานวนดวย

ใบอนุญาตแลว รานคาอาวุธปนแตละรานยังสามารถทําธุรกิจซื้อขายอุปกรณที่เกี่ยวของ

กับอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนตางๆ ที่ไมใชยุทธภันฑตองหามตามกฎหมาย เชน กลอง

ติดอาวุธปน ซองอาวุธปน อุปกรณทําความสะอาดอาวุธปน กระสุน Dry fire ฯลฯ

จากขอมูลดังกลาวขางตนสรุปไดวารานคาอาวุธปนแตละรานจะสามารถทํา

ธุรกิจซื้อขายอาวุธปน เครื่องกระสุนปน ตลอดจนอุปกรณที่เกี่ยวของกับอาวุธปนและ

เครื่องกระสุนปนตางๆคํานวณเปนมูลคาไดโดยประมาณคือ 5 ลานบาท หากรวมจํานวน

ใบอนุญาตของทั้งประเทศจํานวน 502 ฉบับแลว ก็สามารถประมาณไดวาการประกอบ

ธุรกิจการคาอาวุธปนของประเทศไทยมีมูลคาไมต่ํากวา 2,000 ลานบาทตอป และรัฐได

จัดเก็บภาษีจากการนําเขา 30 % ของมูลคาการนําเขา นอกจากนี้รัฐยังไดจัดเก็บ

Page 220: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

196

ภาษีมูลคาเพิ่มจากการจําหนายอาวุธปนอีก 7 % จากยอดขายอาวุธปนของแตละรานคา

อาวุธปนที่ไดรับใบอนุญาตตอปอีกทางหนึ่ง ทั้งนี้ยังไมรวมอาวุธปนตามโครงการจัดหาอาวุธ

ปนใหเปนสวัสดิการแกขาราชการหนวยงานตาง ๆ

4.2.2 ผลกระทบในประเด็นตางๆ ตอการประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนของ

ประเทศไทย

จากการที่ไดศึกษาวิเคราะหประเด็นปญหาในการควบคุมทางทะเบียนอาวุธปน

ดังกลาวขางตนนั้น มีประเด็นที่จะเกิดผลกระทบตอผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปน ดังนี้ - ประเด็นการแกไขอายุและรูปแบบของใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน

- ประเด็นการจัดเก็บรายละเอียดของอาวุธปนโดยเก็บขอมูลหัวกระสุนปนและปลอก

กระสุนปน

- ประเด็นการใชเทคโนโลยีสมัยใหมดวยการฝงชิปในอาวุธปนเพื่อวางระบบ

ควบคุมทางทะเบียนอาวุธปนในอนาคต

- ประเด็นการควบคุมจํานวนอาวุธปนที่มีใบอนุญาตของประเทศไทยใหมีจํานวนที่

เหมาะสมและการแกไขปญหาอาวุธปนนอกระบบ (ปนเถื่อน)

- การจํากัดจํานวนอาวุธปนใหบุคคลหนึ่งมีไดเพียงสองกระบอกคือ อาวุธปน

สั้นหนึ่งกระบอก และอาวุธปนยาวหนึ่งกระบอก

- การเพิ่มโทษผูมีอาวุธปนไวในครอบครองโดยไมไดรับอนุญาต

- ประเด็นการสอบความรูความสามารถในการใชอาวุธปนของผูขอใบอนุญาตใหมีและใช

อาวุธปน

- ประเด็นการตรวจสภาพทางจิตผูขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน

4.2.3 การตรวจสอบและรับฟงความคิดเห็นเกี่ยวกับการควบคุมทางทะเบียนอาวุธปน

เพื่อเปนการตรวจสอบและรับฟงความคิดเห็นในภาพรวมทั้งจากกลุมประชาชน

ทั่วไปที่มีและไมมีอาวุธปนในครอบครอง กลุมเจาหนาที่ของรัฐที่ปฏิบัติงานเกี่ยวของกับ

กฎหมายวาดวยอาวุธปน และกลุมผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปน ผูจัดทําวิทยานิพนธได

จัดทําแบบสอบถามเพื่อการวิจัยในหัวขอ “การควบคุมทะเบียนอาวุธปน : ผลกระทบตอผู

ประกอบธุรกิจการคาอาวุธปน” และสงแบบสอบถามใหกลุมบุคคลดังกลาวกรอก

แบบสอบถามตามหัวขอที่กําหนด โดยมีกลุมบุคคลเปาหมาย ดังนี้

Page 221: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

197

1. กลุมประชาชนทั่วไปที่ไมมีอาวุธปนในครอบครอง จํานวน 100 คน

2. กลุมเจาหนาที่ของรัฐที่ปฏิบัติงานเกี่ยวของกับกฎหมายวาดวยอาวุธปน จํานวน

100 คน

3. กลุมผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปน จํานวน 100 คน

โดยแบบสอบถามเปนการสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นตางๆ ดังนี้

1. การแกไขใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน (แบบ ป.4) จากเดิมใชไดตลอดชีวิตของ

ผูไดรับใบอนุญาต เปนมีอายุคราวละหาป โดยผูไดรับอนุญาตตองนําอาวุธปนพรอม

ใบอนุญาตมาขอตอใบอนุญาตทุกๆ หาป

2. การเปลี่ยนใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน จากเดิมที่เปนกระดาษแผนเดียวให

เปนเลมลักษณะเดียวกับคูมือรถยนต เพื่อใหสะดวกตอการบันทึกขอมูล

3. การขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน รวมทั้งการขอตอใบอนุญาตดังกลาว ผูขอ

ตองผานการตรวจสภาพจิตและไดรับใบรับรองจากจิตแพทยดวย

4. อาวุธปนทุกกระบอกตองมีการยิงเพื่อเก็บหัวกระสุนหรือปลอกกระสุน ดังนี้

4.1 อาวุธปนใหม ผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน

ตองยิงเก็บหัวกระสุนปนหรือปลอกกระสุนปนกอนสงมอบใหผูไดรับอนุญาตใหมีและใช

อาวุธปน

4.2 อาวุธปนที่ไดรับใบอนุญาตไปแลวใหมีการเก็บหัวกระสุนหรือปลอก

กระสุนเมื่อนํามาตอใบอนุญาตครั้งแรกโดยผูขอตอใบอนุญาตเปนผูเสียคาใชจายใน

การดําเนินการ

5. ใหมีการเก็บขอมูลของอาวุธปนทุกกระบอกไวในฐานขอมูลคอมพิวเตอร

ของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย และสามารถเชื่อมโยงขอมูลระหวางสวนกลางและสวน

ภูมิภาคไดอยางมีประสิทธิภาพ

โดยผูตอบแบบสอบถามสามารถแสดงความคิดเห็นไดเปนหาระดับ คือ

ระดับ 5 หมายถึง เห็นดวยมากที่สุด

ระดับ 4 หมายถึง เห็นดวยมาก

Page 222: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

198

ระดับ 3 หมายถึง เห็นดวยปานกลาง

ระดับ 2 หมายถึง เห็นดวยนอย

ระดับ 1 หมายถึง เห็นดวยนอยที่สุด

ระดับ 0 หมายถึง ไมเห็นดวย

สรุปผลการตอบแบบสอบถาม

คําถามขอ 1 การแกไขใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน (แบบ ป.4) จากเดิมใชไดตลอดชีวิต

ของผูไดรับใบอนุญาต เปนมีอายุคราวละหาป โดยผูไดรับอนุญาตตองนําอาวุธปนพรอม

ใบอนุญาตมาขอตอใบอนุญาตทุกๆ หาปกลุมผูตอบ

แบบสอบถามจํานวน

ผูตอบ/คน

เห็นดวย

มากที่สุด

เห็นดวย

มาก

เห็นดวย

ปานกลาง

เห็นดวย

นอย

เห็นดวย

นอยที่สุด

ไมเห็น

ดวย

กลุมประชาชนทั่วไปที่ไมมี

อาวุธปนในครอบครอง

82 34 10 4 3 3 28

กลุมประชาชนทั่วไปที่มี

อาวุธปนในครอบครอง

90 41 10 10 6 8 15

กลุมเจาหนาที่ของรัฐ 77 25 20 14 3 3 12

กลุมผูประกอบธุรกิจ

การคาอาวุธปน

85 32 27 4 9 3 10

รวม 334 132 67 32 21 17 65

Page 223: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

199

ตารางที่ 4 คําถามขอที่ 1

คําถามขอ 2 การเปลี่ยนใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน จากเดิมที่เปนกระดาษแผนเดียวให

เปนเลมลักษณะเดียวกับคูมือรถยนต เพื่อใหสะดวกตอการบันทึกขอมูลกลุมผูตอบแบบสอบถาม จํานวน

ผูตอบ/คน

เห็นดวย

มากที่สุด

เห็นดวย

มาก

เห็นดวย

ปานกลาง

เห็นดวย

นอย

เห็นดวย

นอยที่สุด

ไมเห็น

ดวย

กลุมประชาชนทั่วไปที่ไมมี

อาวุธปนในครอบครอง

82 34 10 4 3 3 28

กลุมประชาชนทั่วไป

ที่มีอาวุธปนในครอบครอง

90 41 9 11 6 8 15

กลุมเจาหนาที่ของรัฐ 77 24 21 14 3 3 12

กลุมผูประกอบธุรกิจการคา

อาวุธปน

85 32 27 4 9 3 10

รวม 334 131 67 33 21 17 65

ตารางที่ 5 คําถามขอที่ 2คําถามขอ 3 การขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน รวมทั้งการขอตอใบอนุญาต

ดังกลาว ผูขอตองผานการตรวจสภาพจิตและไดรับใบรับรองจากจิตแพทยดวยกลุมผูตอบแบบสอบถาม จํานวน

ผูตอบ/คน

เห็นดวย

มากที่สุด

เห็นดวย

มาก

เห็นดวย

ปานกลาง

เห็นดวย

นอย

เห็นดวย

นอยที่สุด

ไมเห็นดวย

กลุมประชาชนทั่วไปที่ไมมี

อาวุธปนในครอบครอง

82 34 10 4 3 3 28

กลุมประชาชนทั่วไป

ที่มีอาวุธปนในครอบครอง

90 41 12 8 6 8 15

กลุมเจาหนาที่ของรัฐ 77 24 20 14 3 4 12

กลุมผูประกอบธุรกิจการคา

อาวุธปน

85 32 27 4 9 3 10

รวม 334 131 69 32 19 17 65

Page 224: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

200

ตารางที่ 6 คําถามขอที่ 3

คําถามขอ 4 อาวุธปนทุกกระบอกตองมีการยิงเพื่อเก็บหัวกระสุนหรือปลอกกระสุน ดังนี้

4.1 อาวุธปนใหม ผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน

ตองยิงเก็บหัวกระสุนหรือปลอกกระสุนกอนสงมอบใหผูไดรับอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน

4.2 อาวุธปนที่ไดรับใบอนุญาตไปแลวใหมีการเก็บหัวกระสุนหรือ

ปลอกกระสุนเมื่อนํามาตอใบอนุญาตครั้งแรกโดยผูขอตอใบอนุญาตเปนผูเสียคาใชจาย

ในการดําเนินการ

กลุมผูตอบแบบสอบถาม

จํานวน

ผูตอบ/คน

เห็นดวย

มากที่สุด

เห็นดวย

มาก

เห็นดวย

ปานกลาง

เห็นดวย

นอย

เห็นดวย

นอยที่สุด

ไมเห็นดวย

กลุมประชาชนทั่วไปที่ไมมี

อาวุธปนในครอบครอง

82 44 10 4 3 3 18

กลุมประชาชนทั่วไป

ที่มีอาวุธปนในครอบครอง

90 41 6 14 6 8 15

กลุมเจาหนาที่ของรัฐ 77 25 20 14 3 3 12

กลุมผูประกอบธุรกิจการคา

อาวุธปน

85 32 27 4 9 3 10

รวม 334 142 63 36 21 17 55

ตารางที่ 7 คําถามขอที่ 4คําถามขอ 5 ใหมีการเก็บขอมูลของอาวุธปนทุกกระบอกไวในฐานขอมูลคอมพิวเตอรของ

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย และสามารถเชื่อมโยงขอมูลระหวางสวนกลางและ

สวนภูมิภาคไดอยางมีประสิทธิภาพกลุมผูตอบ

แบบสอบถามจํานวน

ผูตอบ/คน

เห็นดวย

มากที่สุด

เห็นดวย

มาก

เห็นดวย

ปานกลาง

เห็นดวย

นอย

เห็นดวย

นอยที่สุด

ไมเห็น

ดวย

กลุมประชาชนทั่วไปที่ไมมี

อาวุธปนในครอบครอง

82 34 10 24 8 6 0

กลุมประชาชนทั่วไป

ที่มีอาวุธปนในครอบครอง

90 41 25 18 6 0 0

กลุมเจาหนาที่ของรัฐ 77 34 29 14 0 0 0

กลุมผูประกอบธุรกิจการคา

อาวุธปน

85 42 30 13 0 0 0

รวม 334 151 94 69 14 6 0

Page 225: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

201

ตารางที่ 8 คําถามขอที่ 5คําถามขอ 6 กฎหมายและมาตรการในการควบคุมการมีและใชอาวุธปนและเครื่อง

กระสุนปนของประเทศไทยในปจจุบันอยูในระดับที่เหมาะสมแลว(กรณีเห็นดวยนอย เห็น

ดวยนอยที่สุด หรือไมเห็นดวย โปรดตอบในขอ 7 และขอ 8)กลุมผูตอบ

แบบสอบถามจํานวน

ผูตอบ/คน

เห็นดวย

มากที่สุด

เห็นดวย

มาก

เห็นดวย

ปานกลาง

เห็นดวย

นอย

เห็นดวย

นอยที่สุด

ไมเห็น

ดวย

กลุมประชาชนทั่วไปที่ไมมี

อาวุธปนในครอบครอง

82 12 31 32 2 3 2

กลุมประชาชนทั่วไป

ที่มีอาวุธปนในครอบครอง

90 21 24 41 3 0 1

กลุมเจาหนาที่ของรัฐ 77 13 39 25 0 0 0

กลุมผูประกอบธุรกิจการคา

อาวุธปน

85 25 26 31 1 1 1

รวม 334 71 120 129 6 4 4

ตารางที่ 9 คําถามขอที่ 6คําถามขอ 7 กฎหมายและมาตรการในการควบคุมการมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุน

ปนของประเทศไทยในปจจุบันไมเหมาะสม ควรเพิ่มระดับการควบคุมใหมากขึ้นให

ใกลเคียงกับประเทศที่มีมาตรการเขมงวดมาก เชน สิงคโปร มาเลเซีย ฯลฯกลุมผูตอบ

แบบสอบถามจํานวน

ผูตอบ/คน

เห็นดวย

มากที่สุด

เห็นดวย

มาก

เห็นดวย

ปานกลาง

เห็นดวย

นอย

เห็นดวย

นอยที่สุด

ไมเห็น

ดวย

กลุมประชาชนทั่วไปที่ไมมี

อาวุธปนในครอบครอง

7 6 1 0 0 0 0

กลุมประชาชนทั่วไป

ที่มีอาวุธปนในครอบครอง

4 0 0 0 0 1 3

กลุมเจาหนาที่ของรัฐ 0 0 0 0 0 0 0

กลุมผูประกอบธุรกิการคา

อาวุธปน

3 0 0 0 0 0 3

รวม 14 6 1 0 0 1 6

Page 226: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

202

ตารางที่ 10 คําถามขอที่ 7 (เฉพาะผูตอบเห็นดวยนอย เห็นดวยนอยที่สุด หรือไมเห็นดวยในขอ 6)

คําถามขอ 8 กฎหมายและมาตรการในการควบคุมการมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุน

ปนของประเทศไทยในปจจุบันไมเหมาะสม ควรลดระดับการควบคุมใหนอยลงใหใกลเคียง

กับประเทศที่มีมาตรการเขมงวดนอย เชน สหรัฐอเมริกา ฯลฯกลุมผูตอบ

แบบสอบถามจํานวน

ผูตอบ/คน

เห็นดวย

มากที่สุด

เห็นดวย

มาก

เห็นดวย

ปานกลาง

เห็นดวย

นอย

เห็นดวย

นอยที่สุด

ไมเห็น

ดวย

กลุมประชาชนทั่วไปที่ไม

มีอาวุธปนในครอบครอง

7 0 0 0 0 1 6

กลุมประชาชนทั่วไป

ที่มีอาวุธปนใน

ครอบครอง

4 4 0 0 0 0 0

กลุมเจาหนาที่ของรัฐ 0 0 0 0 0 0 0

กลุมผูประกอบธุรกิ

การคา

อาวุธปน

3 3 0 0 0 0 0

รวม 14 7 0 0 0 1 6

ตารางที่ 11 คําถามขอที่ 8 (เฉพาะผูตอบเห็นดวยนอย เห็นดวยนอยที่สุด หรือไมเห็นดวยในขอ 6)

4.2.4 ผลกระทบที่คาดวาจะเกิดกับผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปน

จากผลการวิเคราะหในประเด็นการเพิ่มมาตรการในการควบคุมทางทะเบียน

อาวุธปนที่มีผลกระทบตอผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนและผลการตอบแบบสอบถาม

เพื่อการวิจัย เรื่อง การควบคุมทะเบียนอาวุธปนและผลกระทบตอผูประกอบธุรกิจ

การคาอาวุธปนตามขอ 5.3 และ 5.4 นั้น สามารถสรุปไดวามาตรการตางๆ ในการ

ควบคุมทะเบียนอาวุธปนที่ผูจัดทําวิทยานิพนธเสนอนั้น หากมีการดําเนินการสําเร็จ

เสร็จสิ้นไป แมจะเกิดผลกระทบในทางธุรกิจตอผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนบาง แต

ก็เปนเพียงผลกระทบตอกลุมบุคคลผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนจํานวนหนึ่งเทานั้น

จึงมีน้ําหนักคอนขางนอยจนเทียบไมไดกับน้ําหนักที่มากกวาของประโยชนสาธารณะท่ี

สังคมและประชาชนทั้งประเทศจะไดรับ ดังนี้

Page 227: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

203

4.2.4.1 ผลกระทบในทางธุรกิจที่อาจเกิดตอผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปน

ไดแก จํานวนผูซื้ออาวุธปนจากรานคาอาวุธปนจะลดลงในชวงแรกๆ เพราะผูขอ

ใบอนุญาตซื ้ออาวุธปนตองมีคุณสมบัติเพิ่มขึ้น โดยตองเปนผูที่สอบผานเกณฑการ

ทดสอบความรูความสามารถในการใชอาวุธปนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติตาม

หลักเกณฑและวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดและยังตองผานการตรวจสภาพทางจิตกอน

จึงจะไดรับอนุญาตใหซื้ออาวุธปนได นอกจากนี้ การกําหนดมาตรการใหแตละบุคคลสามารถ

ครอบครองอาวุธปนไดเพียงสองกระบอก คืออาวุธปนสั้นหนึ่งกระบอก และอาวุธปนยาวหนึ่ง

กระบอก ก็จะทําใหผูที่มีอาวุธปนครบตามจํานวนแลวไมตองการมีอาวุธปนเพิ่มอีก เปน

การจํากัดจํานวนอาวุธปนใหบุคคลมีอาวุธปนเพียงเฉพาะเทาที่จําเปนเทานั้น อยางไรก็

ตามผูจัดทําวิทยานิพนธเชื่อวาในระยะยาวธุรกิจอาวุธปนของประเทศไทยก็จะสามารถ

ปรับตัวกลับมาอยูในสภาวะปกติไดในที่สุด และคาดวาราคาของอาวุธปนก็จะปรับลดลง

มาอยูในราคาที่เหมาะสมเนื่องจากเกิดความสมดุลยระหวางจํานวนผูตองการซื้ออาวุธ

ปนที่มีค ุณสมบัติครบถวนกับจํานวนอาวุธปนที่รานคาอาวุธปนไดรับอนุญาตใหสั ่ง

นําเขามาจําหนายในประเทศ ไมแพงมากเหมือนในปจจุบันที่สาเหตุเกิดจากจํานวนผู

ตองการซื้ออาวุธปนมีมากกวาจํานวนอาวุธปนที่รานคาอาวุธปนไดรับอนุญาตใหสั่ง

นําเขาหลายเทา

4.2.4.2 ประโยชนสาธารณะที่จะเกิดขึ้นตอสังคมและประชาชนทั่วไปรวมทั้ง

ตอประเทศชาติในดานตางๆ

1) ดานสังคม เกิดความสงบเรียบรอยในสังคมมากยิ่งขึ้นประชาชน

ทั่วไปมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินมากขึ้น เพราะเมื่อการดําเนินการตาม

มาตรการตางๆ ในการควบคุมทะเบียนอาวุธปนสําเร็จลุลวงแลว อาวุธปนทุกกระบอกใน

ประเทศไทยจะเขาสูระบบการควบคุมทางทะเบียนอาวุธปนที่สมบูรณ สามารถ

ตรวจสอบไดอยางถูกตอง แมนยํา รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพดวยระบบเทคโนโลยี

สารสนเทศวาปนกระบอกไหนอยูที่ใด ใครเปนผูครอบครอง และเมื่อมีการประกอบ

อาชญากรรมที่ใชอาวุธปนในการกระทําความผิด เจาหนาที่สามารถนําวัตถุพยานที่เก็บได

ในที่ เกิดเหตุไมวาจะเปนหัวกระสุนปนหรือปลอกกระสุนปนมาตรวจพิสูจนทางนิติ

วิทยาศาสตรรวมกับระบบการควบคุมทางทะเบียนอาวุธปน ก็จะสามารถทราบได

Page 228: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

204

ทันทีวาหัวกระสุนปนหรือปลอกกระสุนปนดังกลาวมาจากอาวุธปนกระบอกใด ใครเปน

เจาของ ถิ่นที่อยูที่ไหน ซึ่งเจาหนาที่ผูรับผิดชอบสามารถนําไปประกอบกับสํานวนคดี

และใชเปนพยานหลักฐานทั้งในชั้นสอบสวนและในชั้นศาลไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่ง

ผูจัดทําวิทยานิพนธเห็นวาจะมีผลดีอยางยิ่งในทางปองปรามตอผูที่มีอาวุธปนไวใน

ครอบครองใหมีความระมัดระวังและยับยั้งชั่งใจมากยิ่งขึ้นในการใชอาวุธปน เพราะรู

ดีวาหากใชอาวุธปนกระทําความผิดเมื่อใดก็จะถูกติดตามจับกุมไดอยางแนนอนไมมี

โอกาสหลบหนีไดเลย นอกจากนี้ มาตรการในการแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 โดยกําหนดโทษ

ของการมีอาวุธปนที่ไมมีใบอนุญาตใหมีและใชไวในครอบครองใหมีโทษหนักถึงขั ้น

จําคุกตลอดชีวิตหรือประหารชีวิต โดยใชมาตรฐานโทษในระดับเดียวกันกับประเทศ

สิงคโปรซึ่งประสบความสําเร็จในการควบคุมการมีและใชอาวุธปนมาแลวนั้น รวมทั้ง

มาตรการในการออกกฎหมายนิรโทษกรรมโดยใหผูที่ครอบครองอาวุธปนที่ไมมี

ใบอนุญาตใหมีและใชรวมทั้งอาวุธปนสงครามหรืออาวุธปนอื่นๆ ที่นายทะเบียนออก

ใบอนุญาตใหไมไดตองนํามามอบใหทางราชการภายในระยะเวลาที่กําหนดโดยไม

ตองรับโทษ ก็คาดวาจะสามารถลดจํานวนอาวุธปนเถื่อนในประเทศไทยใหลดนอยลง

และหมดไปจากประเทศไทยในที่สุด เพราะผูครอบครองอาวุธปนเถื่อนยอมเกิดความ

เกรงกลัวตอโทษอาญาที่รุนแรงถึงขั้นจําคุกตลอดชีวิตหรือประหารชีวิตจนไมกลา

ครอบครองอาวุธปนเถื่อนดังกลาวตอไปและนํามามอบใหทางราชการตามกฎหมายนิร

โทษกรรมในที่สุด และเมื่อปญหาอาวุธปนเถื่อนถูกกําจัดหมดไป ยอมสงผลให

ประชาชนทั่วไปมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินและสังคมเกิดความสงบเรียบรอย

มากขึ้น

2) ดานงบประมาณ รัฐสามารถประหยัดงบประมาณในดานการรักษา

ความสงบเรียบรอยในสังคมและความปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสินของประชาชนไดเปน

อยางมาก เนื่องจากเมื่ออาวุธปนทั้งหมดถูกควบคุมโดยระบบการควบคุมทะเบียนอาวุธ

ปนประกอบกับปญหาอาวุธปนเถื่อนถูกกําจัดหมดไป การประกอบอาชญากรรม

โดยเฉพาะคดีอาญาเกี่ยวกับการใชอาวุธปนยอมลดจํานวนลง ทําใหรัฐสามารถที่จะ

ประหยัดงบประมาณเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบรอยในดานตางๆ มากขึ้น เชน

Page 229: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

205

สามารถลดจํานวนการจางบุคลากรในการรักษาความปลอดภัยสถานที่สําคัญตางๆ ลด

คาใชจายเกี่ยวกับการติดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยในสถานที่ราชการหรือหนวยงาน

รัฐ ฯลฯ นอกจากนี้เมื่อจํานวนคดีอาญาเกี่ยวกับการใชอาวุธปนลดจํานวนลง รัฐก็จะ

สามารถประหยัดงบประมาณที่ตองใชในการดําเนินการตามกระบวนการยุติธรรมทาง

อาญาตั้งแตการติดตามสืบสวนผูกระทําความผิด การสอบสวนผูตองหา การควบคุมตัว

ผูตองหา การฟองคดีตอศาล ไปจนถึงการขังจําเลยหรือผูถูกหมายขังไวในเรือนจํา ซึ่ง

คาดวารัฐจะสามารถประหยัดงบประมาณแผนดินไดเปนจํานวนมาก นอกจากนี้

เจาหนาที่ของรัฐในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาตางๆ ไมวาจะเปนพนักงานฝาย

ปกครองหรือตํารวจ พนักงานอัยการ ศาล ตลอดจนเจาหนาที่ราชทัณฑ ก็จะมี

ภาระหนาที่ลดนอยลงทําใหมีเวลาปฏิบัติงานดานคดีอื่นๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพมาก

ยิ่งขึ้น

3) ดานเศรษฐกิจ ขอมูลจากกรมการทองเที่ยว ไดสรุปสถานการณ

ทองเที่ยวไทยป 2558 โดยประเมินจากขอมูลเบื้องตน ณ วันที่ 1 มกราคม 2559

พบวาในปที่ผานมา มีนักทองเที่ยวตางชาติเดินทางมาเที่ยวไทยมากถึง 29.88 ลานคน

ขยายตัว 20.44% สรางรายได 1.44 ลานลานบาท นับวารายไดของประเทศไทยที่มาจากการ

ทองเที่ยวน้ีเปนจํานวนเงินที่สูงมากเม่ือเทียบจากรายไดดานอื่นๆ ซึ่งผูจัดทําวิทยานิพนธ

เห็นวาเมื่อการจัดทําระบบการควบคุมทะเบียนอาวุธปนเสร็จสิ้นสมบูรณ จะสงผลให

การประกอบอาชญากรรมโดยเฉพาะคดีอาญาที่เกี่ยวกับการใชอาวุธปนถูกควบคุม

อยางมีประสิทธิภาพ ปญหาอาวุธปนเถื่อนก็จะถูกกําจัดหมดไป เมื่อนั้นสังคมไทยยอม

เกิดความสงบสุข ประชาชนทั่วไปมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน สงผลตอไปถึง

ความเชื่อมั่นของนักทองเที่ยวทั่วโลกที่จะหลั่งไหลเขามาเที่ยวในประเทศไทยเพิ่ม

มากขึ้น อันเนื่องมาจากความมั่นใจในความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินประกอบกับ

ศักยภาพของแหลงทองเท่ียวที่สวยงามของประเทศไทยที่มีอยูอยางมากมาย คาดวาจะทํา

ใหเศรษฐกิจการทองเที่ยวของประเทศไทยเจริญเติบโตเพิ่มขึ้นหลายเทาตัว และสงผลดีไป

ถึงระบบธุรกิจตางๆ ที่เกี่ยวของทั้งหมดไมวาจะเปนระบบการขนสงตางๆ โรงแรม รานคา

รานอาหาร สถานบริการตางๆ ฯลฯ และในที่สุดก็จะสงผลดีตอเนื่องไปจนถึงระบบ

เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศไทยในที่สุด

Page 230: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

บทที่ 5บทสรุปและขอเสนอแนะ

5.1 บทสรุป

จากขอเท็จจริงที่ไดศึกษาคนความาทั้งหมดในประเด็นการควบคุมทะเบียน

อาวุธปนตามพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่ง

เทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 การควบคุมทางทะเบียนอาวุธปนของประเทศไทยมีความ

ละเอียดออนและยุงยากซับซอน การจัดวางระบบควบคุมทางทะเบียนอาวุธปนใหมี

ประสิทธิภาพ จําเปนตองใชการวางแผนและกําหนดยุทธศาสตรในการดําเนินการให

ชัดเจนเปนรูปธรรม และประการสําคัญตองใชบุคลากรที่มีความรูความสามารถเปน

พิเศษในการดําเนินการเพราะอาวุธปนแมจะเปนทรัพยสินประเภทหนึ่งแตก็มีลักษณะ

พิเศษที่ไมเหมือนกับทรัพยสินอื่นๆ และเปนอันตรายในตัวของมันเอง หากอยูในความ

ครอบครองของบุคคลที่ดีก็ยอมจะมีประโยชน ถาอยูในความครอบครองของบุคคลที่ชั่ว

ราย อาวุธปนก็จะกลายเปนอาวุธรายที่สามารถประหัตประหารชีวิตผูอื่นสรางความ

เดือดรอนใหกับสังคมและประเทศชาติไดอยางรายแรง

5.1.1 การควบคุมอาวุธปนของตางประเทศและประเทศไทย

กฎหมายอาวุธปนของประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศสิงคโปร ประเทศมาเลเซีย

และประเทศออสเตรเลีย หากจัดระดับความเครงครัดเขมงวดในการอนุญาตใหมีและใชอาวุธ

ปน ประเทศสหรัฐอเมริกามีระดับการควบคุมอาวุธปนที่เครงครัดเขมงวดนอยที่สุด

ประเทศมาเลเซียและประเทศสิงคโปรเปนประเทศที่มีระดับการควบคุมอาวุธปนที่

เครงครัดเขมงวดมากที่สุด สวนประเทศออสเตรเลียมีระดับการควบคุมอาวุธปนที่

เครงครัดระดับปานกลาง สําหรับประเทศไทย มีระดับการควบคุมอาวุธปนที่

เครงครัดเขมงวดปานกลางแตคอนขางเอนเอียงไปทางสหรัฐอเมริกา ซึ่งสงผลใหใน

ปจจุบันประเทศไทยมีอาวุธปนที่มีใบอนุญาตถูกตองตามกฎหมายและไดรับการ

จัดเก็บในฐานขอมูลคอมพิวเตอรแลวเปนจํานวนมากกวาสี่ลานกระบอก เมื่อนําไปหาร

จํานวนประชากรประมาณ 65 ลานคน จะไดขอมูลเบื้องตนวาคนไทยมีอัตราสวนจํานวนปน

ตอคนเทากับ 1 ตอ 16 ซึ่งเมื่อเทียบกับประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งมีประชากร 300 ลานคน มี

อาวุธปน 270 ลานกระบอก กลาวคือคนอเมริกัน 10 คน จะมีอาวุธปน 9 กระบอก

Page 231: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

207

อันเปนอัตราท่ีสูงที่สุดในโลก สงผลใหประเทศสหรัฐอเมริกามีสถิติการใชอาวุธปนสังหาร

ผูอื่นมากที่สุดและมีอัตราการเสียชีวิตดวยอาวุธปนมากถึง 3 ตอ 100,000 คนตอป สวน

ประเทศที่มีอาวุธปนตอคนนอยที่สุดคือประเทศญี่ปุน ซึ่งประชากร 100 คน มีเพียง 1 คน

เทานั้นที่มีอาวุธปน โดยญี่ปุนมีประชากรนอยกวาประเทศสหรัฐอเมริกาเพียง 2 เทา

ครึ่ง แตมีจํานวนอาวุธปนในประเทศนอยกวาประเทศสหรัฐอเมริกาถึง 380 เทา ทั้งนี้

เพราะประเทศญี่ปุนมีกฎหมายหามการครอบครองอาวุธปนที่เขมงวด และหามแมแต

การหยิบถืออาวุธปน โดยจะยกเวนใหเฉพาะนักกีฬายิงปนและนักลาสัตวเทานั้น แตผู

ไดรับการยกเวนก็ยังตองผานขั้นตอนการขอใบอนุญาตที่ยุงยากมาก ซึ่งก็สงผลดีทําให

อัตราการเสียชีวิตดวยอาวุธปนของประเทศญี่ปุนมีอัตราสวนนอยมากเมื่อเทียบกับ

ประเทศสหรัฐอเมริกา

สําหรับประเทศไทยที่มีอัตราสวนจํานวนปนตอคนเทากับ 1 ตอ 16 แมจะยัง

ไมติดหนึ่งในสิบของโลก แตในระดับเอเชียนั้นประเทศไทยครองอันดับหนึ่งโดยมี

อัตราสวนมากกวาอันดับ 2 คือประเทศจีนถึง 3 เทาตัว สวนอันดับ 3 คือประเทศ

ฟลิปปนส

5.1.2 การปรับปรุงแกไขกฎหมายวาดวยอาวุธปนเพื่อใชในการควบคุมอาวุธปน

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียม

อาวุธปน พ.ศ. 2490 เปนกฎหมายหลักที่ใชในการควบคุมอาวุธปนมานานเกือบ 70 ป จึงมี

ความไมเหมาะสมกับสภาวการณในปจจุบันหลายประการ จําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองปรับปรุง

แกไข โดยเริ่มจากมาตรการพื้นฐานในการวางระบบควบคุมทางทะเบียนอาวุธปนของ

ประเทศไทยใหมีประสิทธิภาพ เพื่อเปนการปูทางไปสูมาตรการอื่นๆ ในการควบคุมกํากับ

ดูแลการมีและใชอาวุธปนของประเทศไทยใหเปนไปอยางครอบคลุมและบูรณาการใน

ทุกดานอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด

5.2 ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะแนวทางการแกไขปญหาในแตละประเด็น ดังนี้

5.2.1 ประเด็นการแกไขอายุของใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนไมเหมาะสม

ปจจุบันใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนม ีอาย ุตลอดเวลาที ่ผู ร ับ

ใบอนุญาตเปนเจาของอาวุธปน ตามที่ไดบัญญัติไวในมาตรา 9 และ มาตรา 23 (3) แหง

Page 232: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

208

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน

พ.ศ. 2490 การแกไขใหใบอนุญาตดังกลาวมีอายุคราวละหาป จึงตองดําเนินการแกไข

โดยเพิ่มวรรคสามในมาตรา 9 และแกไขเพิ่มเติม มาตรา 23 (3) ใหใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธ

ปน (แบบ ป.4) จะมีอายุคราวละหาปนับแตวันออกใบอนุญาต และภายในกําหนดเวลาเกาสิบ

วันผูไดรับใบอนุญาตจะตองมายื่นคํารองพรอมกับนําเอกสารหลักฐานพรอมดวยอาวุธปนมา

ใหนายทะเบียนอาวุธปนตรวจสอบเพื่อตอใบอนุญาตใหตอไป โดยตองมีการแกไขกฎหมาย

ดังนี้

1) มาตรา 9

มาตราเดิม

“มาตรา 9 ใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน และเครื่องกระสุนปน

ใหออกใหแกบุคคลสําหรับใชในการปองกันตัวหรือทรัพยสิน หรือในการกีฬาหรือยิงสัตว

ใบอนุญาตนั้นใหออกสําหรับอาวุธปนแตละกระบอก”

แกไขเปน

“มาตรา 9 ใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน และเครื่องกระสุนปน

ใหออกใหแกบุคคลสําหรับใชในการปองกันตัวหรือทรัพยสิน หรือในการกีฬาหรือยิงสัตว

ใบอนุญาตนั้นใหออกสําหรับอาวุธปนแตละกระบอก

ใหผูรับใบอนุญาตยื่นคําขอตออายุใบอนุญาตภายในกําหนด

เกาสิบวันกอนวันที่ใบอนุญาตหมดอายุ ยกเวนกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยที่ทําใหไมสามารถ

ยื่นคํารองภายในเวลาดังกลาวได ทั้งนี้ หลักเกณฑวิธีการและในการขอตออายุใบอนุญาต

และการอนุญาตใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง”

2) มาตรา 23 (3)

มาตราเดิม

“มาตรา 23 ใบอนุญาตสําหรับอาวุธปนหรือเครื่องกระสุน

ปน ตามความในสวนนี้จะออกไดแตตามประเภทและมีกําหนดอายุ ดังตอไปนี้

(3) ใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน มี

อายุตลอดเวลาที่ผูรับใบอนุญาตเปนเจาของอาวุธปนนั้น”

แกไขเปน

Page 233: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

209

“มาตรา 23 ใบอนุญาตสําหรับอาวุธปนหรือเครื่องกระสุน

ปน ตามความในสวนนี้จะออกไดแตตามประเภทและมีกําหนดอายุ ดังตอไปนี้

(3) ใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน มี

อายุหาปนับแตวันที่ออกใบอนุญาต”

เมื่อแกไขกฎหมายใหใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนมีอายุคราวละหาป

แลว ควรออกกฎกระทรวงเพื่อปรับปรุงรูปแบบของใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนใหมี

ความเหมาะสมกับการบันทึกรายละเอียดตางๆ เกี่ยวกับอาวุธปน และสะดวกตอการ

บันทึกการทํารายการตางๆ เกี่ยวกับอาวุธปนมากยิ่งขึ้นดวย

การแกไขอายุของใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน ไมมีผลกระทบตอผู

ประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนแตอยางใด เพราะการขอตอใบอนุญาตเปนเรื่องเฉพาะตัวของผู

ที่มีอาวุธปนและมีใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน ผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนไมมีหนาท่ี

เกี่ยวของใด ๆในเรื่องนี้

5.2.2 ประเด็นการไมมีระบบควบคุมทางทะเบียนอาวุธปนที่เหมาะสม

5.2.2.1การจัดเก็บขอมูลหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปน

ประเทศไทยมีอาวุธปนจํานวนมากกวาสี่ลานกระบอกที่กระจายอยูใน

ความครอบครองของบุคคลตางๆ หลายลานคนในทุกพื้นที่ของประเทศไทยนั้น การ

จัดเก็บขอมูลหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปนจากอาวุธปนทุกกระบอกที่ไดรับ

ใบอนุญาตและนํามาจัดทําเปนระบบการควบคุมทะเบียนอาวุธปนที่เหมาะสมกับ

สภาวการณดวยระบบสารสนเทศสมัยใหมนับวามีความจําเปน เปรียบไดดั่งเชนการ

จัดเก็บลายพิมพนิ้วมือของบุคคลสัญชาติไทยทุกคนซ่ึงเมื่ออายุครบเกณฑจะตองมายื่นคํา

ขอมีบัตรประจําตัวประชาชนโดยตองมีการบันทึกขอมูลบุคคลพรอมกับลายพิมพนิ้วมือ

เก็บไวเปนฐานขอมูลและสามารถนํามาใชสืบหาตัวบุคคลไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่ง

ในกรณีของอาวุธปนก็เชนเดียวกันเพราะหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปนที่ยิงจาก

อาวุธปนแตละกระบอกจะทิ้งรองรอยเปนเอกลักษณของปนแตละกระบอกโดยไมซ้ํากัน

เชนเดียวกับลายพิมพนิ้วมือของคนแตละคนที่ไมมีทางที่จะเหมือนกันได ดังนั้น ใน

อนาคตเมื่อการจัดเก็บขอมูลหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปนจากอาวุธปนที่มี

ใบอนุญาตเพื่อจัดทําเปนระบบควบคุมทางทะเบียนของประเทศไทยเปนไปโดยสมบูรณแบบ

Page 234: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

210

แลว เมื่อเกิดการกระทําความผิดและมีการใชอาวุธปนประกอบการกระทําความผิด

หากเจาหนาที่สามารถเก็บขอมูลหัวกระสุนหรือปลอกกระสุนปนจากที่เกิดเหตุไดก็จะ

สามารถนํามาตรวจพิสูจนทราบไดทันทีวาอาวุธปนที่นํามาใชในการกระทําความผิด

ดังกลาวเปนอาวุธปนที่ไดรับใบอนุญาตหรือไม ถาเปนอาวุธปนที่มีใบอนุญาตก็จะ

สามารถทราบไดทันทีถึงขอมูลโดยละเอียดของบุคคลที่เปนเจาของอาวุธปนดังกลาว

ยกเวนวาอาวุธปนดังกลาวเปนอาวุธปนที่ไมมีใบอนุญาต (ปนเถื่อน) ซึ่งกรณีเชนนี้ก็

ตองเปนหนาที่ของเจาพนักงานตํารวจฝายสืบสวนที่จะตองพิจารณาดําเนินการสืบหา

ตัวผูกระทําความผิดโดยใชวิธีการอื่นตอไป

ปจจุบันสํานักการสอบสวนและนิติการก็ไดเริ่มดําเนินการในการ

จัดเก็บขอมูลหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปนของอาวุธปนใหมทุกกระบอกแลว โดยมีการ

ติดตั้งแทงคน้ําสําหรับการยิงเก็บหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปนไวที่สํานักการสอบสวน

และนิติการ (วังไชยา) กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย แตในสวนของอําเภอตางๆ

นั้นยังไมไดมีการจัดเก็บเนื่องจากยังมีขอติดขัดในเรื่องบทบัญญัติของกฎหมายรวมทั้ง

ในเรื่องงบประมาณ

สํานักการสอบสวนและนิติการยังจัดทําโครงการระบบการจัดขึ้นทะเบียน

ขอมูลหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปนกรมการปกครองเพื่อความมั่นคงของประเทศ โดย

มีวัตถุประสงคหลักในการคุมครองความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน

จากการกระทําความผิดโดยการใชอาวุธปน และมีเปาหมายในการนําเทคโนโลยีการ

จัดการขึ้นทะเบียนขอมูลหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปนโดยใชระบบเทคโนโลยีทาง

สารสนเทศที่ทันสมัย อันเปนการทํางานในลักษณะเชิงบูรณาการ(Integrated) ขอมูล

หัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปน เพื่อสรางความไดเปรียบเขาสูศูนยกลางการทํางาน

(Centralized) ที่เหนือชั้นกวา(Competitive Adventageous) ผูกระทําความผดิโดยใชอาวุธ

ปน

ระบบการจัดขึ้นทะเบียนขอมูลหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปนของกรมการ

ปกครองในระยะแรกนั้นจะประกอบดวยศูนยสถานีตรวจสอบหัวกระสุนปนและปลอกกระสุน

ปนรวม 5 แหง โดยมีสถานีตรวจสอบกระสุนปนและปลอกกระสุนปนเปนศูนยกลางและ

มีสถานีตรวจสอบหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปนภูมิภาคอีก 4 แหง กระจายอยูในสวน

Page 235: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

211

ภูมิภาคคือภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต ตามลําดับ แต

ละแหงมีการเชื่อมโยงขอมูลซึ่งกันและกัน ในสถานีแตละแหงประกอบดวยสองสวน

สวนแรกคือสวนการสารสนเทศและการสื่อสาร และสวนที่สองคือสวนการตรวจสอบ

เปรียบเทียบหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปน

กรมการปกครองจะตองเรงรัดใหมีการแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ

อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490

ใหอาวุธปนทุกกระบอกที่มีใบอนุญาตตองมีการยิงเพื่อเก็บขอมูลหัวกระสุนปนและปลอก

กระสุนปน เพื่อนํามาเขาสูระบบควบคุมทางทะเบียนอาวุธปน โดยแกไขเพิ่มเติมมาตรา

10 ดังนี้

มาตรา 10 เดิม

“มาตรา 10 อาวุธปนที่ไดออกใบอนุญาตใหตามมาตรากอน ใหนาย

ทะเบียนทําเครื่องหมายประจําอาวุธปนนั้นไวตามที่กําหนดในกฎกระทรวง”

แกไขเพิ่มเติมเปน

“มาตรา 10 อาวุธปนที่ไดออกใบอนุญาตใหตามมาตรากอน ใหนาย

ทะเบียนทําเครื่องหมายประจําอาวุธปน และใหดําเนินการเก็บหัวกระสุนปนและปลอกกระสุน

ปนที่ยิงจากอาวุธปนนั้นไวในระบบควบคุมทางทะเบียนอาวุธปน ตามวิธีการที่กําหนดใน

กฎกระทรวง”

เมื่อการแกไขเพิ่มเติมมาตรา 10 แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 เสร็จสิ้นและมีผลใชบังคับ

กระทรวงมหาดไทยโดยกรมการปกครองตองเรงรัดการออกกฎกระทรวง เพื่อกําหนด

หลักเกณฑ วิธีการ และขั้นตอน เพื่อเปนมาตรการบังคับใหอาวุธปนทุกกระบอกที่มี

ใบอนุญาตตองมีการยิงเก็บหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปน เพื่อนํามาเขาสูระบบทะเบียน

ขอมูลหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปนกรมการปกครอง โดยในอาวุธปนใหมที่มายื่นคําขอ

ขอมูลออกใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนตองผานขั้นตอนการยิงเก็บหัวกระสุนปนและ

ปลอกกระสุนปนกอนจึงจะออกใบอนุญาตได สวนอาวุธปนที่ออกใบอนุญาตไปแลวให

ทําการยิงเก็บหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปนเมื่อเจาของอาวุธปนมายื่นคําขอตอ

ใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน เมื่อใบอนุญาตดังกลาวหมดอายุทุกหาป ซึ่งก็จะสอดคลอง

Page 236: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

212

ไปในแนวทางเดียวกันกับแนวความคิดที่ไดเสนอในขอ 5.1.1 ในประเด็นใหมีการแกไพระราช

บัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490

และกฎกระทรวงที่เกี่ยวของเพื่อกําหนดใหใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนมีอายุคราวละ

หาป

การเก็บขอมูลหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปนไมมีผลกระทบตอผู

ประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนแตอยางใด เพราะการยิงเก็บหัวกระสุนและปลอกกระสุนเปน

หนาที่โดยตรงของเจาหนาที่ผูรับผิดชอบ แตจะมีผลกระทบตอผูยื่นคําขอออกใบอนุญาตให

มีและใชอาวุธปนที่จะตองมีภาระคาใชจายเพิ่มขึ้นในการนํากระสุนปนมาใหเจาหนาที่ทําการ

ยิงเพื่อเก็บหัวกระสุนปนและปลอกกระสุนปนตามจํานวนที่กําหนดไวในกฎหมาย

5.2.2.2 การนําเทคโนโลยีชิป (RFID) มาใชในการควบคุมทะเบียนอาวุธปน

ในเรื่องนี้เปนแนวความคิดเรื่องเทคโนโลยีเกี่ยวกับเรื่องชิป RFID

( Radio Frequency Identification ) นั้นเขามาอยูกับชีวิตประจําวันของคนเรามากขึ้นเรื่อย ๆ

เรียกวาอยูทั่วไปรอบตัวเลยก็วาไดกับสิ่งของไฮเทคที่ทํางานไดเองแบบไมตองเขาไปสัมผัส

เชนบัตรผานประตูคอนโดกุญแจรถ บัตรพนักงานบริษัท บัตร 7-11 บัตรรถไฟฟา บัตรทาง

ดวน ซึ่งเพิ่มความสะดวกใหเราอยางมากมาย และขณะนี้ทีมนักวิจัยพบวิธีฝงชิป RFID

ขนาดจิ๋วเขาไปใยที่ทอเปนเสื้อผาแถมนําไปซักและอบไดตามปกติแลว ดังนั้น ใน

อนาคตจึงมีความเปนไปไดคอนขางสูงที่จะมีการพัฒนาชิปที่สามารถนํามาติดหรือฝงไว

ในตัวปนได ซึ่งเมื่อถึงเวลานั้นก็ตองมีการแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 และกฎกระทรวง

ที่เกี่ยวของเพื่อกําหนดเปนมาตรการบังคับอาวุธปนทุกกระบอกที่มีใบอนุญาตใหมีและใช

อาวุธปน ตองมีการฝงชิปคอมพิวเตอรไวที่ตัวปน โดยชิปดังกลาวจะบันทึกขอมูล

รายละเอียดตางๆ เกี่ยวกับอาวุธปน รายละเอียดเกี่ยวกับผูครอบครองอาวุธปน ฯลฯ

ซึ่งพนักงานเจาหนาที่สามารถใชเครื่องสแกนอานและบันทึกรายละเอียดขอมูลตางๆ ได

อยางรวดเร็วถูกตองและแมนยํา

การใชเทคโนโลยีสมัยใหมด วยการฝงชิปในอาวุธปนยัง ไม มี

ผลกระทบตอผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนจนกวาเทคโนโลยีชิปจะพัฒนาถึงขั้นนํามา

ฝงหรือติดในอาวุธปนไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 237: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

213

5.2.3 ประเด็นการควบคุมจํานวนอาวุธปนที่มีใบอนุญาตของประเทศไทยให

มีจํานวนที่เหมาะสมและการแกไขปญหาอาวุธปนนอกระบบ (ปนเถื่อน)

5.2.3.1 การจํากัดจํานวนอาวุธปนใหบุคคลหนึ ่งมีไดเพียงสอง

กระบอก คือ อาวุธปนสั้นหนึ่งกระบอกและอาวุธปนยาวหนึ่งกระบอก

จากการที่อาวุธปนในประเทศไทยจนถึงปจจุบันมีอาวุธปนที่มี

ใบอนุญาตถูกตองตามกฎหมายจํานวนมากกวาสี่ลานกระบอกและยังมีแนวโนมเพิ่ม

มากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งที่เปนอาวุธปนจากโควตาของรานคาปกติและอาวุธปนตามโครงการ

สวัสดิการตางๆ อีกปละหลายหมื่นกระบอก ซึ่งประเด็นปญหาสําคัญประเด็นหนึ่งก็คือ

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธ

ปน พ.ศ. 2490 ไมไดบัญญัติจํากัดจํานวนเอาไววาบุคคลผูมีคุณสมบัติในการมีและใช

อาวุธปนไดนั้น แตละบุคคลมีอาวุธปนไดคนละกี่กระบอก โดยมีเพียงแนวทางปฏิบัติ

เปนหนังสือสั่งการใหนายทะเบียนอนุญาตใหบุคคลทั่วไปที่มีคุณสมบัติครบถวนสามารถ

ขอใบอนุญาตอาวุธปนสั้นไดหนึ่งกระบอก และอาวุธปนยาวอีกหนึ่งกระบอก แตถานาย

ทะเบียนจะอนุญาตใหมากกวานั้นก็สามารถใชดุลยพินิจอนุญาตใหได ดังนั้นในขณะนี้จึง

ปรากฏขอเท็จจริงวามีบุคคลจํานวนมากที่มีอาวุธปนไวในครอบครองโดยถูกตองตาม

กฎหมายมากกวาสองกระบอก บางคนมีเปนหลายสิบกระบอกหรือเปนรอยกวา

กระบอก ซึ่งเกินความจําเปนและไมใชเจตนารมณของกฎหมายวาดวยอาวุธปนที่มุ ง

ประสงคจะอนุญาตใหบุคคลมีอาวุธปนไวในครอบครองตามความจําเปนที่จะตองมี

อาวุธปนไวเพื่อปองกันชีวิตและทรัพยสินของตนและครอบครัวเทานั้น

ดังนั้น จึงตองมีการแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 ใหบุคคลมี

อาวุธปนไดคนละไมเกินสองกระบอก เปนอาวุธปนสั้นหนึ่งกระบอกและอาวุธปนยาวหนึ่ง

กระบอก ซึ่งก็เพียงพอในการใชรักษาชีวิตและทรัพยสินของตนและครอบครัวไดอยางมี

ประสิทธิภาพแลว

การจํากัดจํานวนอาวุธปนใหบุคคลหนึ่งมีไดเพียงสองกระบอก

เปนประเด็นสําคัญที่จะสงผลกระทบตอผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนในปจจุบันอยาง

แนนอน เพราะเมื่อใดที่มีการแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุ

Page 238: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

214

ระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 จํากัดจํานวนอาวุธปนใหบุคคล

หนึ่งสามารถมีอาวุธปนไดเพียงสองกระบอกคือ อาวุธปนสั้นหนึ่งกระบอก และอาวุธปนยาว

หนึ่งกระบอก ยอมสงผลกระทบที่คอนขางรุนแรงตอธุรกิจการคาอาวุธปนเพราะฐานของ

ลูกคาที่จะซื้ออาวุธปนจะลดลงอยางมาก บุคคลใดมีอาวุธปนครบสองกระบอกแลวแมจะ

มีเงินมากมายและอยากจะซื้ออาวุธปนเพิ่มก็จะไมสามารถกระทําไดอีกตอไปเพราะเปน

เรื่องผิดกฎหมายทั้งฝายผูซื้อและฝายผูขาย ซึ่งแนวโนมในอนาคตผูประกอบธุรกิจอาวุธ

ปนอาจตองลดจํานวนนําเขาอาวุธปนลงแตในขณะเดียวกันก็จะตองพยายามขายอาวุธปน

ในราคาที่สูงขึ้นไปอีกหลายเทาตัวเพื่อชดเชยจํานวนการขายอาวุธปนที่ลดลง ซึ่งในที่สุด

ผลกระทบที่มากที่สุดนาจะลงมาอยูที่ตัวของผูที่ตองการซื้ออาวุธปนในอนาคตที่จะตอง

รับภาระซื้ออาวุธปนในราคาท่ีสูงมากกวาในปจจุบันหลายเทาตัวแตอยางไรก็ตามเมื่อมอง

ภาพรวมของความปลอดภัยสาธารณะที่จะเกิดขึ้นตอสังคมและประชาชนในการที่จะ

ไดรับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินมากยิ่งขึ้นจากการที่อาวุธปนถูกจํากัดจํานวนลง

แลว ก็นับวาเปนการคุมคาอยางมาก

5.2.3.2 การเพิ่มโทษผูมีอาวุธปนไวในครอบครองโดยไมไดรับ

อนุญาต

โดยดําเนินการแบงเปนสองระยะคือ

ระยะที่หนึ่ง แกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 กําหนดโทษของ

การมีอาวุธปนที่ไมมีใบอนุญาตใหมีและใชไวในครอบครองใหมีโทษหนักถึงขั้นจําคุก

ตลอดชีวิตหรือประหารชีวิต โดยใชมาตรฐานโทษในระดับเดียวกันกับประเทศสิงคโปร

ซึ่งประสบความสําเร็จในการควบคุมการมีและใชอาวุธปนมาแลว

ระยะที่สอง ออกกฎหมายนิรโทษกรรมโดยใหผูที่ครอบครอง

อาวุธปนที่ไมมีใบอนุญาตใหมีและใชรวมทั้งอาวุธปนสงครามหรืออาวุธปนอื่นๆ ที่นาย

ทะเบียนออกใบอนุญาตใหไมไดตองนํามามอบใหทางราชการภายในระยะเวลาที่

กําหนดโดยไมตองรับโทษตามกฎหมาย และเมื่อพนกําหนดการนิรโทษกรรมแลว

เจาหนาที่ทุกฝายตองจัดทําแผนยุทธศาสตรบูรณาการในการทํางานรวมกันเพื่อทําการ

ปราบปรามอาวุธปนเถื่อนใหหมดสิ้นไปภายในระยะเวลาที่กําหนดตามแผนยุทธศาสตร

Page 239: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

215

ทั้งนี้ เจาหนาที่ทุกฝายจะตองดําเนินการกวดขันตรวจคนและจับกุมผูที่ฝาฝนมาลงโทษ

อยางเฉียบขาดไมมีการไวหนาแกผูใดทั้งสิ้น เพื่อใหกฎหมายมีความศักดิ์สิทธิ์และเปนที่

เกรงกลัวแกผูที่คิดจะฝาฝนตอไป

มาตรการนี้นาจะสงผลดีตอผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนเปน

อยางมาก เพราะเมื่อการครอบครองอาวุธปนเถื่อนมีโทษหนักมากเชนนี้ คนที่มีอาวุธปน

เถื่อนก็มีทางเลือกเพียงสองทางคือนําอาวุธปนเถื่อนมามอบใหกับทางราชการตามกฎหมายนิร

โทษกรรม กับอีกทางเลือกคือทําลายหรือทิ้งอาวุธปนเถื่อนนั้นเสีย จากนั้นก็จะหันมาซื้ออาวุธ

ปนที่ถูกกฎหมายจากผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนซึ่งจะทําใหผูประกอบธุรกิจอาวุธ

ปนมีฐานลูกคาเพิ่มขึ้นอีกเปนจํานวนมาก

5.2.4 ประเด็นการสอบความรูความสามารถในการใชอาวุธปน

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และ

สิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 ไดกําหนดคุณสมบัติของผูที่จะขอมีใบอนุญาตมีและใชอาวุธ

ปน(แบบ ป.4) ไวตามมาตรา 13 ดังนี้

(1) ไมเปนบุคคลซึ่งตองโทษจําคุกสําหรับความผิดตามกฎหมาย

ลักษณะอาญา ดังตอไปนี้

(ก) มาตรา 97 ถึงมาตรา 111 มาตรา 120 มาตรา 177 ถึงมาตรา

183 มาตรา 249 มาตรา 250 หรือมาตรา 293 ถึงมาตรา 303

(ข) มาตรา 244 ถึงมาตรา 257 และพนโทษยังไมเกิน 5 ป นับแตวัน

พนโทษถึงวันยื่นคําขอใบอนุญาต เวนแตในกรณีความผิดที่กระทําโดยความจําเปนหรือ

เพื่อปองกันหรือโดยถูกยั่วโทสะ

(2) ไมเปนบุคคลซึ่งตองโทษจําคุกสําหรับความผิดอันเปนการฝาฝน

ตอพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง พุทธศักราช

2477 มาตรา 11 มาตรา 22 มาตรา 29 หรือมาตรา 33 หรือพระราชบัญญัติอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิงและสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 มาตรา 7

มาตรา 24 มาตรา 33 หรือมาตรา 38

Page 240: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

216

(3) ไมเปนบุคคลซึ่งตองโทษจําคุกตั้งแตสองครั้งขึ้นไปในระหวางหาป

นับยอนขึ้นไปจากวันยื่นคําขอ สําหรับความผิดอยางอื่นนอกจากที่บัญญัติไวใน (1) และ

(2) เวนแตความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

(4) ไมเปนบุคคลซึ่งยังไมบรรลุนิติภาวะ

(5) ไมเปนบุคคลซึ่งไมสามารถใชอาวุธปนไดโดยกายพิการหรือทุพพล

ภาพ เวนแตจะขออนุญาตมีไวเพื่อเก็บ

(6) ไมเปนบุคคลไรความสามารถ หรือเสมือนไรความสามารถ หรือจิต

ฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือวิกลจริต

(7) ไมเปนบุคคลซึ่งไมมีอาชีพและรายได

(8) ไมเปนบุคคลซึ่งไมมีที่อยูเปนหลักแหลง

( 9) ไม เปนบุคคลซึ่ งมีความประพฤติชั่ วอยางรายแรงอันอาจ

กระทบกระเทือนถึงความสงบเรียบรอยของประชาชน

(10) มีชื่ออยูในทะเบียนบานตามกฎหมายวาดวยการทะเบียนราษฎร

และมีถิ่นท่ีอยูประจําในทองที่ที่ขออนุญาต ไมนอยกวา 6 เดือน

ตองมีการกําหนดเพิ่มเติมไวในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 มาตรา 13

วาผูที่จะขออนุญาตมีและใชอาวุธปนนอกจากคุณสมบัติตางๆ ที่กําหนดไวในกฎหมาย

ปจจุบันแลวตองเพิ่มคุณสมบัติ ให เปนผูที่สอบผานเกณฑการทดสอบความรู

ความสามารถในการใชอาวุธปนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติตามหลักเกณฑและ

วิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด

การสอบความรูความสามารถในการใชอาวุธปนจะสงผลกระทบตอผู

ประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนบางในทางออมและมีผลกระทบเพียงเล็กนอยเทานั้น

เพราะการซื้ออาวุธปนจะกระทําไดยากขึ้นทําใหฐานของลูกคาท่ีจะมาซื้ออาวุธปนลดลงไป

บางแตก็ไมมากจนถึงขนาดสรางเสียหายตอผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนแตอยางใด

5.2.5 ประเด็นการตรวจสภาพทางจิตในการขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธ

ปน

Page 241: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

217

จากเหตุการณกราดยิงสังหารชีวิตผูคนที่บริสุทธิ์อยางรายแรงจนเปน

เหตุใหมีทั้งผูเสียชีวิตและบาดเจ็บจํานวนมากที่เกิดขึ้นบอยครั้งในตางประเทศเชนใน

สหรัฐอเมริกาหรือออสเตรเลียซึ่งแทบทุกครั้งมาจากการกระทําของผูกระทําความผิดที่

เปนผูปวยทางจิต แมแตในประเทศไทยก็เคยเกิดเหตุการณกราดยิงลักษณะนี้เชนที่เกิด

เหตุการณยิงถลมรถ "ผูพันกระทิงแดง" อดีตรองผูบังคับการปองกันและปราบปรามการ

ทุจริต รางพรุนดับคาเกงในทองที่อําเภอบานโปง จังหวัดราชบุรี หรือเหตุการณสงกรานต

เดือดกลางกรุงซึ่งคนรายขี่รถจักรยานยนตชักปนยิงกราดกลุมวัยรุนที่ตั้งกลุมเลนน้ําหนา

ซอยอินทามระ 29 กรุงเทพฯ ซึ่งแมจะไมรายแรงเทาเหตุการณในตางประเทศแตก็ถือวา

เปนการสงสัญญานเตือนใหสังคมไทยไดรับรูแลววาในอนาคตเหตุการณการกราดยิง

ดวยอาวุธปนลักษณะนี้อาจเกิดขึ้นอีกไดทุกเมื่อ ดังนั้น จึงถึงเวลาแลวที่จะตองแกไข

บทบัญญัติมาตรา 13 แหงพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไม

เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490 โดยเพิ่มคุณสมบัติของผูขออนุญาตมีและใช

อาวุธปนในมาตรา 13 อีกหนึ่งขอวา “ตองเปนผูที่ผานการตรวจสภาพทางจิตและไดรับ

ใบรับรองจากจิตแพทยวาเปนบุคคลที่มีสภาวะทางจิตปกติไมมีแนวโนมวาเปนผู มี

อารมณแปรปรวนชอบใชความรุนแรงหรือชอบทะเลาะวิวาททํารายผูอื่น” ทั้งนี้ เพื่อให

เปนมาตรการที่จําเปนในการกลั่นกรองบุคคลผูจะมีอาวุธปนไวในครอบครองเพิ่มขึ้นอีก

ระดับหนึ่ง ซึ่งจะเปนมาตรการหนึ่งที่จะสงผลในการเพ่ิมความปลอดภัยใหกับสังคมและ

ประชาชนท่ัวไปไดเปนอยางดี

การตรวจสภาพทางจิตผู ขอใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนมี

กระทบตอผูประกอบธุรกิจการคาอาวุธปนเพียงเล็กนอยเทาน้ัน เพราะการซื้ออาวุธปนจะ

กระทําไดยากขึ้น เนื่องจากผูขออนุญาตใหมีและใชอาวุธปนตองเปนผูที่ผานการตรวจสภาพ

ทางจิตกอน ทําใหฐานของลูกคาท่ีจะมาซื้ออาวุธปนมีจํานวนลดลง

5.3 สรุปผลการศึกษา การควบคุมทางทะเบียนอาวุธปน มีความรัดกุมมากยิ่งขึ ้นอันจะเปนผลดี

ตอสังคม ทําใหเกิดความสงบเรียบรอยมากยิ่งขึ้น ประชาชนท่ัวไปและนักทองเที่ยวจาก

ตางประเทศที่ เขามาในประเทศไทยมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินมากยิ่งขึ้น

ประหยัดงบประมาณดานการรักษาความปลอดภัยทั้งภาคเอกชนและภาคราชการ รวมทั้ง

Page 242: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

218

เจาหนาที่ของรัฐในกระบวนการยุติธรรมมีภาระงานลดนอยลง งบประมาณดานนี้ก็ลดลง

สงผลดีตอระบบเศรษฐกิจที่เกี่ยวของกับการทองเที่ยวตอเนื่องถึงระบบเศรษฐกิจโดยรวม

ของประเทศที่ดีขึ้น แตอยางไรก็ตาม มาตรการในการควบคุมทางทะเบียนอาวุธปนเปน

เพียงมาตรการหนึ่งที่มุงหมายเพื่อเปนการเสริมสรางความสงบเรียบรอยใหกับสังคม

และประเทศชาติ รวมทั้งเพื่อเพิ่มมาตรการในการคุมครองชีวิตและทรัพยสินใหกับ

ประชาชนโดยรวม แตประการสําคัญของการรักษาความสงบเรียบรอยในสังคมโดยเฉพาะ

การคุมครองชีวิตและทรัพยสินของประชาชนใหปลอดภัยจากภยันตรายที่เกิดจากการประกอบ

อาชญากรรมที่ใชอาวุธปน ยอมขึ้นอยูกับประชาชนคนไทยทั้งประเทศ ไมวาจะเปนผูที่ไดรับ

อนุญาตใหมีหรือใชอาวุธปนหรือไมก็ตาม จะตองเปนผูที่มีระเบียบวินัย เคารพและปฏิบัติ

ตามกฎหมาย รูจักหนาที่การเปนพลเมืองที่ดี มีความเคารพใหเกียรติซึ่งกันและกัน คิดถึง

ประโยชนสาธารณะกอนที่จะคิดถึงประโยชนสวนตน ซึ่งหากประชาชนชาวไทยยึดถือหลัก

เหลานี้ ประเทศไทยยอมเกิดความสงบเรียบรอย สังคมมีความปลอดภัย เกิดการพัฒนา

เจริญกาวหนาในทุกดานอยางตอเนื่องและรวดเร็วจนสามารถกาวเขาสูการเปนประเทศชั้นนํา

แบบนานาอารยะประเทศไดในที่สุด

------------------------------------

Page 243: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

บรรณานุกรม

ภาษาไทย

หนังสือ

สรารักษ สุวรรณเสรี, อาคม ศรียาภัย ผูพิพากษา, กฎหมายและคดีอาวุธปน

กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนแสงจันทรการพิมพ, 2553

ศาสตราจารย ดร.ปรีดี เกษมทรัพย, “นิติปรัชญา PHILOSOPHY OF LAW”

โครงการตําราและเอกสารประกอบการสอน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพเดือนตุลา, 2553

รองศาสตราจารยสมยศ เชื้อไทย “นิติปรัชญาเบื้องตน (Lntroduction to Philosophy of

Law)”, กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพวิญูชน จํากัด, 2553

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, คูมือปฏิบัติงานอาวุธปน พ.ศ. 2548 เลมที่ 1

ฉบับรวมกฎหมายอาวุธปน, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพอาสารักษาดินแดน

กรมการปกครอง, 2549

กาญจนารัตน ลีวิโรจน และคณะ, “ศาลรัฐธรรมนูญกับการคุมครอง สิทธิเสรีภาพของ

ประชาชนภายใตรัฐธรรมนูญ”, รวมบทความทางวิชาการของสํานักงานศาล

รัฐธรรมนูญ ชุดที่ 12 กรุงเทพมหานคร : บริษัท พี. เพรส จํากัด, 2557) : 1 - 5

บทความ

ความรูเรื่องอาวุธปนเบื้องตน รวบรวมโดย พ.ต.ท.ศุภฤกษ อาภรณรัตน นักนิติ

วิทยาศาสตร 8 ว. กลุมตรวจสอบอาวุธปนและฟสิกสสํานักนิติวิทยาศาสตรบริการ

สถาบันนิติวิทยาศาสตร

วิทยานิพนธ/เอกสารวิจัย/การศึกษาอิสระ

บงกช เอกกาญธนกร, “ปญหาเกี่ยวกับการพกพาอาวุธปนในประเทศไทย” วิทยานิพนธ

นิติศาสตรมหาบัณฑิต, คณะนิติศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร 2557

Page 244: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

219

วิภาส จารุพงษ, “การบังคับใชพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด

ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2549 : ศึกษาเพาะกรณีเกี่ยวกับ

อาวุธปน และเครื่องกระสุนปน”, วิทยานิพนธนิติศาสตรมหาบัณฑิต, คณะ

นิติศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง 2547

รอยตํารวจเอกหญิง สวนิต สตงคุณห “ปญหาและแนวทางการปรับปรุงกฎหมายวา

ดวยอาวุธปน : ศึกษาในเชิงกฎหมายเปรียบเทียบ ”, วิทยานิพนธนิติศาสตร

มหาบัณฑิต, คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2544

สุเจตน สงสัมพันธสกุล, “ปญหาและแนวทางแกไขปญหาการบังคับใชพระราชบัญญัติ

อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน

พ.ศ. 2490: ศึกษาเฉพาะกรณีการควบคุมอาวุธปน”, ผลงานหลักสูตรการ

อบรม “หลักสูตรผูพิพากษาผูบริหารในศาลชั้นตน”, สถาบันพัฒนา

ขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม สํานักงานศาลยุติธรรม 2555

รองศาสตราจารย ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ, เรื่อง “การใชสิทธิทางศาลของบุคคลซึ่งถูก

ละเมิดสิทธิ หรือเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญมาตรา 28 ในกรณีที่ศาลมีคํา

พิพากษาถึงที่สุดแลว” รายงานการวิจัย สํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ 2551

เอกสารประกอบการประชุมสวนราชการที่เกี่ยวของวาดวยการพิจารณาแนวทางการ

ดําเนินงานของสวนราชการที่เกี่ยวของเพื่อใหสัตยาบันภายหลังการเขาเปน

ภาคีสนธิสัญญา วาดวยการคาอาวุธ (Arms Trade Treaty : ATT) ระหวาง

วันที่ 16 – 17 ธันวาคม 2557 ณ บานอัมพวา รีสอรท แอนด สปา อําเภอ

อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม

กฎหมาย

พระราชบัญญัติอาวุธปน และเครื่องกระสุนปน รัตนโกสินทรศก 131” ราชกิจจานุเบกษา

เลมที่ 29 ฉบับพิเศษ วันที่ 28 กรกฎาคม 131 หนา 120

ประกาศใหใชพระราชบัญญัติอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนรัตนโกสินทรศก 131” ราชกิจจา

นุเบกษาเลมที่ 30 วันที่ 21 กันยายน 2456 หนา 299

Page 245: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

220

ประกาศแกไขเปลีย่นแปลง พระราชบัญญัติอาวธุปน และเคร่ืองกระสุนปนรัตนโกสินทรศก

131” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 32 วันที่ 3 ตุลาคม 2458 หนา 276

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง พุทธศักราช

2477” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 51 วันที่ 19 สิงหาคม 2477 หนา 279

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง แกไข

เพิ่มเติม พุทธศักราช 2477” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 51 วันทิ่ 19 สิงหาคม

2477 หนา 719

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง แกไขเพิ่มเติม

พุทธศักราช 2477 (ฉบับที่ 2)” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 52 วันที่ 28

เมษายน 2478 หนา 118

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 4) พุทธศักราช

2477 ” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 54 วันที่ 26 เมษายน 2480 หนา 194

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 5)

พุทธศักราช 2477” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 58 วันที่ 4 พฤศจิกายน 2484

หนา 1507

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 6)

พุทธศักราช 2477” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 61 ตอน 1 วันที่ 1 มกราคม 2487

หนา 1

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง พ.ศ. 2490”

ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 42 เลม 64 วันที่ 9 กันยายน 2490 หนา 556

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 2) พ.ศ.

2491” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 5 เลม 65 วันที่ 27 มกราคม 2491 หนา

30

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 3)

พ.ศ. 2501” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 75 ตอนที่ 72 วันที่ 16 กันยายน

2501 หนา 549

Page 246: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

221

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 4) พ.ศ.

2501” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 84 ตอนที่ 93 วันที่ 3 ตุลาคม 2510

หนา 771

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 5) พ.ศ.

2517” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 91 ตอนที่ 109 ฉบับพิเศษ วันที่ 26 มิถุนายน

2517 หนา 22

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 6) พ.ศ.

2518” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 92 ตอนที่ 174 ฉบับพิเศษ วันที่ 29 สิงหาคม

2518 หนา 1

คําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ 44 ลงวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2519”

ราชกิจจานุเบกษา เลมที ่93 ตอนที่ 134 ฉบับพิเศษ วันที่ 21 ตุลาคม 2519

หนา 61

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 7) พ.ศ.

2522” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 99 ตอนที่ 28 ฉบับพิเศษ วันที่ 1 มีนาคม

2522 หนา 11

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครือ่งกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 8) พ.ศ.

2530” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 104 ตอนที่ 141 ฉบับพิเศษ วันที่ 24 กรกฎาคม

2530 หนา 22

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง (ฉบับที่ 9) พ.ศ.

2543” ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 117 ตอนที่ 92 ก วันที่ 11 ตุลาคม 2543

หนา 4

ประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ฉบับที ่87/2557 เรื่อง การแกไขเพิ่มเติมผู

รักษาการตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับอํานาจหนาที่ของเจาพนักงานตํารวจ”

ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 131 ตอนพิเศษ 134 วันที่ 21 กรกฎาคม 2457 หนา 18

Page 247: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

222

กฎกระทรวงฉบับที่ 3 (พ.ศ.2491) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปนวัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490”

ราชกิจจานุเบกษาเลมที่ 45 ตอนที่ 47 ฉบับพิเศษ วันที่ 17 สิงหาคม

2491 หนา 1

กฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2522) ออกตามความในพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปนวัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. 2490”,

ราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 96 ตอนที่ 140 วันที่ 14 สิงหาคม 2522

หนา 13

ประกาศกรมการปกครอง เรื่อง แจงขอมูลทางการปกครอง ลงวันที่ 5 มีนาคม 2558

ภาษาอังกฤษ

United States v.Cruikshank, 92 U.S. 552,1876

Presser v. Illinois, 116 U.S. 252, 1886.

Tat v. United States,319 U.S. 463, 1943

Rec.gun FAQ : LLG.3 The Gun Control Act of 1968.Available from :

WWW.recgun.com/LLG3.htm

Printed for the Government of Singapore by the Singapore National Printers

(Government Printers), 1986, p.1.

The Statutes of the Republic of Singapore, Arms Offences Act (Chapter 14).

LAWS OF MALAYSIA ARMS ACT 1960 : Incorporating all

amendments up to 1 January 2006

Firearms Act 1996 A1996-74 Republication No 39 Effective: 3 March 2015 Republication date: 3 March 2015 Last amendment made by A2015-

3 Authorised by the ACT Parliamentary Counsel

Page 248: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

223

เว็บไซต

สํานักพัฒนาการประชาสัมพันธ ปญหาสังคมไทยในปจจุบัน [Online] Available

URL: http://hq.prd.go.th/PRTechnicalDM/ewt_news.php?nid=1619,

/2557 Post today [Online] Available URL :

http://www.posttoday.com/รอบโลก/ขาวรอบโลก/325175/ไทยรั้งอันดับ 6

โลกรวยกระจุกจนกระจาย ,2557

AEC NEWS [Online] Available URL

http://www.aecnews.co.th/politic_sreport/read/612 ยอนรอยเหตุการณ

กราดยิง!ในอเมริกา ดินแดนแหงเสรีชน, 2557

คมชัดลึกออนไลน [Online] Available URL

http://www.komchadluek.net/detail/20140223/179535.html, 2557

ไทยรัฐออนไลน [Online] Available URL : ttp://www.thairath.co.th/content/465882

,2557

ไทยรัฐออนไลน [Online] Available URL : http://www.thairath.co.th/content/338876

,2557

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ปนคาบศิลา [Online] , Available URL

https://th.wikipedia.org/wiki /ปนคาบศิลา 2558

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ปนไฟ [Online] , Available URL

https:/th.wikipedia.org/wiki/ปนไฟ 2558

ภาคผนวก ปนคาบศิลา ปนนกสับ [Online] , Available URL

http://3king.lib.kmutt.ac.th/KingTarksinCD/appendix_6.html, 2014

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี อาวุธปน [Online] , Available URL:

https:/th.wikipedia.org/wiki/อาวุธปน 2558

Gun in Thailand[Online] , Available URL

http://2013.gun.in.th/index.php?topic=28952.0

Page 249: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

224

ประวัติความเปนมาของประเทศมาเลเซีย [Online] , Available URL

http://mah10612.blogspot.com/2013/07/blog-post.html 2558

(สิงหาคม , 31)

oknation [Online] Available URL :

http://www.oknation.net/blog/schamrat/2009/04/22/entry-1การ

วิเคราะห

กระสุนปนตามหลักนิติวิทยาศาสตร (Bullet and Cartridqe Identification)

2558

sanook dictionary [Online] Available URL : http://dictionary.sanook.com/search/dict-

computer/chip 2558

JIMMY,S BlOG [Online] Available URL : http://jimmysoftwareblog.com/node/1593

2558

NECTEC [Online] Available URL :

http://www.nectec.or.th/bid/mkt_info_tech_verichip.htm/ 2558

[Online] , Available URL: http://www.dailygizmo.tv/wpcontent/uploads/2014/05/xl_smart- gun-

Armatix.jpg ailygizmo 2558

[Online] , Available URL :

http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=95500000900

48 2558 (กันยายน,28)

[Online], Available URL : http://www.oknation.net/blog/olympic2549/2013/01/19/entry-

1 2558

[Online] , Available URL :

https://th.wikipedia.org/wiki/การสังหารหมูพอรตอาเทอร_(ออสเตรเลีย)

2558 (กันยายน,28)

Page 250: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

ภาคผนวก

Page 251: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด

ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปนพ.ศ. ๒๔๙๐

ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช

คณะผูสําเร็จราชการแทนพระองค

รังสิต กรมขุนชัยนาทนเรนทร

พระยามานวราชเสวี

ใหไว ณ วันที่ ๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๙๐

เปนปที่ ๒ ในรัชกาลปจจุบัน

โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุ

ระเบิด และดอกไมเพลิง กับควบคุมสิ่งเทียมอาวุธปน

พระมหากษัตริยโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา จึงมีพระบรมราช

โองการใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไว ดังตอไปนี้

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปนวัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน พ.ศ. ๒๔๙๐”

มาตรา ๒[๑] พระราชบัญญัต ินี ้ให ใชบ ังค ับตั ้งแตว ันถ ัดจากว ัน

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

มาตรา ๓ ใหยกเลิก

(๑) พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิดและดอกไม

เพลิง พุทธศักราช ๒๔๗๗

(๒) พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื ่องกระสุนปน วัตถุระเบิดและ

ดอกไมเพลิง แกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗

Page 252: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

227

(๓) พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื ่องกระสุนปน วัตถุระเบิดและ

ดอกไมเพลิง แกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๗ (ฉบับที่ ๒)

(๔) พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื ่องกระสุนปน วัตถุระเบิดและ

ดอกไมเพลิง (ฉบับที่ ๔) พุทธศักราช ๒๔๗๙

(๕) พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื ่องกระสุนปน วัตถุระเบิดและ

ดอกไมเพลิง (ฉบับที่ ๕) พุทธศักราช ๒๔๘๔

และบรรดาบทกฎหมาย กฎ และขอบังคับอื่น ๆ ในสวนที่มีบัญญัติไว

แลวในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแยงกับบทแหงพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้

(๑)[๒] “อาวุธปน” หมายความรวมตลอดถึงอาวุธทุกชนิดซึ่งใชสงเครื่อง

กระสุนปนโดยวิธีระเบิดหรือกําลังดันของแกสหรืออัดลมหรือเครื่องกลไกอยางใด ซึ่ง

ตองอาศัยอํานาจของพลังงาน และสวนหนึ่งสวนใดของอาวุธนั้น ๆ ซึ่งรัฐมนตรีเห็นวา

สําคัญและไดระบุไวในกฎกระทรวง

(๒)[๓] “เครื่องกระสุนปน” หมายความรวมตลอดถึงกระสุนโดด กระสุน

ปราย กระสุนแตก ลูกระเบิด ตอรปโด ทุนระเบิดและจรวด ทั้งชนิดที่มีหรือไมมีกรดแกส

เชื้อเพลิง เชื้อโรค ไอพิษ หมอกหรือควัน หรือกระสุน ลูกระเบิด ตอรปโด ทุนระเบิดและ

จรวด ที่มีคุณสมบัติคลายคลึงกัน หรือเครื่องหรือสิ่งสําหรับอัดหรือทํา หรือใชประกอบ

เครื่องกระสุนปน

(๓)[๔] “วัตถุระเบิด” คือ วัตถุที่สามารถสงกําลังดันอยางแรงตอสิ่งหอม

ลอมโดยฉับพลันในเมื่อระเบิดขึ้น โดยมีสิ่งเหมาะมาทําใหเกิดกําลังดัน หรือโดยการ

สลายตัวของวัตถุระเบิดนั้นทําใหมีแรงทําลายหรือแรงประหาร กับหมายความรวม

ตลอดถึงเชื้อประทุตางๆ หรือวัตถุอื่นใดอันมีสภาพคลายคลึงกันซึ่งใช หรือทําขึ้นเพื่อให

เกิดการระเบิดซึ่งรัฐมนตรีจะไดประกาศระบุไวในราชกิจจานุเบกษา

(๔) “ดอกไมเพลิง” หมายความรวมตลอดถึงพลุ ประทัดไฟ ประทัดลม

และวัตถุอื่นใด อันมีสภาพคลายคลึงกัน

(๕) “สิ่งเทียมอาวุธปน” หมายความวา สิ่งซึ่งมีรูปและลักษณะอันนาจะ

ทําใหหลงเชื่อวาเปนอาวุธปน

Page 253: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

228

(๖) “มี” หมายความวา มีกรรมสิทธิ์หรือมีไวในครอบครองแตไม

หมายความถึงการที่อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิดที่มีไวโดยชอบดวยกฎหมาย

และตกอยูในความครอบครองของบุคคลอื่นซึ่งไมตองหามตามมาตรา ๑๓ แหง

พระราชบัญญัตินี้เทาที่จําเปนเพื่อรักษาสิ่งที่วานี้มิใหสูญหาย

(๗) “สั่ง” หมายความวา ใหบุคคลใดสงหรือนําเขามาจากภายนอก

ราชอาณาจักร

(๘) “นําเขา” หมายความวา นําเขามาจากภายนอกราชอาณาจักรไมวาโดย

วิธีใด ๆ

(๙) “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัติ

นี้

มาตรา ๕[๕] พระราชบัญญัตินี้ เวนแตมาตรา ๘ ทวิ มิใหใชบังคับแก

(๑) อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธ

ปน ของ

(ก) ราชการทหารและตํารวจที่มีหรือใชในราชการ

(ข) หนวยราชการที่มีหรือใชเพื่อปองกันประเทศหรือรักษาความสงบ

เรียบรอยของประชาชน

(ค) หนวยราชการหรือรัฐวิสาหกิจที่มีและใชในการปองกันและรักษา

ทรัพยสินอันสําคัญของรัฐ

(ง) ราชการทหารและตํารวจตาม (ก) หรือหนวยราชการตาม (ข) ที่

มอบใหประชาชนมีและใชเพื่อชวยเหลือราชการของทหารและตํารวจ หรือของหนวยราชการ

แลวแตกรณี

(๒) อาวุธปนและเครื่องกระสุนปนประจําเรือเดินทะเล รถไฟและอากาศ

ยานตามปกติ ซึ่งไดแสดงและใหพนักงานศุลกากรตรวจตามกฎหมายแลว

(๓) ดอกไมเพลิงสัญญาณประจําเรือเดินทะเล อากาศยาน และ

สนามบินตามปกติ

หนวยราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามวรรคหนึ่ง (๑) (ข) หรือ (ค) รวมทั้ง

ชนิด ขนาดและการกําหนดจํานวน ตลอดจนการมีและใช การเก็บรักษา การพาติดตัว

Page 254: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

229

การซอมแซมหรือเปลี่ยนลักษณะ และการอยางอื่นที่จําเปนเพื่อการรักษาความ

ปลอดภัยอันเกี่ยวกับ อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียม

อาวุธปน ที่ใหหนวยราชการหรือรัฐวิสาหกิจดังกลาวมีและใชหรือมอบใหประชาชนมี

และใชเพื่อชวยเหลือราชการนั้น ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๖[๖] ใหนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และใหมีอํานาจแตงตั้งนายทะเบียนและเจาหนาที่อื่น

และออกกฎกระทรวงในเรื่องตอไปนี้ คือ

(๑) จํากัดชนิดและจํานวนอาวุธปนของกระทรวงทบวงกรมอื่น นอกจาก

ของราชการทหารและตํารวจหรือหนวยราชการตามมาตรา ๕ วรรคสอง

(๒) วางระเบียบการทะเบียน การขอและการออกใบอนุญาต

(๓) กําหนดอัตราคาธรรมเนียมซึ่ งตองไม เกินอัตราในบัญชีทาย

พระราชบัญญัตินี้

(๔) กิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้[๗]

ในสวนที่เกี่ยวกับการออกกฎกระทรวงตามวรรคหนึ่ง (๑) ตามมาตรา ๕

วรรคสอง และตามมาตรา ๕๕ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมรวมรักษาการตาม

พระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงรวมกับนายกรัฐมนตรีและ

รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยดวย[๘]

ในสวนที่เกี่ยวกับการศุลกากร ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง

รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตาม

พระราชบัญญัตินี้ดวย

กฎกระทรวงนั้นเมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหใชบังคับได

Page 255: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

230

หมวด ๑

อาวุธปน และเครื่องกระสุนปน

สวนที่ ๑

อาวุธปน และเครื่องกระสุนปนสวนบุคคล

มาตรา ๗ หามมิใหผูใดทํา ซื้อ มี ใช สั่ง หรือนําเขา ซึ่งอาวุธปนหรือ

เครื่องกระสุนปน เวนแตจะไดรับใบอนุญาตจากนายทะเบียนทองที่

มาตรา ๘ หามมิใหผูใดมีเครื่องกระสุนปนซึ่งมิใชสําหรับใชกับอาวุธปน

ที่ตนไดรับใบอนุญาตใหมีและใช

มาตรา ๘ ทวิ[๙] หามมิใหผูใดพาอาวุธปนติดตัวไปในเมือง หมูบาน หรือ

ทางสาธารณะโดยไมไดรับใบอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตัว เวนแตเปนกรณีที่ตองมีติดตัว

เมื่อมีเหตุจําเปนและเรงดวนตามสมควรแกพฤติการณ

ไมวากรณีใด หามมิใหพาอาวุธปนไปโดยเปดเผย หรือพาไปในชุมนุมชน

ที่ไดจัดใหมีขึ้น เพื่อนมัสการ การรื่นเริง การมหรสพ หรือการอื่นใด

ความในมาตรานี้ มิใหใชบังคับแก

(๑) เจาพนักงานผูมีหนาที่รักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน ทหาร

และตํารวจ ซึ่งอยูในระหวางการปฏิบัติหนาที่

(๒) ขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการหรือรัฐวิสาหกิจ

ตามมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง (๑) (ข) หรือ (ค) ซึ่งอยูในระหวางการปฏิบัติหนาที่เพื่อการ

ปองกันประเทศ หรือรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชนหรือรักษาทรัพยสินอัน

สําคัญของรัฐ

(๓) ประชาชนผูไดรับมอบใหมีและใชตามมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง (๑) (ง)

ซึ่งอยูในระหวางการชวยเหลือราชการและมีเหตุจําเปนตองมี และใชอาวุธปนในการนั้น[๑๐]

Page 256: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

231

มาตรา ๙ ใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน และเครื่องกระสุนปน ใหออก

ใหแกบุคคลสําหรับใชในการปองกันตัวหรือทรัพยสิน หรือในการกีฬาหรือยิงสัตว

ใบอนุญาตนั้นใหออกสําหรับอาวุธปนแตละกระบอก

มาตรา ๑๐ อาวุธปนที่ไดออกใบอนุญาตใหตามมาตรากอน ใหนาย

ทะเบียนทําเครื่องหมายประจําอาวุธปนนั้นไวตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๑๑ ใบอนุญาตใหมีอาวุธปนไวเพื ่อเก็บใหออกไดสําหรับ

อาวุธปนที่นายทะเบียนเห็นวาชํารุดจนใชยิงไมไดหรืออาวุธปนแบบพนสมัย หรืออาวุธ

ปนซึ่งไดรับเปนรางวัลจากการแขงขันยิงปนในทางราชการ

มาตรา ๑๒ อาวุธปนซึ่งไดรับอนุญาตใหมีไวเพื่อเก็บนั้น หามมิใหยิง

และหามมิใหมีเครื่องกระสุนปนไวสําหรับอาวุธปนนั้น

มาตรา ๑๓ หามมิใหออกใบอนุญาตตามความในหมวดนี้แก

(๑) บุคคลซึ่งตองโทษจําคุกสําหรับความผิดตามกฎหมายลักษณะ

อาญา ดังตอไปนี้

(ก) มาตรา ๙๗ ถึงมาตรา ๑๑๑ มาตรา ๑๒๐ มาตรา ๑๗๗ ถึง

มาตรา ๑๘๓ มาตรา ๒๔๙ มาตรา ๒๕๐ หรือมาตรา ๒๙๓ ถึงมาตรา ๓๐๓

(ข) มาตรา ๒๔๔ ถึงมาตรา ๒๕๗ และพนโทษยังไมเกิน ๕ ป นับแต

วันพนโทษถึงวันยื่นคําขอใบอนุญาต เวนแตในกรณีความผิดที่กระทําโดยความจําเปน

หรือเพื่อปองกันหรือโดยถูกยั่วโทสะ

(๒) บุคคลซึ่งตองโทษจําคุกสําหรับความผิดอันเปนการฝาฝนตอ

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิง พุทธศักราช

๒๔๗๗ มาตรา ๑๑ มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๙ หรือมาตรา ๓๓ หรือพระราชบัญญัตินี้

มาตรา ๗ มาตรา ๒๔ มาตรา ๓๓ หรือมาตรา ๓๘

(๓) บุคคลซึ่งตองโทษจําคุกตั้งแตสองครั้งขึ้นไปในระหวางหาปนับยอน

ขึ้นไปจากวันยื่นคําขอ สําหรับความผิดอยางอื่นนอกจากที่บัญญัติไวใน (๑) และ (๒)

เวนแตความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

(๔) บุคคลซึ่งยังไมบรรลุนิติภาวะ

Page 257: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

232

(๕) บุคคลซึ่งไมสามารถจะใชอาวุธปนไดโดยกายพิการหรือทุพพลภาพ

เวนแตจะมีไวเพื่อเก็บตามมาตรา ๑๑

(๖) บุคคลซึ่งเปนคนไรความสามารถหรือเปนคนเสมือนไรความสามารถ

หรือปรากฏวาเปนคนวิกลจริต หรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ

(๗) บุคคลซึ่งไมมีอาชีพและรายได

(๘) บุคคลซึ่งไมมีที่อยูเปนหลักแหลง

(๙) บุคคลซึ่งมีความประพฤติชั่วอยางรายแรงอันอาจกระทบกระเทือน

ถึงความสงบเรียบรอยของประชาชน

สําหรับใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน หามมิใหออกใหแกบุคคลซึ่งมีชื่อ

ในทะเบียนบานตามกฎหมายวาดวยการทะเบียนราษฎร และมีถิ่นที่อยูประจําในทองที่

ที่บุคคลนั้นขออนุญาต นอยกวาหกเดือน[๑๑]

มาตรา ๑๔ บุคคลใดมีความประสงคใหผูอื่นมีและใชอาวุธปน หรือ

เครื่องกระสุนปน สําหรับรักษาทรัพยสินของตนอันจักตองใชใหผูอื่นดูแล หรือจักตองสั่ง

นําเขา หรือซื้ออาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนเพื่อความประสงคเชนวานั้น อาจขอรับ

หนังสืออนุญาตพิเศษจากนายทะเบียนทองที่ที่บุคคลนั้นมีถิ่นที่อยู หนังสืออนุญาตนี้

นายทะเบียนจะออกใหไดแตโดยอนุมัติของเจาพนักงานซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งไว

ผูจะรับมอบอาวุธปนตามความในวรรคกอน ตองเปนผูไมตองหามตามมาตรา

๑๓

มาตรา ๑๕ ในการสั่งอาวุธปน หรือเครื่องกระสุนปนตามหมวดนี้ ใหนํา

มาตรา ๓๐ และมาตรา ๓๑ มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๑๖ ในการนําเขาซึ่งอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปน ใหผูนําเขา

แจงเปนหนังสือและสงมอบอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนไวแกพนักงานศุลกากร ณ

ด านที่ แรกมาถึ งจากนอกราชอาณาจักร เวนแต ในกรณีซึ่ ง รั ฐมนตรี ว าการ

กระทรวงการคลังกําหนดใหมอบแกพนักงานศุลกากร ณ ดานอื่น

เมื่อพนักงานศุลกากรไดรับหนังสือแจงและรับมอบอาวุธปนหรือเครื่อง

กระสุนปนไวแลว ใหแจงเปนหนังสือไปยังนายทะเบียนทองที่ที่ใกลที่สุด

Page 258: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

233

แตถาผานเขามาในทองที่ที่ไมมีดานศุลกากร ใหผูนําเขาแจงเปนหนังสือ

และสงมอบอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนไวแกนายทะเบียนทองที่ หรือผูทําการแทน

นายทะเบียนทองที่ที่ใกลที่สุดโดยไมชักชา

มาตรา ๑๗ ภายในกําหนดเกาสิบวัน นับแตวันสงมอบอาวุธปนหรือ

เครื่องกระสุนปนแกพนักงานศุลกากรหรือนายทะเบียนทองที่ตามมาตรา ๑๖ ในกรณีที่

ผูนําเขายังไมไดรับอนุญาต ใหผูนําเขายื่นคําขอรับใบอนุญาตนําเขาซึ่งอาวุธปนหรือ

เครื่องกระสุนปนนั้นตอนายทะเบียนทองที่ที่ตนมีถิ่นที่อยู

ถานายทะเบียนอนุญาตใหนําเขาซึ่งอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปน ให

ผูนําเขาขอรับใบอนุญาตภายในกําหนดหกสิบวัน นับแตวันรับแจงความการอนุญาตนั้น

เปนหนังสือ

ถานายทะเบียนไมอนุญาตใหสั่งเปนหนังสือ ใหผูนําเขาสงกลับออกนอก

ราชอาณาจักรซึ่งอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนนั้นภายในกําหนดเวลาไมนอยกวา

สามสิบวันและไมเกินหกเดือน นับแตวันที่ผูนําเขาไดรับคําสั่ง ในกรณีที่ไมสามารถแจง

คําสั่งใหผูนําเขาทราบได ใหนายทะเบียนโฆษณาคําสั่งนั้นทางหนังสือพิมพและปด

ประกาศในที่เปดเผยเปนเวลาไมนอยกวาเจ็ดวัน เมื่อพนกําหนดใหถือวาผูนําเขาได

ทราบคําสั่งนั้นแลว

มาตรา ๑๘ ถาอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนซึ่งไดมอบไวแกพนักงาน

ศุลกากรหรือนายทะเบียนทองที่ตามมาตรา ๑๖ เปนของสําหรับใชสวนตัวโดยปกติของ

ผูนําเขาซึ่งเดินทางผานหรือจะอยูในราชอาณาจักรชั่วคราว ใหพนักงานศุลกากรหรือ

นายทะเบียนทองที่ แลวแตกรณี รักษาไวจนเมื่อผูนําเขานั้นจะออกไปนอกราชอาณาจักรจึง

คืนให แตถาผูนําเขาประสงคจะใชอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนนั้นระหวางที่อยูใน

ราชอาณาจักร ก็ใหขอรับใบอนุญาตใหมีและใชชั่วคราวตอนายทะเบียนทองที่หรือเจา

พนักงาน ซึ่งรัฐมนตรีจะไดกําหนดขึ้นเพ่ือการนี้

มาตรา ๑๙ ถาผูนําเขาซึ่งอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนมิไดยื่นคําขอรับ

ใบอนุญาตภายในกําหนดเกาสิบวันนับแตวันสงมอบ หรือในกรณีที่นายทะเบียนทองที่

อนุญาตใหนําเขาแลว ผูนําเขาไมมารับใบอนุญาตภายในกําหนดหกสิบวัน นับแตวันที่

Page 259: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

234

นายทะเบียนสั่งอนุญาตหรือมิไดสงกลับออกนอกราชอาณาจักรซึ่งอาวุธปนหรือเครื่อง

กระสุนปนตามมาตรา ๑๗ หรือเมื่อไดรับอนุญาตใหนําเขาซึ่งอาวุธปนหรือเครื่องกระสุน

ปนแลวไมมารับอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนนั้นไปจากพนักงานศุลกากรหรือนาย

ทะเบียนทองที่จนพนกําหนดอายุใบอนุญาต หรือผูนําเขาซึ่งไดเดินทางผานหรือจะอยู

ในราชอาณาจักรชั่วคราวไมรับคืนอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนไปเมื่อออกนอก

ราชอาณาจักร ใหอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนนั้นตกเปนของแผนดิน

มาตรา ๒๐ อาวุธปนที่สั่งหรือนําเขา เมื่อไดรับมอบไปจากพนักงาน

ศุลกากรแลว ใหผูรับใบอนุญาตนําไปขออนุญาตมีและใชตอนายทะเบียนทองที่ภายใน

สามสิบวันนับแตวันที่รับมอบไปจากพนักงานศุลกากร

มาตรา ๒๑ ถาอาวุธปนที่ไดรับอนุญาตแลวถูกทําลายหรือสูญหายโดย

เหตุใด ๆ ก็ดี ใหผูรับใบอนุญาตแจงเหตุและสงมอบใบอนุญาตตอนายทะเบียนทองที่ซึ่ง

ตนอยูหรือที่เกิดเหตุภายในสิบหาวันนับแตวันทราบเหตุ

มาตรา ๒๒[๑๒] ใหเจาพนักงานตอไปนี้ มีอํานาจออกใบอนุญาตใหแก

บุคคลที่ไดรับใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน มีอาวุธปนติดตัวไปไดตามความที่บัญญัติ

ไวในพระราชบัญญัตินี้

(๑) อธิบดีกรมตํารวจ สําหรับในเขตกรุง เทพมหานคร และทั่ ว

ราชอาณาจักร

(๒) ผูวาราชการจังหวัด เฉพาะภายในเขตจังหวัดของตน และเฉพาะผูที่

มีถิ่นที่อยูในเขตจังหวัดนั้น

เพื่อรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน หรือถาผูรับใบอนุญาต

แสดงตนใหเปนที่หวาดเสียวตอประชาชน ผูออกใบอนุญาตจะสั่งพักใชใบอนุญาตที่

ออกใหตามมาตรานี้โดยมีกําหนดระยะเวลา หรือจะสั่งเพิกถอนเสียก็ได

มาตรา ๒๓ ใบอนุญาตสําหรับอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปน ตามความ

ในสวนนี้จะออกไดแตตามประเภทและมีกําหนดอายุ ดังตอไปนี้

Page 260: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

235

(๑) ใบอนุญาตใหทํา ใหออกไดเฉพาะสําหรับทําดินปนมีควันสําหรับใช

เองและเฉพาะผูที่ไดรับใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนซึ่งใชดินปนมีควัน มีอายุ

ตลอดเวลาที่ผูนั้นมีใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนนั้นอยู

(๒) ใบอนุญาตใหซื้อ มีอายุหกเดือนนับแตวันออก

(๓) ใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน มีอายุ

ตลอดเวลาที่ผูรับใบอนุญาตเปนเจาของอาวุธปนนั้น

(๔) ใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน และเครื่องกระสุนปนชั่วคราวมีอายุ

หกเดือนนับแตวันออก

(๕) ใบอนุญาตใหสั่ง หรือนําเขา มีอายุหนึ่งปนับแตวันออก

(๖) ใบอนุญาตใหมีอาวุธปนไว เพื่อ เก็บ มีอายุตลอดเวลาที่ผู รับ

ใบอนุญาตมีอาวุธปนนั้นไวเพื่อเก็บ

(๗) ใบอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตัว มีอายุหนึ่งปนับแตวันออก

สวนที่ ๒

อาวุธปนและเครื่องกระสุนปนสําหรับการคา

มาตรา ๒๔ หามมิใหผูใด ทํา ประกอบ ซอมแซม เปลี่ยนลักษณะ สั่ง

นําเขา มี หรือจําหนาย ซึ่งอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนสําหรับการคา เวนแตจะไดรับ

ใบอนุญาตจากนายทะเบียนทองที่

มาตรา ๒๕ ใบอนุญาตใหทํา ประกอบ ซอมแซม เปลี่ยนลักษณะ มี

หรือจําหนายอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนสําหรับการคานั้น เมื่อไดรับอนุมัติจาก

รัฐมนตรีแลวจึงใหนายทะเบียนทองที่ออกให

มาตรา ๒๖ หามมิใหออกใบอนุญาตตามความในสวนนี้แกบุคคล

ตอไปนี้

(๑) บุคคลที่ตองหามตามมาตรา ๑๓

Page 261: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

236

(๒) บุคคลที่ตองคําพิพากษาของศาล ใหปรับตั้งแตสองครั้งขึ้นไป หรือ

จําคุกแมแตครั้งเดียว ฐานกระทําความผิดตอพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน

วัตถุระเบิดและดอกไมเพลิง พุทธศักราช ๒๔๗๗ หรือพระราชบัญญัตินี้ และพนโทษ

ครั้งสุดทายยังไมเกินสิบปนับแตวันพนโทษถึงวันยื่นคําขอใบอนุญาต

มาตรา ๒๗ โดยอนุมัติของรัฐมนตรี นายทะเบียนทองที่จะกําหนด

เงื่อนไขลงในใบอนุญาตวาดวยกําหนดเวลาการจําหนาย การเก็บรักษาอาวุธปนและ

เครื่องกระสุนปนก็ไดตามสมควร

มาตรา ๒๘ ผูรับใบอนุญาตตามความในสวนนี้ ตองทําบัญชีตามที่

กําหนดไวในกฎกระทรวงทั้งตองรับผิดชอบรักษาอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนที่มีอยูให

ตรงกับบัญชีเชนวานั้น

มาตรา ๒๙ ผูรับใบอนุญาตใหทําหรือประกอบอาวุธปนหรือเครื่อง

กระสุนปนตองปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในกฎกระทรวง

มาตรา ๓๐ ผูรับอนุญาตใหสั่งอาวุธปน หรือเครื่องกระสุนปน ตองนํา

ใบอนุญาตนั้นไปแสดงตออธิบดีกรมศุลกากรหรือเจาพนักงานซึ่งอธิบดีกรมศุลกากร

มอบหมายเพื่อการนี้กอนสั่ง

มาตรา ๓๑ เมื่ออาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนตามใบอนุญาตใหสั่งเขา

มาถึงแลว ถาไมมีผูรับไปจากกรมศุลกากรภายในกําหนดสี่เดือนนับแตวันเขามาถึง ให

เจาพนักงานศุลกากรแจงเปนหนังสือแกผูรับใบอนุญาต แตถาสงหนังสือนั้นไมได ก็ให

แจงแกเจาของยานพาหนะหรือผูขนสงที่นําเขาใหสงกลับออกนอกราชอาณาจักรภายใน

กําหนดสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับหนังสือนั้น มิฉะนั้นใหอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปน

นั้นตกเปนของแผนดิน

มาตรา ๓๒ อาวุธปนที่สั่งหรือนําเขา เมื่อไดรับมอบไปจากพนักงาน

ศุลกากรแลวใหผูรับใบอนุญาตนําไปจดทะเบียนยังนายทะเบียนทองที่ภายในกําหนด

สามสิบวัน นับแตวันที่รับมอบไปจากพนักงานศุลกากร และใหนายทะเบียนทํา

เครื่องหมายประจําอาวุธปนนั้นไวตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวง

Page 262: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

237

มาตรา ๓๓ ผูที่ไดรับใบอนุญาตใหซอมแซม หรือเปลี่ยนลักษณะอาวุธ

ปนจะทําการเชนวานี้ไดแตเฉพาะแกอาวุธปนที่มีผูไดรับใบอนุญาตใหมีและใช และเมื่อ

อาวุธปนนั้นมีเครื่องหมายถูกตองตามใบอนุญาต

มาตรา ๓๔ หามมิใหจําหนายอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนแกผูที่ไมได

รับใบอนุญาตใหซื้อหรือมีและใชอาวุธปนและเครื่องกระสุนปน

มาตรา ๓๕ ผูซึ่งไดรับใบอนุญาตใหซอมแซม เปลี่ยนลักษณะ หรือมี

และจําหนายอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนนั้น จะทําการเชนวานี้ไดแตเฉพาะภายใน

สถานที่ซึ่งระบุไวในใบอนุญาต และเมื่อจะยายสถานที่ทําการจะตองไดรับอนุญาตเปน

หนังสือจากนายทะเบียนทองที่เสียกอน

มาตรา ๓๖ ใบอนุญาตตามความในสวนนี้ มีอายุหนึ่งปนับแตวันออก

มาตรา ๓๗ ผูรับใบอนุญาตคนใด ใบอนุญาตสิ้นอายุและไมไดตออายุ

อีก ตองจัดการจําหนายอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนที่มีอยู หรือสงออกนอก

ราชอาณาจักรใหหมดภายในกําหนดหกเดือน นับแตวันที่ใบอนุญาตสิ้นอายุ ในระหวาง

เวลานั้น ถานายทะเบียนทองที่เห็นสมควรเพื่อความสงบเรียบรอยของประชาชน จะ

เรียกมาเก็บรักษาเสียเอง หรือเขา

ควบคุมการเก็บรักษาก็ได แตตองใหเจาของไดรับความสะดวกตามสมควรในอันที่จะ

จัดการจําหนายหรือสงออกนอกราชอาณาจักรซึ่งอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปนนั้น

เมื่ อครบกํ าหนดหกเดือนแลว ถ ายั งจํ าหนายหรือส งออกนอก

ราชอาณาจักรไมหมดใหผูรับใบอนุญาตสงมอบอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนที่เหลืออยู

แกนายทะเบียนทองที่ภายในกําหนดเจ็ดวัน

เมื่อไดรับมอบอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนตามวรรคสองแลว ใหนาย

ทะเบียนจัดการขายทอดตลาดอาวุธปนและเครื่องกระสุนปนนั้นภายหลังที่ไดประกาศ

ขายทอดตลาดและแจงใหเจาของทราบแลวตามสมควร ไดเงินสุทธิเทาใดใหสงมอบแก

เจาของ

Page 263: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

238

หมวด ๒

วัตถุระเบิด

มาตรา ๓๘ หามมิใหผูใด ทํา ซื้อ มี ใช สั่ง นําเขา คา หรือจําหนายดวย

ประการใด ๆ ซึ่งวัตถุระเบิด เวนแตไดรับใบอนุญาตจากนายทะเบียนทองที่

นายทะเบียนจะออกใบอนุญาตไดตอเมื่อไดรับอนุมัติจากรัฐมนตรี

มาตรา ๓๙ หามมิใหออกใบอนุญาตตามความในหมวดนี้แกบุคคลที่

ตองหามตามมาตรา ๑๓ หรือมาตรา ๒๕ แลวแตกรณี

มาตรา ๔๐ โดยอนุมัติของรัฐมนตรี นายทะเบียนทองที่อาจกําหนด

เงื่อนไขลงในใบอนุญาตวาดวยการเก็บรักษาวัตถุระเบิดไดตามที่เห็นสมควร

มาตรา ๔๑ ในการทํา สั่ง นําเขา มี หรือคาซึ่งวัตถุระเบิดใหนํามาตรา

๑๖ มาตรา ๑๗ มาตรา ๑๘ มาตรา ๑๙ มาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา

๓๐ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ และมาตรา ๓๗ มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๔๒ ในกรณีที่สั่งหรือนําเขาซ่ึงวัตถุระเบิด และเจาพนักงานเปนผู

เก็บรักษาวัตถุระเบิดไว ถาผูสั่งหรือนําเขาไมนําใบอนุญาตใหมีและใชมารับเอาไป

ภายในหนึ่งปนับแตวันที่เขามาถึงในกรณีที่มิใชสําหรับการคา หรือภายในสองปนับแต

วันที่เขามาถึงในกรณีสําหรับการคา ใหวัตถุระเบิดนั้นตกเปนของแผนดิน

มาตรา ๔๓ หามมิใหยายวัตถุระเบิดจากที่แหงหนึ่งไปยังอีกแหงหนึ่ง

เวนแตไดรับหนังสืออนุญาตจากเจาพนักงานซึ่งรัฐมนตรีกําหนดไว และในการยายตอง

ปฏิบัติตามเงื่อนไขในหนังสืออนุญาตนั้นดวย

มาตรา ๔๔ ผูสั่งหรือนําเขาซึ่งวัตถุระเบิด ในกรณีที่เจาพนักงานเปนผู

เก็บรักษาตองเสียคาธรรมเนียมการเก็บรักษาตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวง

เพื่อปองกันภยันตราย เจาพนักงานผูเก็บรักษาวัตถุระเบิด จะเอาวัตถุ

ระเบิดนั้นไปทําการตรวจ และถาจําเปนจะทําลายเสียก็ได

Page 264: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

239

มาตรา ๔๕ ใบอนุญาตที่ออกใหตามความในหมวดนี้ มีอายุใชไดหนึ่งปนับแต

วันออก

มาตรา ๔๖ บทบัญญัติในหมวดนี้ไมใชบังคับแกเครื่องกระสุนปนและ

ดอกไมเพลิงตามที่บัญญัติไวในหมวดอื่น

หมวด ๓

ดอกไมเพลิง

มาตรา ๔๗ หามมิใหผูใดทํา สั่ง นําเขา หรือคาซึ่งดอกไมเพลิง เวนแต

จะไดรับใบอนุญาตจากนายทะเบียนทองที่

มาตรา ๔๘ ในการทํา สั่ง นําเขา หรือคาดอกไมเพลิงใหนํามาตรา ๑๖

มาตรา ๑๗ มาตรา ๑๘ มาตรา ๑๙ มาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐

มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ และมาตรา ๓๗ มาใชบังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๔๙ โดยอนุมัติของรัฐมนตรี นายทะเบียนทองที่อาจกําหนด

เงื่อนไขลงในใบอนุญาตวาดวยการเก็บรักษาดอกไมเพลิงก็ไดตามสมควร

มาตรา ๕๐ ใบอนุญาตที่ออกใหตามความในหมวดนี้มีอายุใชไดหนึ่งปนับแต

วันออก

มาตรา ๕๑ ถาปรากฏวาที่ เก็บ ทํา หรือคาดอกไมเพลิง อาจเปน

อันตรายแกประชาชน เพื่อความปลอดภัยนายทะเบียนทองที่จะสั่งใหผูรับใบอนุญาต

จัดการตามความจําเปนหรือจะใหยายสถานที่นั้นเสียก็ได

Page 265: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

240

หมวด ๔

สิ่งเทียมอาวุธปน

มาตรา ๕๒ หามมิใหผูใดสั่ง นําเขา หรือคาซึ่งสิ่งเทียมอาวุธปน เวนแต

ไดรับใบอนุญาตจากนายทะเบียนทองที่

มาตรา ๕๓ ในการสั่ง นําเขา หรือคาสิ่งเทียมอาวุธปน ใหนํามาตรา ๑๖

มาตรา ๑๗ มาตรา ๑๘ มาตรา ๑๙ มาตรา ๓๐ มาตรา ๓๑ และมาตรา ๓๗ มาใช

บังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๕๔ ใบอนุญาตที่ออกใหตามความในหมวดนี้ มีอายุใชไดหนึ่งปนับแต

วันออก

หมวด ๕

เบ็ดเตล็ด

มาตรา ๕๕[๑๓] ประเภท ชนิด และขนาดของอาวุธปน เครื่องกระสุนปน

หรือวัตถุระเบิดที่นายทะเบียนจะออกใบอนุญาตใหไดตามมาตรา ๗ มาตรา ๒๔ หรือ

มาตรา ๓๘ ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๕๖ รัฐมนตรีมีอํานาจหามมิใหออกใบอนุญาตอาวุธปนหรือ

เครื่องกระสุนปนเฉพาะบางชนิดในบางทองที่ หรือทั่วราชอาณาจักรตามที่กําหนดไวใน

กฎกระทรวง

มาตรา ๕๗ ในคราวมีเหตุฉุกเฉินหรือมีความจําเปนเพื่อรักษาความสงบ

เรียบรอยของประชาชน รัฐมนตรีมีอํานาจออกคําสั่งหามหรือจํากัดการออกใบอนุญาตทุก

ประเภทหรือบางประเภทในชั่วระยะเวลาที่กําหนดหรือจะออกคําสั่งโดยประกาศหรือ

แจงเปนหนังสือใหผูรับใบอนุญาตสงมอบอาวุธปน เครื่องกระสุนปนหรือวัตถุระเบิดแก

เจาพนักงานเพื่อเก็บรักษาไวหรือจะสั่งใหจําหนายเสียก็ได ในกรณีที่สั่งใหจําหนายใหนํา

Page 266: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

241

มาตรา ๖๗ มาใชบังคับโดยอนุโลม และถาไมอาจปฏิบัติตามที่กลาวแลว จะสั่งให

จําหนายแกทางราชการในราคาอันสมควรก็ได

คําสั่งนี้จะกําหนดใหใชบังคับในบางทองที่หรือทั่วราชอาณาจักรก็ได

มาตรา ๕๘ ใบอนุญาตที่ออกใหตามความในพระราชบัญญัตินี้ ใหใชได

เฉพาะตัวผูรับใบอนุญาต

มาตรา ๕๙ หามมิใหโอนอาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิด

ใหแกผูที่มิไดรับใบอนุญาต

มาตรา ๖๐ เมื่อผูรับใบอนุญาตไดรับอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุ

ระเบิด ดอกไมเพลิง หรือสิ่งเทียมอาวุธปนซึ่งไดสงเขามาตามใบอนุญาตใหสั่งฉบับใดไป

พนจากอารักขาของเจาพนักงานศุลกากรแลว แมวาผูรับใบอนุญาตจะมิไดสั่งอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง หรือสิ่งเทียมอาวุธปนเชนวานี้เขามาครบ

ตามที่อนุญาตไวในใบอนุญาตก็ดี ใบอนุญาตฉบับนั้นเปนอันใชสั่งไมไดอีกตอไป

มาตรา ๖๑ อาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง หรือสิ่ง

เทียมอาวุธปนที่สงเขามาในราชอาณาจักรโดยไมมีผูรับใบอนุญาตใหสั่ง ใหตกเปนของ

แผนดิน แตถาภายในสี่เดือนนับแตวันที่ของเขามาถึง ผูสงไดยื่นคํารองขอสงกลับออก

นอกราชอาณาจักร รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังจะสั่งอนุญาตก็ได เมื่อเปนที่พอใจ

วาผูสงไมมีสวนในการกระทําผิดกฎหมาย

มาตรา ๖๒ ผูที่ไดรับใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนคนใดยายถิ่นที่อยู

ใหแจงการยายแกนายทะเบียนทองที่ภายในสิบหาวันนับแตวันยาย และถายายไปอยู

ตางทองที่ใหแจงการยายแกนายทะเบียนทองที่ใหมใหทราบภายในสิบหาวันนับแตวันที่

ยายไปถึงอีกดวย

มาตรา ๖๓ ถานายทะเบียนทองที่ปฏิเสธการออกใบอนุญาตตาม

พระราชบัญญัตินี้ ผูยื่นคําขอใบอนุญาตอาจอุทธรณตอรัฐมนตรีภายในกําหนดสามสิบ

วันนับแตวันที่ไดรับแจงการปฏิเสธเปนหนังสือ คําอุทธรณใหยื่นตอนายทะเบียนทองที่

และใหนายทะเบียนเสนอคําอุทธรณนั้นตอรัฐมนตรีโดยมิชักชา คําวินิจฉัยของรัฐมนตรี

ใหแจงเปนหนังสือไปยังผูยื่นคําขอใบอนุญาต

Page 267: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

242

ในกรณีที่มีการอุทธรณ ระยะเวลาที่กําหนดไวในพระราชบัญญัตินี้เพื่อ

การปฏิบัติตามคําสั่งของนายทะเบียนทองที่ใหสงกลับออกนอกราชอาณาจักรซึ่งอาวุธ

ปนหรือเครื่องกระสุนปนตามมาตรา ๑๗ หรือใหจัดการจําหนายอาวุธปน เครื่องกระสุน

ปน หรือวัตถุระเบิดตามมาตรา ๖๔ ใหนับแตวันที่ผูยื่นคําขอใบอนุญาตไดรับหนังสือ

แจงคําวินิจฉัยของรัฐมนตรีและเมื่อไดยื่นอุทธรณตอรัฐมนตรีแลว การปฏิบัติตามคําสั่ง

ของนายทะเบียนทองที่นั้นใหพักไวจนถึงวันที่ผูยื่นคําขอใบอนุญาตไดรับหนังสือแจงคํา

วินิจฉัยของรัฐมนตรี

คําวินิจฉัยของรัฐมนตรีใหเปนที่สุด

มาตรา ๖๔ ถาผูไดรับใบอนุญาตตาย ใหผูซึ่งอาวุธปน เครื่องกระสุนปน

หรือวัตถุระเบิด หรือใบอนุญาตของผูตายตกอยูในความครอบครองแจงการตายตอนาย

ทะเบียนทองที่ซึ่งตนอยู หรือนายทะเบียนทองที่ที่ออกใบอนุญาต หรือนายทะเบียน

ทองที่ที่ผูรับใบอนุญาตตายภายในกําหนดสามสิบวัน นับแตวันที่ทราบการตายของผูรับ

ใบอนุญาต

นายทะเบียนมีอํานาจสั่งใหเก็บรักษาอาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือ

วัตถุระเบิด ของผูรับใบอนุญาตที่ตายไวอยางไร และ ณ ที่ใดก็ไดตามควรแกกรณี และ

ถามีขอโตเถียงถึงเรื่องสิทธิของทายาท ก็ใหเก็บรักษาไวจนกวาขอโตเถียงนั้นถึงที่สุด

ภายในกําหนดหกเดือนนับแตวันที่ผูรับใบอนุญาตตาย หรือถามีขอ

โตเถียงถึงเรื่องสิทธิของทายาทนับแตวันที่ขอโตเถียงนั้นถึงที่สุด ผูจัดการมรดกหรือ

ทายาทในกรณีที่ไมมีผูจัดการมรดกอาจขอใบอนุญาตใหมได เมื่อนายทะเบียนไดออก

ใบอนุญาตใหแลว ใหมอบอาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิดนั้นแกผูรับ

ใบอนุญาตใหม ถาไมออกใบอนุญาตใหใหมก็ใหแจงความใหผูขอทราบ และสั่งให

จัดการจําหนายสิ่งเหลานั้นภายในกําหนดหกเดือนนับแตวันรับคําสั่ง มิฉะนั้นใหนาย

ทะเบียนทองที่มีอํานาจจัดการขายทอดตลาดสิ่งเหลานั้น ไดเงินจํานวนสุทธิเทาใดใหสง

มอบแกผูมีสิทธิ

มาตรา ๖๕ ผูรับใบอนุญาตคนใดตกเปนผูซึ่งจะออกใบอนุญาตใหไมได

ตามความในพระราชบัญญัตินี้ ใหแจงพฤติการณนั้น และสงมอบอาวุธปน เครื่อง

Page 268: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

243

กระสุนปน หรือวัตถุระเบิด และใบอนุญาตใหแกนายทะเบียนทองที่โดยไมชักชา และให

นายทะเบียนทองที่หรือรัฐมนตรีสั่งเพิกถอนใบอนุญาตนั้นเสีย

ถาผูรับใบอนุญาตเปนคนไรความสามารถ หรือเปนคนเสมือนไร

ความสามารถ หรือเปนคนวิกลจริต หรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบใหผูอนุบาล ผู

พิทักษ หรือผูควบคุมดูแล แลวแตกรณี มีหนาที่ตองปฏิบัติตามความในวรรคกอน

มา ต ร า ๖ ๖ ถ า ป ร า ก ฏว า ผู ที่ ไ ด รั บ ใบ อ นุ ญ า ต ต า ม ค ว า ม ใน

พระราชบัญญัตินี้ เปนผูซึ่งจะออกใบอนุญาตใหไมได ใหนายทะเบียนทองที่หรือ

รัฐมนตรีสั่งเพิกถอนใบอนุญาตนั้นเสีย เมื่อไดรับคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาตแลว ใหผูรับ

ใบอนุญาตสงมอบอาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิด และใบอนุญาตแกนาย

ทะเบียนทองที่โดยไมชักชา

ถาผูรับใบอนุญาตเปนคนไรความสามารถ หรือเปนคนเสมือนไร

ความสามารถ หรือเปนคนวิกลจริต หรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ ใหผูอนุบาล ผู

พิทักษ หรือผูควบคุมดูแล แลวแตกรณี มีหนาที่ตองปฏิบัติตามความในวรรคกอน

มาตรา ๖๗ อาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิด ซึ่งสงมอบไวตาม

มาตรา ๖๕ หรือมาตรา ๖๖ นั้น ใหผูสงมอบจัดการโอนเสียภายในเกาสิบวันนับแตวันที่

สงมอบ ถาโอนไดใหนายทะเบียนทองที่มอบแกผูรับโอนไป แตถาโอนไมไดใหนาย

ทะเบียนจัดการขายทอดตลาดภายหลังที่ไดประกาศและแจงใหผูสงมอบทราบแลวตาม

สมควร ไดเงินสุทธิเทาใดใหมอบแกผูมีสิทธิ

มาตรา ๖๘ เมื่อมีพฤติการณอันสมควรสงสัยวา ผูรับใบอนุญาตคน

ใดจะเปนผู ตองหามในการออกใบอนุญาตตามมาตรา ๑๓ (๗) (๘) หรือ (๙) นาย

ทะเบียนทองที่มีอํานาจเรียกประกันหรือทัณฑบนจากผูนั้นได

ถาผูรับใบอนุญาตดังกลาวแลว หาประกันใหเปนที่เชื่อถือไมได หรือไม

ยอมทําทัณฑบนภายในเวลาอันสมควรตามที่นายทะเบียนไดกําหนดให ซึ่งตองไมนอย

กวาสามสิบวัน ใหถือวาผูรับใบอนุญาตนั้นเปนผูซึ่งจะออกใบอนุญาตใหไมได และให

นํามาตรา ๖๖ และมาตรา ๖๗ มาใชบังคับโดยอนุโลม

Page 269: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

244

มาตรา ๖๙ เมื่อใบอนุญาตสูญหายเปนอันตรายหรือลบเลือนอานไม

ออก ใหผูรับใบอนุญาตยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตตอนายทะเบียนทองที่ภายใน

สามสิบวัน นับแตวันที่ทราบเหตุนั้น ถานายทะเบียนเห็นวามีเหตุผลเปนที่เชื่อถือไดก็ให

ออกใบแทนใหตามเงื่อนไขของใบอนุญาตเดิม แตถาใบอนุญาตที่สูญหายไดคืนใน

ภายหลัง ก็ใหสงใบแทนนั้นแกนายทะเบียนทองที่ภายในกําหนดสิบหาวันนับแตวันที่ได

คืน

มาตรา ๗๐ หามไมใหผูใดนําอาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิด

ผานราชอาณาจักร เวนแตจะไดรับหนังสืออนุญาตจากรัฐมนตรี หรือเจาพนักงานซึ่ง

รัฐมนตรีแตงตั้งเพื่อการนี้

ผูนําหนังสืออนุญาตใหนําอาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิด

ผานราชอาณาจักรจะนําสิ่งเชนวานั้นผานราชอาณาจักรไดเฉพาะแตทางดานศุลกากร

ซึ่งรัฐมนตรีกําหนดไว และตองแจงความตามแบบพิมพของกรมศุลกากรแกพนักงาน

ศุลกากร

เมื่อพนักงานศุลกากรไดรับแจงความตามวรรคกอนแลว ใหแจง

เรื่องใหนายทะเบียนทองที่ทราบ ถานายทะเบียนทองที่เห็นเปนการจําเปนเพื่อความ

ปลอดภัยของประชาชนจะจัดการควบคุมอาวุธปน เครื่องกระสุน หรือวัตถุระเบิดใน

ระหวางที่อยูในราชอาณาจักรก็ได และผูรับหนังสืออนุญาตเปนผูออกคาใชจายในการ

นั้น

มาตรา ๗๑ ใหรัฐมนตรีมีอํานาจจํากัดจํานวนรานคา และกําหนด

จํานวนชนิดและขนาดอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียม

อาวุธปนสําหรับการคาตามที่เห็นสมควร

Page 270: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

245

หมวด ๖

บทกําหนดโทษ

มาตรา ๗๒[๑๔] ผูใดฝาฝนมาตรา ๗ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหนึ่งปถึง

สิบป และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสองหมื่นบาท

ถาการฝาฝนตามวรรคหนึ่งเปนเพียงกรณีเกี่ยวกับสวนหนึ่งสวนใดของ

อาวุธปนตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวง หรือเปนกรณีมีเครื่องกระสุนปน ผูฝาฝนตอง

ระวางโทษจําคุกไมเกินสิบป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

ถาการฝาฝนตามวรรคหนึ่งเปนเพียงการมีอาวุธปนที่เปนของผูอื่นซึ่ง

ไดรับใบอนุญาตใหมีและใชตามกฎหมาย ผูฝาฝนตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหกเดือน

ถึงหาป และปรับตั้งแตหนึ่งพันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาท

ถาการฝาฝนตามวรรคหนึ่งเปนการทําเครื่องกระสุนปนที่ทําดวยดินปนมี

ควันสําหรับใชเอง โดยไมไดรับอนุญาตจากนายทะเบียนทองที่ผูฝาฝนตองระวางโทษ

ปรับไมเกินหนึ่งพันบาท[๑๕]

มาตรา ๗๒ ทวิ[๑๖] ผูใดฝาฝนมาตรา ๘ มาตรา ๑๒ มาตรา ๑๖ วรรค

หนึ่งหรือวรรคสาม มาตรา ๒๐ มาตรา ๕๘ มาตรา ๕๙ มาตรา ๖๕ มาตรา ๖๖ หรือ

มาตรา ๗๐ วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบป หรือปรับไมเกินสอง

หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

ผูใดฝาฝนมาตรา ๘ ทวิ วรรคหนึ่ง ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาปหรือ

ปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ถาผูนั้นฝาฝนมาตรา ๘ ทวิ วรรคสองดวย

ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหกเดือนถึงหาป และปรับตั้งแตหนึ่งพันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาท

ผูไดรับใบอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตัวผูใดฝาฝนมาตรา ๘ ทวิ วรรคสอง

ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

Page 271: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

246

มาตรา ๗๓[๑๗] ผูใดฝาฝนมาตรา ๒๔ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสองป

ถึงยี่สิบป และปรับตั้งแตสี่พันบาทถึงสี่หมื่นบาท

มาตรา ๗๓ ทวิ[๑๘] ผูใดฝาฝนมาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ หรือมาตรา ๓๔

ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหกเดือนถึงสิบป และปรับตั้งแตหนึ่งพันบาทถึงสองหมื่นบาท

มาตรา ๗๔[๑๙] ผูใดฝาฝนบทบัญญัติเกี่ยวกับวัตถุระเบิดตามมาตรา

๑๖ วรรคหนึ่ง หรือวรรคสาม ซึ่งไดนํามาใชบังคับโดยอนุโลมตามมาตรา ๔๑ หรือฝาฝน

มาตรา ๓๘ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงยี่สิบป และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสี่

หมื่นบาท

มาตรา ๗๕[๒๐] ผูใดฝาฝนบทบัญญัติเกี่ยวกับวัตถุระเบิดตาม มาตรา

๒๘ มาตรา ๓๔ มาตรา ๓๕ หรือมาตรา ๓๗ วรรคสอง ซึ่งไดนํามาใชบังคับโดยอนุโลม

ตามมาตรา ๔๑ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหกเดือนถึงสิบป และปรับตั้งแตหนึ่งพันบาท

ถึงสองหมื่นบาท

มาตรา ๗๖[๒๑] ผูใดฝาฝนเงื่อนไขที่กําหนดไวสําหรับวัตถุระเบิดตาม

มาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๒๙ ซึ่งไดนํามาใชบังคับโดยอนุโลมตามมาตรา ๔๑ ตองระวาง

โทษปรับตั้งแตหารอยบาทถึงหาพันบาท

มาตรา ๗๗[๒๒] ผูใดฝาฝนมาตรา ๔๗ หรือมาตรา ๕๒ หรือไมปฏิบัติ

ตามคําสั่งนายทะเบียนทองที่ตามมาตรา ๕๑ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งเดือน

หรือปรับไมเกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา ๗๘[๒๓] ผูใดทํา ประกอบ ซอมแซม เปลี่ยนลักษณะ ซื้อ มี ใช สั่ง

หรือนําเขา ซึ่งอาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิด นอกจากที่กําหนดใน

กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๕๕ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสองปถึงจําคุกตลอดชีวิต

ผู ใดคา หรือจําหนายอาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิด

นอกจากที่กําหนดในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๕๕ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตยี่สิบ

ปถึงจําคุกตลอดชีวิต

ผูใดใชอาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิด นอกจากที่กําหนดใน

กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๕๕ ในการกระทําความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา

Page 272: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

247

มาตรา ๒๘๘ มาตรา ๓๑๓ มาตรา ๓๓๗ มาตรา ๓๓๙ หรือมาตรา ๓๔๐ ตองระวาง

โทษจําคุกตลอดชีวิต หรือประหารชีวิต

การกระทําความผิดตามวรรคสองหรือวรรคสาม ถาอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน หรือวัตถุระเบิดนั้น โดยสภาพมีอานุภาพไมรายแรง ตองระวางโทษจําคุก

ตั้งแตสองปถึงจําคุกตลอดชีวิต

มาตรา ๗๙[๒๔] ผูรับใบอนุญาตผูใดฝาฝนคําสั่งซึ่งออกตามความใน

มาตรา ๕๗ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจํา

ทั้งปรับ

มาตรา ๘๐[๒๕] ผูใดฝาฝนมาตรา ๓๗ วรรคสอง หรือมาตรา ๔๓ หรือฝา

ฝนเงื่อนไขตามมาตรา ๔๐ ตองระวางโทษปรับตั้งแตหารอยบาทถึงหาพันบาท

มาตรา ๘๑[๒๖] ผูใดฝาฝนเงื่อนไขตามมาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๒๙ หรือ

ฝาฝนมาตรา ๒๘ มาตรา ๓๐ หรือมาตรา ๓๕ ตองระวางโทษปรับไมเกินหาพันบาท

มาตรา ๘๒[ ๒ ๗ ] ผูใดสั่ งอาวุธปนหรือเครื่องกระสุนปน ฝาฝนตอ

บทบัญญัติมาตรา ๓๐ ซึ่งไดนํามาใชบังคับโดยอนุโลมตามมาตรา ๑๕ ตองระวางโทษ

ปรับไมเกินหาพันบาท

มาตรา ๘๓[๒๘] ผูใดฝาฝนมาตรา ๒๑ มาตรา ๖๒ มาตรา ๖๔ วรรคหนึ่ง

หรือมาตรา ๖๙ ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งพันบาท

มาตรา ๘๔[๒๙] ผูใดฝาฝนตอบทบัญญัติเกี่ยวกับดอกไมเพลิงตาม

มาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง หรือวรรคสาม มาตรา ๒๘ มาตรา ๓๐ มาตรา ๓๕ มาตรา

๓๗ วรรคสอง หรือฝาฝนเงื่อนไขตามมาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๒๙ ซึ่งไดนํามาใช

บังคับโดยอนุโลมตามมาตรา ๔๘ หรือมาตรา ๔๙ ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งพัน

บาท

มาตรา ๘๕[๓๐] ผูใดฝาฝนบทบัญญัติเกี ่ยวกับสิ่งเทียมอาวุธปนตาม

มาตรา ๑๖ วรรคหนึ่ง หรือวรรคสาม มาตรา ๓๐ หรือมาตรา ๓๗ วรรคสอง ซึ่งได

นํามาใชบังคับโดยอนุโลมตามมาตรา ๕๓ ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งพันบาท

Page 273: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

248

บทเฉพาะกาล

มาตรา ๘๖ ผูใดมีอาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิด ไมวาชนิด

หรือขนาดใดซึ่งยังไมไดรับใบอนุญาตโดยชอบดวยกฎหมาย ถาไดนําอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน หรือวัตถุระเบิดดังกลาวแลวมาขอรับอนุญาตเพื่อปฏิบัติการใหถูกตองตาม

พระราชบ ัญญ ัต ินี ้ต อนายทะเบียนทองที่ภายในกําหนดเกาสิบวันนับแตวันที่

พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ผูนั้นไมตองรับโทษตามพระราชบัญญัตินี้ และมิใหนํา

บทบัญญัติแหงมาตรา ๕๕ มาใชบังคับ

เพื่อการนี้ รัฐมนตรีจะกําหนดเงื่อนไขในการออกใบอนุญาตตามที่

เห็นสมควรก็ได

มาตรา ๘๗ บรรดาใบอนุญาตที่ออกใหตามกฎหมายวาดวยอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิงกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหคง

ใชไดตอไปจนกวาใบอนุญาตนั้น ๆ สิ้นอายุ แตถาผูรับใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน

คนใด จะขอรับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้กอนใบอนุญาตเดิมสิ้นอายุก็ใหทําได

มาตรา ๘๘ ในการออกใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและเครื่อง

กระสุนปนตามพระราชบัญญัตินี้ใหแกผูที่ไดรับใบอนุญาตตามกฎหมายวาดวยอาวุธ

ปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด และดอกไมเพลิงอยูแลวกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช

บังคับ มิใหนําบทบัญญัติมาตรา ๑๓ (๔) มาใชบังคับ สําหรับอาวุธปนตามใบอนุญาต

เดิมนั้น

ผูรับสนองพระบรมราช

โองการ

พลเรือตรี ถ. ธํารงนาวาสวัสดิ์

นายกรัฐมนตรี

Page 274: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

249

อัตราคาธรรมเนียม

ลําดับ

ที่ประเภท บาท

๑.[๓๑] ใบอนุญาตใหทําอาวุธปน เครื่องกระสุนปน

ก. ครั้งแรก ฉบับละ ๕๐,๐๐๐

ข. ตออายุปตอไป ฉบับละ ๕,๐๐๐

๒.[๓๒] ใบอนุญาตใหคาอาวุธปน เครื่องกระสุนปน

ก. ครั้งแรก ฉบับละ ๑๕,๐๐๐

ข. ตออายุปตอไป ฉบับละ ๑,๕๐๐

๓. ใบอนุญาตใหประกอบ ซอมแซม เปลี่ยนลักษณะอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน ฉบับละ ๒๕๐

๔.ใบอนุญาตใหทําดินปนมีควัน สําหรับการคา ฉบับ

ละ

๒๐๐

๕. ใบอนุญาตใหทําดินปนมีควัน สําหรับใชเอง ฉบับละ ๕

๖.[๓๓] ใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนดังตอไปนี้

ก. ปนยาวประจุปาก ปนอัดลม ฉบับละ ๒๐๐

ข. ปนอื่น ๆ ฉบับละ ๑,๐๐๐

๗.[๓๔] ใบอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตัว ฉบับละ ๑,๐๐๐

๘. ใบอนุญาตใหสั่งหรือนําเขาซึ่งอาวุธปน กระบอกละ ๓๐

๙.[๓๕] ใบอนุญาตใหสั่งหรือนําเขาซึ่งสวนหนึ่งสวนใดของอาวุธปน

และเครื่องกระสุนปน ฉบับละ ๒๐

๑๐.ใบอนุญาตใหสั่งหรือนําเขาซึ่งกระสุนปน นอกจากกระสุนอัด

ลม

จํานวนไมเกินหนึ่งพันนัด ฉบับละ ๒๐

ถาจํานวนเกินกวาหนึ่งพันนัดใหเรียกเก็บเพิ่มอีกรอยละหรือ

เศษของรอย ๒

๑๑. ใบอนุญาตใหสั่งหรือนําเขาซึ่งกระสุนปนอดัลม รอยละหรือ

เศษของรอย ๑

Page 275: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

250

ลําดับ

ที่ประเภท บาท

๑๒. ใบอนุญาตใหซื้ออาวุธปน กระบอกละ ๑๐

๑๓. ใบอนุญาตใหซื้อกระสุนปน นอกจากกระสุนอัดลม รอยละหรือ

เศษของรอย ๒

๑๔. ใบอนุญาตใหซื้อกระสุนปนอัดลม รอยละหรือเศษของรอย ๑

๑๕. ใบอนุญาตใหซื้อสวนใดสวนหนึ่งของอาวุธปน และ

เครื่องกระสุนปน ฉบับละ ๕

๑๖. ใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปน เครื่องกระสุนปนที่นําเขามา

ชั่วคราว ฉบับละ ๑๐

๑๗.[๓๖] ใบอนุญาตใหทําวัตถุระเบิด

ก. ครั้งแรก ฉบับละ ๕๐,๐๐๐

ข. ตออายุปตอไป ฉบับละ ๖,๐๐๐

๑๘.[๓๗] ใบอนุญาตใหคาวัตถุระเบิด

ก. ครั้งแรก ฉบับละ ๑๕,๐๐๐

ข. ตออายุปตอไป ฉบับละ ๑,๕๐๐

๑๙.[๓๘] ใบอนุญาตใหสั่งหรือนําเขาซึ่งวัตถุระเบดิ

รวมทั้งเครื่องอุปกรณ หรือเฉพาะ

เครื่องประกอบ หรือเครื่องอุปกรณอยางเดียว ฉบับละ ๒๐๐

ถาจํานวนวัตถุระเบิดมีน้ําหนักเกินกวา ๕๐ ปอนด ใหเรียกเก็บ

เพิ่มอีกในอัตรา ๕๐ ปอนด หรือเศษของ ๕๐ ปอนด ๑๐

๒๐. ใบอนุญาตใหมีหรือซื้อวัตถุระเบิดรวมทั้งเครื่องประกอบและ

เครื่องอุปกรณหรือเฉพาะเครื่องประกอบและเครื่องอุปกรณ

อยางเดียว เพื่อใชทําการระเบิดในกิจการตาง ๆ ฉบับ

ละ

๒๐๐

๒๑. ใบอนุญาตใหสั่ง นําเขา ทํา คา หรือมีวตัถุระเบิด เพื่อใชในทาง

วิทยาศาสตรการแพทยทุกจํานวนน้ําหนักหนึ่งรอยกรัมหรือ

เศษของรอยกรัม ๑๐

๒๒. ใบอนุญาตใหทํา สั่ง นําเขา หรือคาซึ่งดอกไมเพลิง ฉบับละ ๑๐

Page 276: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

251

ลําดับ

ที่ประเภท บาท

๒๓. ใบแทนใบอนุญาตดังตอไปนี้

ก. ใบแทนใบอนุญาตใหทํา คาอาวุธปน เครื่องกระสุนปน และ

วัตถุระเบิด ฉบับละ ๒๐

ข. ใบแทนใบอนุญาตใหประกอบ ซอมแซม หรือเปลี่ยน

ลักษณะอาวุธปน เครื่องกระสุนปน ฉบับละ ๑๕

ค. ใบแทนใบอนุญาตอื่น ๆ ฉบับละ ๑๐

๒๔. ใบอนุญาตใหสั่ง นําเขา หรือคาซึ่งสิ่งเทียมอาวุธปน ฉบับ

ละ

๑๐

๒๕. สําเนาใบอนุญาตตาง ๆ ฉบับละ ๑๐

Page 277: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

252

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๑[๓๙]

มาตรา ๓ ผูใดมีอาวุธปน ซึ่งไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัติอาวุธปน

เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง พ.ศ. ๒๔๗๗ มาแลว แตใบอนุญาตไดสิ้น

อายุลงกอนวันใชพระราชบัญญัตินี้ ก็ใหนํามาขอรับใบอนุญาตใหมภายในกําหนดเกา

สิบวันนับแตวันที่ใชพระราชบัญญัตินี้ หรือในกรณีที่ใบอนุญาตสิ้นอายุภายหลังวันใช

พระราชบัญญัตินี้ ก็ใหนํามาขอรับใบอนุญาตใหมภายในกําหนดเกาสิบวันนับแตวันที่

ใบอนุญาตสิ้นอายุ

ผูมีอาวุธปนซึ่งไดปฏิบัติการตามความในวรรคกอนเปนอันไมตองรับโทษ

ตามกฎหมาย

มาตรา ๔ ผูใดไมปฏิบัติการตามความในมาตรา ๓ มีความผิดตอง

ระวางโทษปรับไมเกินหาสิบบาท

มาตรา ๕ ให รั ฐมนตรีว าการกระทรวงมหาดไทยรั กษาการตาม

พระราชบัญญัตินี้

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธ

ปน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๐๑[๔๐]

มาตรา ๙ ผูใดมีอาวุธปน เครื่องกระสุนปนหรือวัตถุระเบิดไมวาชนิดหรือ

ขนาดใดซึ่งยังไมไดรับใบอนุญาตโดยชอบดวยกฎหมาย ถาไดนําอาวุธปน เครื่องกระสุน

ปนหรือวัตถุระเบิดดังกลาวแลวมาขอรับอนุญาตเพื่อปฏิบัติการใหถูกตองตาม

พระราชบัญญัตินี้ต อนายทะเบียนทองที่ภายในกําหนด ๙๐ วัน นับแตวันที่

พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ผูนั้นไมตองรับโทษ

เพื่อการนี้ รัฐมนตรีจะกําหนดเงื่อนไขในการออกใบอนุญาตตามที่

เห็นสมควรก็ได

มาตรา ๑๐ ผูใดมีอาวุธปน เครื่องกระสุนปนหรือวัตถุระเบิดสําหรับใช

เฉพาะแต ในการสงครามที่กํ าหนดไว ในกฎกระทรวงตามมาตรา ๕๕ แหง

พระราชบัญญัตินี้ ใหนําอาวุธปน เครื่องกระสุนปนหรือวัตถุระเบิดดังกลาวมามอบ

Page 278: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

253

ใหกับนายทะเบียนทองที่ภายในกําหนด ๙๐ วัน นับแตวันที่กฎกระทรวงใชบังคับ ผูนั้น

ไมตองรับโทษ

เพื่อการนี้ รัฐมนตรีจะไดกําหนดราคาอาวุธปน เครื่องกระสุนปนหรือวัตถุ

ระเบิดที่นํามาสงมอบ ชดใชใหในราคาที่สมควร

มาตรา ๑๒ ให รั ฐมนตรี ว าการกระทรวงมหาดไทยรั กษาการตาม

พระราชบัญญัตินี้

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ

๑. เนื่องจากในขณะนี้ไมมีกฎหมายกําหนดไวโดยชัดเจนวาอยางใด

เรียกวา อาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิดใชเฉพาะแตในการสงคราม จึง

จําเปนตองแกไขเพิ่มเติมกฎหมายเกี่ยวกับเรื่องนี้เพื่อใหมีความหมายชัดขึ้น กับให

รัฐมนตรีมีอํานาจกําหนดวาสิ่งใดเปนอาวุธที่ใชในการสงคราม ซึ่งถือไดวาเปนอาวุธ

รายแรงอันประชาชนไมควรมีไวในครอบครอง

๒. เพื่อเปดโอกาสใหบุคคลที่มีอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด

โดยมิชอบดวยกฎหมายนําอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิดดังกลาวมาขอรับ

อนุญาตเพื่อใหถูกตองตามกฎหมาย โดยเฉพาะในเรื่องใหนํามาจดทะเบียน รัฐบาลได

เคยเปดโอกาสใหนํามาจดทะเบียนไดมากอนแลว แตก็ยังปรากฏวามีผูละเลยไมปฏิบัติ

ตามอยูอีกเปนจํานวนมาก และโดยที่อัตราโทษตามพระราชบัญญัติอาวุธปนฯ พ.ศ.

๒๔๙๐ ยังไมเปนการเหมาะสม จึงสมควรกําหนดโทษใหเหมาะสมยิ่งขึ้น

๓. อัตราคาธรรมเนียมซึ่งไดกําหนดไวเดิมนั้น เปนอัตราต่ําอยู ยังไมเปน

การเหมาะสมเมื่อไดคํานึงถึงคาของเงินในปจจุบัน

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๐[๔๑]

มาตรา ๕ ผูใดมีอาวุธปน เครื่องกระสุนปนหรือวัตถุระเบิดไมวาชนิดหรือ

ขนาดใดที่ทําจากภายนอกราชอาณาจักรโดยโรงงานที่ไดรับอนุญาต หรือปนแกปที่มี

คุณภาพใชไดโดยปลอดภัย ซึ่งยังไมไดรับอนุญาตโดยชอบดวยกฎหมาย ถาไดนําอาวุธ

ปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิดหรือปนแกปดังกลาวแลวมาขอรับอนุญาตเพื่อ

ปฏิบัติการใหถูกตองตามกฎหมายวาดวยอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไม

Page 279: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

254

เพลิงและสิ่งเทียมอาวุธปนตอนายทะเบียนทองที่ภายในกําหนดเกาสิบวันนับแตวันที่

พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ผูนั้นไมตองรับโทษ

เพื่อการนี้ รัฐมนตรีจะกําหนดเงื่อนไขในการออกใบอนุญาตตามที่

เห็นสมควรก็ได

มาตรา ๖ ผูใดมีอาวุธปน เครื่องกระสุนปนหรือวัตถุระเบิดไมวาชนิด

หรือขนาดใดซึ่งยังไมไดรับอนุญาตโดยชอบดวยกฎหมายและไมอาจอนุญาตไดตาม

กฎหมายวาดวยอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิงและสิ่งเทียมอาวุธ

ปน ถาไดนําอาวุธปน เครื่องกระสุนปนหรือวัตถุระเบิดดังกลาวมามอบใหนายทะเบียน

ทองที่ภายในกําหนดเกาสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ผูนั้นไมตองรับ

โทษ

มาตรา ๗ ผูใดมีอาวุธปน เครื่องกระสุนปนหรือวัตถุระเบิดสําหรับใช

เฉพาะแตในการสงครามตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวง ถาไดนําอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปนหรือวัตถุระเบิดดังกลาวมามอบใหนายทะเบียนทองที่ภายในกําหนดเกาสิบ

วันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ผูนั้นไมตองรับโทษ

เพื่อการนี้ รัฐมนตรีจะไดกําหนดราคาอาวุธปน เครื่องกระสุนปนหรือวัตถุ

ระเบิดที่นํามาสงมอบชดใชใหในราคาที่สมควร

มาตรา ๘ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตาม

พระราชบัญญัตินี้

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากในปจจุบันนี้

มีผูผลิตอาวุธปนจําหนาย และมีอาวุธปนไวในครอบครองโดยไมไดรับอนุญาตเปน

จํานวนมาก ทําใหการปราบปรามอาวุธปนเถื่อนไมไดผลตามความมุงหมาย รัฐบาลจึง

เปดโอกาสใหบุคคลที่มีอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิดโดยมิชอบดวยกฎหมาย

นําเอาอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิดดังกลาวมาขอรับอนุญาตเพื่อใหถูกตอง

ตามกฎหมายภายในระยะเวลาที่กําหนด กรณีทํานองเดียวกันนี้ รัฐบาลไดเคยเปด

โอกาสใหกระทํามาแลว และโดยที่อัตราโทษที่ใชลงโทษแกผูกระทําผิดยังไมเหมาะสม

สมควรแกไขเพิ่มเติมโทษใหเหมาะสมอีกดวย จึงไดตราพระราชบัญญัติฉบับนี้ขึ้น

Page 280: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

255

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๑๗[๔๒]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เพื่อใหศาลใชดุลพินิจ

ในการพิพากษาคดีเกี่ยวกับบทลงโทษผูมีเครื่องกระสุนปนเพียงเล็กนอยใหไดรับโทษโดย

ความเปนธรรม

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๑๘[๔๓]

มาตรา ๓ ผูใดมีอาวุธปน เครื่องกระสุนปนหรือวัตถุระเบิดไมวาชนิดหรือ

ขนาดใดที่ทําจากภายนอกราชอาณาจักรโดยโรงงานที่ไดรับอนุญาต หรือที่ทําภายใน

ราชอาณาจักร ที่มีคุณภาพใชไดโดยปลอดภัย ซึ่งยังไมไดรับอนุญาตโดยชอบดวย

กฎหมาย ถาไดนําอาวุธปน เครื่องกระสุนปนหรือวัตถุระเบิดดังกลาวแลวมาขอรับอนุญาต

เพื่อปฏิบัติการใหถูกตองตามกฎหมายวาดวยอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไม

เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน ตอนายทะเบียนทองที่ภายในกําหนดเกาสิบวันนับแตวันที่

พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ผูนั้นไมตองรับโทษ

เพื่อการนี้ รัฐมนตรีจะกําหนดชนิด ขนาดของอาวุธปน เครื่องกระสุนปน

หรือวัตถุระเบิด และกําหนดเงื่อนไขในการอนุญาตตามที่เห็นสมควรก็ได

มาตรา ๔ ผูใดมีอาวุธปน เครื่องกระสุนปนหรือวัตถุระเบิด ไมวาชนิด

หรือขนาดใด ซึ่งยังไมไดรับอนุญาตโดยชอบดวยกฎหมาย และไมอาจอนุญาตไดตาม

กฎหมายวาดวยอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธ

ปน ถาไดนําอาวุธปน เครื่องกระสุนปนหรือวัตถุระเบิดดังกลาวมามอบใหนายทะเบียน

ทองที่ภายในกําหนดเกาสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ผูนั้นไมตองรับ

โทษ

มาตรา ๕ ผูใดมีอาวุธปนเครื่องกระสุนปนหรือวัตถุระเบิดสําหรับใช

เฉพาะแตในการสงครามตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวง ถาไดนําอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปนหรือวัตถุระเบิดดังกลาวมามอบใหนายทะเบียนทองที่ภายในกําหนดเกาสิบ

วัน นับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ผูนั้นไมตองรับโทษ

Page 281: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

256

เพื่อการนี้ ใหรัฐมนตรีกําหนดราคาอาวุธปน เครื่องกระสุนปนหรือวัตถุ

ระเบิดที่นํามาสงมอบและชดใชใหในราคาที่สมควร ภายในเวลาไมเกินหนึ่งปนับแตวัน

สงมอบ

มาตรา ๖ ให รั ฐมนตรีว าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตาม

พระราชบัญญัตินี้

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากในปจจุบันนี้

มีผูผลิตอาวุธปนจําหนายและมีอาวุธปนไวในความครอบครองโดยไมไดรับอนุญาตเปน

จํานวนมาก ทําใหการปราบปรามอาวุธปนเถื่อนไมไดผลตามความมุงหมาย และมีการ

ใชอาวุธปนเถื่อนในการโจรกรรมกันทั่วไป จึงควรเปดโอกาสใหบุคคลที่มีอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปนและวัตถุระเบิดโดยมิชอบดวยกฎหมาย นําอาวุธปน เครื่องกระสุนปน และ

วัตถุระเบิดดังกลาวมาขอรับอนุญาตเพื่อใหถูกตองตามกฎหมายภายในระยะเวลาที่

กําหนด กรณีทํานองเดียวกันนี้รัฐบาลไดเคยเปดโอกาสใหกระทํามาแลว จึงไดตรา

พระราชบัญญัตินี้ขึ้น

คําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๔๔ ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙[๔๔]

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๒๒[๔๕]

มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตเมื่อพนกําหนดสามสิบวัน

นับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่คําสั่งของคณะ

ปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๔๔ ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ ไดแกไข

เพิ่มเติมพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่ง

เทียมอาวุธปน พ.ศ. ๒๔๙๐ ใหหนวยราชการและรัฐวิสาหกิจสามารถมีและใชอาวุธปน

ไดเพื่อปองกันทรัพยสินอันใชเพื่อประโยชนสาธารณะและเปนการลดภาระหนาที่ของ

ราชการตํารวจหรือทหาร และไดเปลี่ยนแปลงอัตราโทษตามกฎหมายเดิมใหสูงเพิ่มขึ้น

การแกไขเพิ่มเติมในครั้งนั้นมีรายละเอียดตาง ๆ ที่ไมรัดกุมเพียงพอทําใหไมสามารถ

ออกกฎกระทรวงกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับชนิด ขนาด จํานวน การมีและใช การเก็บ

Page 282: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

257

รักษา การพาติดตัว การซอมแซม ฯลฯ และการอื่นอันจําเปนเกี่ยวกับอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน เพื่อที่จะใหหนวยราชการ

และรัฐวิสาหกิจบางประเภทสามารถมีและใชได ซึ่งอาจทําใหหนวยราชการและ

รัฐวิสาหกิจตาง ๆ มีและใชอาวุธปนโดยไมมีมาตรการควบคุมที่ เหมาะสม และ

นอกจากนั้น ในขณะนี้รัฐบาลไดขยายโครงการใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการ

ชวยเหลือราชการของทหารและตํารวจมากขึ้น เพื่อการปองกันและรักษาความมั่นคง

ของประเทศและความสงบเรียบรอยของประชาชนใหปลอดจากภัยตางๆ ที่กําลัง

คุกคามอยู สมควรใหประชาชนผูใหความรวมมือแกทางราชการดังกลาวสามารถมีและ

ใชอาวุธบางประเภทและอาจพาติดตัวไดตามความเหมาะสม โดยไมจําตองอยูใน

กฎเกณฑที่ใชบังคับสําหรับประชาชนทั่วไป อนึ่งการแกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งของคณะ

ปฏิรูปการปกครองแผนดินดังกลาวไดกําหนดโทษอาญาแกการกระทําบางอยางไวสูง

เกินความจําเปน สมควรแกไขเสียใหมใหเหมาะสมแกความรายแรงแหงการกระทํา

ความผิด และโดยที่การกําหนดหลักการใหกําหนดประเภทของอาวุธวาอาวุธใดเปนของ

สําหรับใชเฉพาะในการสงครามนั้นไมสะดวกแกทางปฏิบัติ เพราะอาวุธตาง ๆ มี

มากมายหลายประเภทเกินกวาที่จะกําหนดใหครบถวนได สมควรเปลี่ยนแปลงหลักการ

ใหมโดยใหกําหนดแตเฉพาะอาวุธปน เครื่องกระสุนปน และวัตถุระเบิดที่เอกชนอาจมี

ไดแทนการกําหนดอาวุธใหเปนอาวุธที่ใชเฉพาะในราชการสงคราม และในประการ

สุดทาย โดยที่กิจการอันเกี่ยวกับอาวุธที่เอกชนไมอาจมีหรือกระทําได ตลอดจนการให

กระทรวงทบวงกรมและรัฐวิสาหกิจตาง ๆ มีและใชอาวุธไดนั้น เปนกรณีที่มีความสําคัญ

ตอความมั่นคงของประเทศ ดังนั้น สมควรใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม เขามามี

สวนในการควบคุมกิจการดังกลาวโดยเปนรัฐมนตรีผูรักษาการตามกฎหมายนี้ดวย จึง

จําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้น

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๓๐[๔๖]

มาตรา ๔ ผูใดมีอาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิด นอกจากที่

กําหนดไวในกฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๕๕ ถาไดนําอาวุธปน เครื่องกระสุนปนหรือ

Page 283: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

258

วัตถุระเบิดดังกลาวมามอบใหนายทะเบียนทองที่ ภายในกําหนดเกาสิบวันนับแตวันที่

พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ผูนั้นไมตองรับโทษ

ความในวรรคหนึ่ง มิใหใชบังคับแกผูกระทําความผิดที่ถูกจับกุมและอยู

ในระหวางการสอบสวนหรือระหวางที่คดียังไมถึงที่สุด ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช

บังคับ

อาวุธปน เครื่องกระสุนปน หรือวัตถุระเบิดที่นํามาสงมอบตามวรรคหนึ่ง

ทางราชการไมจําตองชดใชราคา

มาตรา ๕ ให รั ฐมนตรี ว าการกระทรวงมหาดไทยรั กษาการตาม

พระราชบัญญัตินี้

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากปจจุบันมี

การนําอาวุธที่ใชเฉพาะในการสงครามหรืออาวุธที่กฎหมายไมอนุญาตใหมีและใช

มาใชในการประกอบอาชญากรรมเพิ่มขึ้นเปนลําดับซึ่งอาวุธดังกลาวมีประสิทธิภาพใน

การทําลายสูง กอใหเกิดความหวาดกลัวแกประชาชน ประกอบกับกฎหมายที่ใชอยูใน

ปจจุบันกําหนดโทษผูมีและใชอาวุธดังกลาวไวต่ํา ดังนั้น เพื่อปราบปรามผูครอบครอง

อาวุธเหลานี้ใหสิ้นไป สมควรเปลี่ยนแปลงบทกําหนดโทษเสียใหมและยกเวนโทษใหแก

ผูมีอาวุธดังกลาวที่นําอาวุธนั้นๆ มามอบใหแกนายทะเบียนทองที่ภายในเวลาที่

กําหนด จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๔๓[๔๗]

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่อัตรา

คาธรรมเนียมใบอนุญาตใหมีและใชอาวุธปนและใบอนุญาตใหมีอาวุธปนติดตัว ไดใช

บังคับมาเปนเวลานาน ทําใหอัตราคาธรรมเนียมไมเหมาะสมกับสภาวการณในปจจุบัน

สมควรแกไขเพิ่มเติมอัตราคาธรรมเนียมดังกลาวใหเหมาะสมยิ่งขึ้น จึงจําเปนตองตรา

พระราชบัญญัตินี้

ประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติฉบับที่ ๘๗/๒๕๕๗ เรื่อง การแกไขเพิ่มเติมผูรักษาการตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับอํานาจหนาที่ของเจาพนักงานตํารวจ ลงวันที่ ๑๐ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗[๔๘]

Page 284: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

259

ขอ ๔ ใหบรรดา กฎกระทรวง กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ หรือคําสั่ง

ที่ออกตามพระราชบัญญัติตามขอ ๑ ขอ ๒ และขอ ๓ ที่ใชบังคับอยูในวันกอนวันที่

ประกาศนี้ใชบังคับ ยังคงใชบังคับไดตอไปจนกวาจะมีการแกไขเพิ่มเติม

[๑] ราชกิจจานุเบกษา เลม ๖๔/ตอนที่ ๔๒/หนา ๕๕๖/๙ กันยายน ๒๔๙๐[๒] มาตรา ๔ (๑) แกไขเพิ ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื ่องกระสุนปน วัตถุ

ระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๐๑

[๓] มาตรา ๔ (๒) แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุ

ระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๐๑[๔] มาตรา ๔ (๓) แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุ

ระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๐๑

[๕] มาตรา ๕ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด

ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๒๒[๖] มาตรา ๖ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด

ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๒๒[๗] มาตรา ๖ วรรคหนึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติฉบับที่ ๘๗/

๒๕๕๗ เรื ่อง การแกไขเพิ่มเติมผู รักษาการตามกฎหมายที่ เกี ่ยวของกับอํานาจ

หนาที่ของเจาพนักงานตํารวจ ลงวันที่ ๑๐ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗[๘] มาตรา ๖ วรรคสอง แกไขเพ่ิมเติมโดยประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติฉบับที่ ๘๗/

๒๕๕๗ เรื่อง การแกไขเพิ่มเติมผูรักษาการตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับอํานาจหนาที่

ของเจาพนักงานตํารวจ ลงวันที่ ๑๐ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗[๙] มาตรา ๘ ทวิ เพิ่มโดยคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๔๔ ลงวันที่

๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙[๑๐] มาตรา ๘ ทวิ วรรคสาม แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุ

ระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๒๒

Page 285: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

260

[๑๑] มาตรา ๑๓ วรรคสอง เพิ่มโดยคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๔๔ ลง

วันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙[๑๒] มาตรา ๒๒ แกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๔๔

ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙[๑๓] มาตรา ๕๕ แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด

ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๒๒[๑๔] มาตรา ๗๒ แกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๔๔

ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙

[๑๕] มาตรา ๗๒ วรรคสี่ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด

ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๒๒[๑๖] มาตรา ๗๒ ทวิ แกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับ

ที่ ๔๔ ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙[๑๗] มาตรา ๗๓ แกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๔๔

ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙[๑๘] มาตรา ๗๓ ทวิ แกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับ

ที่ ๔๔ ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙[๑๙] มาตรา ๗๔ แกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๔๔

ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙

[๒๐] มาตรา ๗๕ แกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๔๔

ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙[๒๑] มาตรา ๗๖ แกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๔๔

ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙[๒๒] มาตรา ๗๗ แกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๔๔

ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙[๒๓] มาตรา ๗๘ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด

ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๓๐

Page 286: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

261

[๒๔] มาตรา ๗๙ แกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๔๔

ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙[๒๕] มาตรา ๘๐ แกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๔๔

ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙[๒๖] มาตรา ๘๑ แกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๔๔

ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙[๒๗] มาตรา ๘๒ แกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๔๔

ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙

[๒๘] มาตรา ๘๓ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไม

เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๒๒[๒๙] มาตรา ๘๔ แกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๔๔

ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙[๓๐] มาตรา ๘๕ แกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ฉบับที่ ๔๔

ลงวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๙[๓๑] อัตราคาธรรมเนียม ลําดับที่ ๑ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๐๑[๓๒] อัตราคาธรรมเนียม ลําดับที่ ๒ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๐๑[๓๓] อัตราคาธรรมเนียม ลําดับที่ ๖ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๔๓[๓๔] อัตราคาธรรมเนียม ลําดับที่ ๗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๔๓[๓๕] อัตราคาธรรมเนียม ลําดับที่ ๙ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๐๑[๓๖] อัตราคาธรรมเนียม ลําดับที่ ๑๗ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๐๑

Page 287: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

262

[๓๗] อัตราคาธรรมเนียม ลําดับที่ ๑๘ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๐๑[๓๘] อัตราคาธรรมเนียม ลําดับที่ ๑๙ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่อง

กระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๐๑[๓๙] ราชกิจจานุเบกษา เลม ๖๕/ตอนที่ ๕/หนา ๓๐/๒๗ มกราคม ๒๔๙๑[๔๐] ราชกิจจานุเบกษา เลม ๗๕/ตอนที่ ๗๒/หนา ๔๔๙/๑๖ กันยายน ๒๕๐๑[๔๑] ราชกิจจานุเบกษา เลม ๘๔/ตอนที่ ๙๓/หนา ๗๗๑/๓ ตุลาคม ๒๕๑๐[๔๒] ราชกิจจานุเบกษา เลม ๙๑/ตอนที่ ๑๐๙/ฉบับพิเศษ หนา ๒๒/๒๖ มิถุนายน

๒๕๑๗[๔๓] ราชกิจจานุเบกษา เลม ๙๒/ตอนที่ ๑๗๔/ฉบับพิเศษ หนา ๑/๒๙ สิงหาคม ๒๕๑๘[๔๔] ราชกิจจานุเบกษา เลม ๙๓/ตอนที่ ๑๓๔/ฉบับพิเศษ หนา ๖๑/๒๑ ตุลาคม ๒๕๑๙[๔๕] ราชกิจจานุเบกษา เลม ๙๖/ตอนที่ ๒๘/ฉบับพิเศษ หนา ๑๓/๑ มีนาคม ๒๕๒๒[๔๖] ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๐๔/ตอนที่ ๑๔๑/ฉบับพิเศษ หนา ๒๒/๒๔ กรกฎาคม

๒๕๓๐[๔๗] ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๑๗/ตอนที่ ๙๒ ก/หนา ๔/๑๑ ตุลาคม ๒๕๔๓[๔๘] ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๓๑/ตอนพิเศษ ๑๓๔ ง/หนา ๑๘/๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๗

Page 288: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

ประวัติผูเขียน

ชื่อ นายพิษณุ ประภาธนานันท

วัน เดือน ปเกิด 24 กันยายน 2512

สถานที่เกิด จังหวัดปราจีนบุรี

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2535 สําเร็จการศึกษาปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต

(รัฐศาสตร)

(บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยรามคําแหง

พ.ศ. 2540 สําเร็จการศึกษาปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

พ.ศ. 2544 สําเร็จการศึกษาปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

(รัฐศาสตร)

มหาวิทยาลัยรามคําแหง

พ.ศ. 2556 สําเร็จการศึกษาเนติบัณฑิตไทย

สํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา

ประวัติการทํางาน

พ.ศ. 2531- 2539 ชางโทรคมนาคม สถานีถายทอดโทรคมนาคม

กองอิเล็กทรอนิกสและโทรคมนาคม

กรมสื่อสารทหารอากาศ กองทัพอากาศ

พ.ศ. 2539 -2541 เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป 3 – 4

นิติกร 4 ฝายการเจาหนาที่ สํานักงานอัยการสูงสุด

พ.ศ. 2541 - 2546 ปลัดอําเภอ (เจาพนักงานปกครอง 3 – 5)

ที่ทําการปกครองอําเภอวัฒนานคร

(ชวยราชการที่ทําการปกครองจังหวัดสระแกว) จังหวัด

สระแกว

Page 289: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

พ.ศ. 2546 - 2555 เจาพนักงานปกครอง 5 – 7

นิติกร 7 สวนอํานวยความเปนธรรม สวนการสอบสวน

คดีอาญา และศูนยบริการประชาชน สํานักการสอบสวน

และนิติการ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

พ.ศ. 2555 จาจังหวัดอางทอง

(เจาพนักงานปกครองชํานาญการพิเศษ)

ที่ทําการปกครองจังหวัดอางทอง

จังหวัดอางทอง

พ.ศ. 2556 หัวหนากลุมโรงแรมและสถานบริการ

(เจาพนักงานปกครองชํานาญการพิเศษ)

สวนรักษาความสงบเรียบรอย 3

สํานักการสอบสวนและนิติการ

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

พ.ศ. 2557 - 2558 หัวหนากลุมอาวุธปนและวัตถุระเบิด

(เจาพนักงานปกครองชํานาญการพิเศษ)

สวนรักษาความสงบเรียบรอย 1

สํานักการสอบสวนและนิติการ

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

พ.ศ. 2558 ผูอํานวยการสวนรักษาความสงบเรียบรอย 1

(เจาพนักงานปกครองชํานาญการพิเศษ)

สวนรักษาความสงบเรียบรอย 1

สํานักการสอบสวนและนิติการ

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

พ.ศ. 2558 นายอําเภอบุงคลา

(ผูอํานวยการระดับตน)

อําเภอบุงคลา จังหวัดบึงกาฬ

Page 290: การควบคุมทะเบียนอาวุธป น และผล ...mis.krirk.ac.th/librarytext/LAW/2558/F_Pitsanu...(7) สารบ ญ(ต อ) หน า

พ.ศ. 2558 ผูอํานวยการสวนการเมืองและการเลือกตั้ง

(เจาพนักงานปกครองชํานาญการพิเศษ)

สํานักบริหารการปกครองทองที่

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย