ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ...

118
ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดย นายรัตนกัมพลชัย อิ้วสวัสดิวิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก .. 2559

Transcript of ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ...

Page 1: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรสังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

โดย

นายรัตนกัมพลชัย อิ้วสวัสดิ์

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร

มหาวิทยาลัยเกริกพ.ศ. 2559

Page 2: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

Factors Relating to Exercise Behaviors of the Personnel in Municipality , Puttamonthon Disdrict , Nakhonprathom Province

ByMr. Ratkamphonchai Aewsawad

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for Master of Public Health

Faculty of Liberal ArtsKrirk University

2016

Page 3: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

มหาวิทยาลัยเกริกคณะศิลปศาสตร

วิทยานิพนธ

ของ นายรัตนกัมพลชัย อิ้วสวัสดิ์

เรื่องปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร

สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

ไดรับการตรวจสอบและอนุมัติใหเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตเมื่อวันที่ ตุลาคม 2559

ประธานกรรมการวิทยานิพนธ ………………………….……………….. ( รองศาสตราจารย ดร.สาโรช โศภีรักษ )

กรรมการผูทรงคุณวุฒิ ……………………….…………………..

(พันตรีหญิง ดร.ณัฐกฤตา ศิริโสภณ)

กรรมการและที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก ……………………….………………….. (รองศาสตราจารยสุพัฒน ธีรเวชเจริญชัย)

กรรมการและที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม ……………………….…………………..

(รองศาสตราจารยอลิสา นิติธรรม)

หัวหนาสาขาวิชา ……………………………………………..

(รองศาสตราจารยสุพัฒน ธีรเวชเจริญชัย)

คณบดีคณะศิลปศาสตร ……………………………………….……. (รองศาสตราจารย ดร. เพ็ญประภา ภัทรานุกรม)

Page 4: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

ชื่อวิทยานิพนธ ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑลจังหวัดนครปฐม

ชื่อผูวิจัย นายรัตนกัมพลชัย อิ้วสวัสดิ์สาขาวิชา/คณะ/มหาวิทยาลัย สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต/ศิลปศาสตร/มหาวิทยาลัยเกริก อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก รองศาสตราจารยสุพัฒน ธีรเวชเจริญชัยอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม รองศาสตราจารยอลิสา นิติธรรมปการศึกษา 2559

บทคัดยอการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงพรรณนาเพี่อศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร

สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ประชากรเปนพนักงานเทศบาลตําบลคลองโยงและพนักงานเทศบาลตําบลศาลายา จํานวน 191 คน รวบรวมโดยใชแบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางขึ้น ทําการวิ เคราะหขอมูลเพื่อหาความสัมพันธระหวางปจจัยตางๆ กับพฤติกรรม การออกกําลังกายดวยสถิติ คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาไคสแควรและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน

ผลการวิจัยพบวาบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม มีพฤติกรรมการออกกําลังกายอยูในระดับปานกลาง ปจจัยทางชีวสังคมไมมีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร ปจจัยนําดานความรูและการรับรูประโยชน และอุปสรรคของการออกกําลังกาย มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เจตคติไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ของบุคลากร ปจจัยเอื้อ ดานนโยบายเทศบาลและสถานที่และอุปกรณในการออกกําลังกาย มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ปจจัยเสริม ดานการไดรับขาวสารจากสื่อและการไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลตางๆ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

(1)

Page 5: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

Thesis Title Factors Relating to Exereise of the Personnel in Munnicipality Puttamonthon Disdrict, Nakhonprathom Province

Author s Name Mr. Ratkamphonchai AewsawadProgram/Faculty/University Master of Public Health/ Faculty of Liberal Arts/

Krirk UniversityThesis Advisor Associate Professor Supat TeravecharoenchaiThesis Co-Advisors Associate Professor Alisa NitithamAcademic 2016

Abstract

This research was descriptive study. To study factors relating to Exercise Behaviors of the Personnel in Municipality Puttmonthon Disdrict, Nakhonprathom Province. Sampling group personnel in Munnicipality Klong yong and Salaya of 191 persons. The questionnaire conducted by the researcher to analyze the data and examine the relationship between various factors and exercise behavior by statistical tests of percentage, mean,standard deviation chi-square and the correlation of Pearson.

The results of this study follows: The Personnel in Municipality, Puttamonthon Disdrict , Nakhonprathom Province had exercise behaviors in moderate level. The Bio -social factors was not significantly related to exercise behavior of the Personnel. The Predisposing factors of knowledge and perceived benefits and barriers to exercise was significantly related to exercise behavior of the Personnel. Statistically significant at the .05 level. Attitudes towards exercise not significantly releted to exercise behavior in personel. The Enabling factors Policy Municipality , local and material in exercise was significantly related to exercise behavior of the Personnel. Statistically significant at the .05 level. Reinforcing factors of the news media and Social support received from people was significantly related to exercise behavior of the Personnel. Statistically significant at the .05 level.

(2

Page 6: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

กิตติกรรมประกาศ

วิทยา นิพนธฉบับนี้สํ า เร็ จลงไ ดดวยควา มกรุณาอย า งยิ่ งจากรองศาส ตราจารย สุพัฒน ธีรเวชเจริญชัย อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก และรองศาสตราจารยอลิสา นิติธรรม อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม ผูทรงคุณวุฒิและผูเชี่ยวชาญทั้งสามทานที่ชวยอนุเคราะห ตรวจสอบเครื่องมือ การวิจัย ประกอบดวย คุณพงษศักดิ์ คชาทอง ผูอํานวยการโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบานคลองสวางอารมณ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลบานคลองสวางอารมณ อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม คุณไพรินทร พูลสุขโข นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลคลองโยง 1 อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม คุณบุษราคัม จิตอารีย พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลคลองโยง 2 อําเภอ พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ขอขอบคุณทานนายกเทศมนตรีตําบลคลองโยงและทานนายกเทศบาลตําบลศาลายา ที่ใหความอนุเคราะหและการสนับสนุนในการเก็บรวบรวมขอมูลในครั้งนี้ ขอขอบคุณทานอาจารยสมคิด สมศิริ อาจารยประจําหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก ที่ไดแนะนําในการวิเคราะหขอมูลทางสถิติ การอานและการแปลผลสถิติงานวิจัย ตลอดจนแกไขขอบกพรองจนทําใหวิทยานิพนธสําเร็จลุลวงดวยดี

ผูวิจัยขอขอบคุณพนักงานเทศบาลทุกทาน ผูมีสวนเกี่ยวของในการเก็บขอมูลและกลุมเปาหมายทุกทานที่ไดเสียสละเวลาในการใหขอมูลที่เปนประโยชนตอการวิจัยในครั้งนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี

คุณคาและประโยชนใดๆ ที่อาจมีจากวิทยานิพนธฉบับนี้ ผูวิจัยขอเปนเครื่องบูชาพระคุณบิดา มารดา ผูใหกําเนิดเลี้ยงดู อบรม สั่งสอนใหมีการศึกษาที่ดี สติ ขอคิดและกําลังใจเสมอมาตลอดจนครูบาอาจารย ผูบังคับบัญชาทุกระดับ ผูมีพระคุณทุกทานที่ไมไดกลาวนามไวในที่นี้ ตลอดจนครอบครัวที่ใหความชวยเหลือดวยดีตลอดมา จนพบความสําเร็จในวันนี้

รัตนกัมพลชัย อิ้วสวัสดิ์มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2559

(3)

Page 7: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

สารบัญ หนาบทคัดยอ………………………………………………………………………..…….……… (1)กิตติกรรมประกาศ…………………………………………………………………………… (3)สารบัญ……………………………………………………………………………………..… (4)สารบัญตาราง…………………………………………………………………………….…... (6)สารบัญภาพ……………………………………………………………………………….….. (7)บทที่ 1 บทนํา………………………………………..…………………………....................... 1

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา………………………………..…… 1 วัตถุประสงคการวิจัย…………………..……………………………………. 4 ขอบเขตของการวิจัย………………………………………………………… 4 ตัวแปรที่ใชในการศึกษา……………………………………………………… 4 ประโยชนที่ไดรับ…………………………………………………………….. 5 นิยามศัพท…………………………………………………………………… 5

บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ……………………………………………..………..……..….. 8 บริบทพื้นที่เทศบาลตําบลคลองโยง อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม (แผนพัฒนาสามป 2558-2560 เทศบาลตําบลคลองโยง) ….………………...... 8 บริบทพื้นที่เทศบาลตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม (แผนพัฒนาสามป 2558-2560 เทศบาลตําบลศาลายา) ….………………....… 15

แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรม…………………………………………………… 17นโยบายเทศบาล……………………………………………………………… 19

ความรูเรื่องการออกกําลังกาย………………………………………………… 20 ความหมายของการออกกําลังกาย…………………………………………… 20 ชนิดของการออกกําลังกาย…………………………………………………… 21 ขอปฏิบัติของการออกกําลังกาย…………………………………………….. 23 ขั้นตอนการออกกําลังกาย………………………………...………………….. 25

การเคลื่อนไหวออกกําลังกายแตละวัย…………..……………………..……... 26ขอแนะนําการเคลื่อนไหวออกกําลังกายแตละวัย……………………….……. 27

(4)

Page 8: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

สารบัญ (ตอ)

ประโยชนของการออกกําลังกาย……………………………………………… 30 โทษของการออกกําลังกาย…………………………………………………… 33 ขอจํากัดของการออกกําลังกาย……………………………………………….. 35 โรคที่เกิดจากการขาดการออกกําลังกาย……………………………………… 36 ขอแนะนําในการออกกําลังกายแบบแอโรบิก………………………………… 37 แนวคิดและทฤษฎีที่นํามาใชในการวิจัย……………………………………… 38

งานวิจัยที่เกี่ยวของ…………………………………………………………… 44 กรอบแนวคิดในการวิจัย……………………………………………………… 52 สมมติฐาน……………………………………………………………..……… 53

บทที่ 3 วิธีการวิจัย…………………………..…………………………………………………. 54 ประชากรและกลุมตัวอยาง…………………………………………..……….. 54 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย…………………………………………………...… 54 การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย………..………….………………………. 57 วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล………………………………………….…………. 58 การวิเคราะหขอมูล…………………………………………………………… 59

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล…………………………………………………………………. 60บทที่ 5 บทสรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ…………………………………………………. 70

ผลการทดสอบสมมุติฐาน……………………………………………………. 71 อภิปรายผลและขอเสนอแนะ………………………………………………… 71 ขอเสนอแนะ………………………………………………………………….. 77 ขอเสนอแนะในเชิงนโยบาย………………………………………………….. 77 ขอเสนอแนะเชิงปฏิบัติ……………………………………………………..… 78 ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป…………………………………………. 78บรรณาณุกรม…………………………………………………………………………... 79ภาคผนวก……………………………………………………………………………… 83 ภาคผนวก ก รายนามผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ………………………… 84 ภาคผนวก ข แบบสอบถามการวิจัย…………………………………………… 87 ประวัติการศึกษาและการทํางาน……………………………………………... 102

5

Page 9: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา1 จํานวนและรอยละของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล จําแนกตามลักษณะทางชีวสังคม 61

2 จํานวนและรอยละของระดับความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายของบุคลากร 63 3 จํานวนและรอยละของระดับเจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายของบุคลากร 634 จํานวนและรอยละของระดับการรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกาย

ของบุคลากร 645 ตารางจํานวนและรอยละของระดับปจจัยเอื้อของบุคลากร 646 จํานวนและรอยละของระดับปจจัยเสริมดานของบุคลากร 657 จํานวนและรอยละของระดับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร 658 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานชีวสังคมกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย

ของบุคลากร 66 9 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางปจจัยนํากับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ของบุคลากร 6810 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางปจจัยเอื้อกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ของบุคลากร 68 11 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางปจจัยเสริมกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย

ของบุคลากร 69

(6)

Page 10: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย 52

(7)

Page 11: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ
Page 12: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

(1)

บทที่ 1บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหาแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11

พ.ศ. 2555-2559 เนนเรื่องของการสงเสริมบทบาทของประชาชนใหมีศักยภาพ มีความเขมแข็ง ในการสงเสริมสุขภาพ การปองกันโรค มีวัฒนธรรมการดูแลรักษาสุขภาพที่ดีในระดับบุคคล ครอบครัว สังคม รวมทั้งสิ่งแวดลอมที่ดีตอสุขภาพ โดยการมีสวนรวมของทุกฝายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน นักวิชาการภาคประชาสังคม (แผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11, 2555-2559) เพื่อสรางหลักความปลอดภัยอยางพอเพียง ในชีวิตประจําวัน ทั้ งดานอาหาร โภชนาการ ยา ผลิตภัณฑทางสุขภาพ การประกอบอาชีพ และสิ่งแวดลอม โดยสรางความเขมแข็งของครอบครัว ชุมชน และภาคประชาสังคมในการสรางวัฒนธรรมในการดูแลสุขภาพที่ดีและสรางสรรคสังคมที่มีความสุขทุกระดับ การสงเสริมชมรม กลุมสุขภาพ ในชุมชนและองคกร ประชาสังคมโดยอาศัยงานทางดานสุขภาพ สนับสนุนใหเกิดวัฒนธรรมการรวมตัวกันทํางานสวนรวมดวย จิตสาธารณะ (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10, 2550-2554)

การสรางสุขภาพเชิงรุกเพื่อใหประชาชนมีสุขภาพดี โดยสรางความเขมแข็งของปจเจกบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคม ใหมีศักยภาพในการดูแลและสรางเสริมสุขภาพ มีการเรียนรูมีสวนรวมในการสรางสุขภาพมากกวาการซอมสุขภาพ คือการสรางปจจัยพื้นฐานของการมีสุขภาพที่ดี อันไดแกการลดสาเหตุและจัดระบบดูแลปจจัยพื้นฐานทั้งผลิตภัณฑและสภาพแวดลอมใหเอื้อตอการสรางเสริมสุขภาพ การปองกันและควบคุมปญหาสุขภาพ เนื่องดวยโรคที่เกิดจากพฤติกรรมและโรคที่สามารถปองกันได ยังมีแนวโนมสูงขึ้น สวนหนึ่งสาเหตุดังกลาวเกิดจาก การขาดระบบการบริหารจัดการที่ดี การดําเนินการมีลักษณะตั้งรับ มุงความสนใจไปที่การดูแลหลังเจ็บปวย ซึ่งเปนการแกปญหาที่ปลายเหตุ ดังนั้น การสรางความครอบคลุมในการเขาถึงการรักษา พยาบาลและการปรับปรุงคุณภาพบริการแลว สิ่งที่ตองคํานึงถึง คือการสรางสุขภาพ โดยการใหประชาชนมีสวนรวมและตระหนักในการสรางสุขภาพพื้นฐานที่สําคัญ ไดแก การทําใหประชาชนหันมาออกกําลังกายเพื่อสุขภาพและการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยมีคุณคา ซึ่งเปนการทําใหประชาชนปวยนอยลงดวย มาตรการสําคัญดังกลาว จะชวยใหประชาชนมีสุขภาพดีสมบูรณ แข็งแรงดวยการออกกําลังกาย ซึ่งสงผลตอรางกายและจิตใจและทําใหลดคาใชจายในการรักษาพยาบาล ดวยโรคที่สามารถปองกันได

Page 13: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

2

หรือโรคที่การออกกําลังกายแลวทําใหอาการดีขึ้น นอกจากนี้ยังสงผลทําใหประชาชนทุกวัย ทําภารกิจในชี วิตประจํ าวั นได เต็มประสิ ทธิภาพเพิ่ มขึ้น ซึ่ งสอดคลองกับกระทรวงสาธารณสุ ข ที่เห็นความสําคัญของการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ จึงผลักดันใหเปนมาตรการสําคัญประการหนึ่ง ในงานสรางเสริมสุขภาพ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน เพราะการออกกําลังกาย อยางสม่ําเสมอ เปนวิธีหนึ่งในการเสริมสรางและรักษา ทั้งยังสามารถปองกันและควบคุมโรค บางโรคไดดวย เชน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคอวน โรคกระดูกพรุนและโรคอื่นๆ การเคลื่อนไหวของรางกายที่กระฉับกระเฉงจะชวยเพิ่มพลัง ลดความเครียด ลดโคเลสเตอรอล ตัวที่ไมดี และลดความดันโลหิต รวมทั้งลดความเสี่ยงการเปนโรคมะเร็ง (สํานักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข, 2554 : 26)

โรคที่เปนสาเหตุการปวยมากที่สุดอันดับแรก ไดแก โรคความดันโลหิตสูง 265,636 ราย โรคเบาหวาน 247,165 ราย โรคหัวใจและหลอดเลือด 242,023 ราย และยังมีประชาชนเสี่ยงที่จะปวยจากโรคดังกลาวอีก 10 ลานคน โรคที่เปนสาเหตุหลักการตาย 3 อันดับแรก ไดแก โรคมะเร็ง ปละ 45,759 ราย อุบัติเหตุ ปละ 30,897 ราย โรคหัวใจ ปละ 16,622 ราย (กระทรวงสาธารณสุข, 2548) การสํารวจคนไทยที่มีอายุ 15 ปขึ้นไป ในป พ.ศ. 2547 - พ.ศ. 2550 พบวามีการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกําลังกายพอเพียงประมาณรอยละ 80 และจะลดลงเมื่อเขาสูวัยสูงอายุ นอกจากนี้ ยังพบวาการออกกําลังกาย (ในเวลาวาง)โดยจําแนกตามกลุมอายุ กลุมวัยทํางาน (25-59 ป) ออกกําลังกายประมาณรอยละ 10 เทานั้น และเมื่อจําแนกเพศ และกลุมอายุ ยังพบวาเพศชาย ออกกําลังกายมากกวาเพศหญิง และออกกําลังกายลดลงเมื่ออายุมากขึ้นตามลําดับ (กองออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ, 2550: 21)

สํานักงานสถิติแหงชาติ ไดสํารวจพฤติกรรมการเลนกีฬาหรือออกกําลังกายของประชากร พ.ศ. 2554 โดยเก็บขอมูลจากประชากร อายุ 11 ปขึ ้นไป ทั่วประเทศ ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2554 พบวาประชากรอายุ 11 ปขึ้นไป ทั้งสิ้น 57.7 ลานคน มีผูเลนกีฬาหรือออกกําลังกาย 15.1 ลานคน หรือคิดเปนรอยละ 26.1 โดยผูชายมีอัตราการเลนกีฬาหรือออกกําลังกายสูงกวาผูหญิง รอยละ 27.4 และรอยละ 25.0 ตามลําดับ และเมื่อพิจารณาตามเขตการปกครอง พบวาผูที่อยูในเขตเทศบาล มีอัตราการเลนกีฬาหรือออกกําลังกายสูงกวาผูที่อยูนอกเขตเทศบาล รอยละ 30.4 และรอยละ 23.9 ตามลําดับ เมื่อเปรียบเทียบสัดสวนของการเลนกีฬาหรือการออกกําลังกายระหวางผูชายและผูหญิง ในกลุมอายุเดียวกัน พบวา ในกลุมอายุระหวาง 11-24 ป ผูชายมีสัดสวนสูงกวาผูหญิง แตในกลุมอายุ 25 ปขึ้นไป ผูหญิงมีสัดสวนสูงกวาผูชายและเมื่อเปรียบเทียบอัตราการเลนกีฬาหรือออกกําลังกาย ในแตละวัย พบวา วัยเด็กมีอัตราการเลนกีฬาหรือออกกําลังกายสูงสุด รอยละ 60.1 รองลงมาคือ วัยเยาวชน รอยละ 40.4 วัยสูงอายุ รอยละ 23.6 และต่ําสุดคือวัยทํางาน รอยละ 19.0 สําหรับประเภท

Page 14: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

3

ของการเลนกีฬาหรือออกกําลังกาย พบวา รอยละ 65.3 เปนผูออกกําลังกายดวยวิธีตางๆ เชน เดิน วิ่ง การใชอุปกรณประกอบ การเตน การเลนโยคะและรอยละ 34.7 เปนผูเลนกีฬา (สํานักงานสถิติแหงชาต,ิ 2554: 3)

เทศบาลตําบลคลองโยงและเทศบาลตําบลศาลายา ในฐานะเปนองคกรปกครอง สวนทองถิ่น ที่ตองมีความใกลชิดกับประชาชน ในพื้นที่มากที่สุดมีภารกิจที่ตองดําเนินการเพื่อพัฒนาชีวิตความเปนอยูของประชาชนใหดียิ่งขึ้นตามศักยภาพกําลังและความสามารถของบุคลากร ทุกสวนเพื่อประโยชนสุขของประชาชนเปนสําคัญ เทศบาลตําบลคลองโยงและเทศบาลตําบลศาลายา มีโครงสรางการแบงสวนราชการ 5 กอง คือ สํานักปลัดเทศบาล กองคลัง,กองชาง กองการศึกษา,กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม มีอัตราของพนักงานเทศบาลและพนักงานจาง เทศบาลตําบล มีหนาที่ จะตองปฏิบัติตัวเพื่อประชาชน ในเรื่องของการรักษาความสงบเรียบรอย ใหมีและบํารุงรักษาทางบกและทางน้ํา รักษาความสะอาดของถนนหรือทางเดินและที่ทางสาธารณะ รวมทั้งการกําจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล การปองกันและระงับโรคติดตอ จัดใหมีเครื่องมือในการดับเพลิง จัดใหประชาชนไดรับการอบรมในเรื่องตางๆ การสงเสริมและพัฒนาสตรีเด็ก และเยาวชน ผูสูงอายุและผูพิการ การบํารุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ินและวัฒนธรรมอันดีของทองถ่ิน ซึ่งภาระหนาที่เหลานี้ จะตองใชบุคลากรที่มีความรูความสามารถ รวมถึงการมีสุขภาพที่ดีทั้ งร างกายและจิตใจ เพื่อเตรียมความพรอมที่จะปฏิบัติหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชนสูงสุดตอประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ การพัฒนาบุคลากร จึงมีความจําเปนมาก ในกระบวนการพัฒนาประเทศ เพราะประเทศจะพัฒนาไปไดดีเพียงใดขึ้นอยูกับคุณภาพของคน ในประเทศ พื้นที่ที่รับผิดชอบของเทศบาลตําบลคลองโยง ดังนั้น บุคลากรในเทศบาลตําบลคลองโยง จะตองมีคุณภาพ คือการมีสุขภาพรางกายสมบูรณ แข็งแรง มีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกตองเหมาะสมและเปนผูนําดานการดูแลสุขภาพของประชาชน ซึ่งการดูแลสุขภาพนั้นนับเปนวิถีชีวิต ใหมีสุขภาวะที่สมบูรณทั้งทางรางกาย จิตใจ และสังคม (แผนพัฒนาสามป 2558-2560)

ผูศึกษาในฐานะเปนบุคลากรของเทศบาลตําบลคลองโยง ซึ่งปฏิบัติหนาที่ เกี่ยวกับ ดานสาธารณสุขและมีหนาที่รับผิดชอบงานดานการสงเสริมสุขภาพ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม เทศบาลตําบลคลองโยง จึงไดเล็งถึงความสําคัญในการศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธ กับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรเทศบาลตําบลคลองโยงและบุคลากรเทศบาลตําบลศาลายา เพื่อนําผลการศึกษาไปเปนขอมูลในการวางแผนพัฒนาปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การออกกําลังกายของบุคลากรไดอยางเหมาะสม เพื่อเปนแบบอยางที่ดีดานสงเสริมสุขภาพใหแกประชาชนในพื้นที่ตอไป

Page 15: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

4

วัตถุประสงคในการวิจัยวัตถุประสงคทั่วไปเพื่ อศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลั งกายของบุคลากร

สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐมวัตถุประสงคเฉพาะ1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล

จังหวัดนครปฐม2. เพื่อศึกษาปจจัยทางชีวสังคม ปจจัยนํา ปจจัยเอื้อ และปจจัยเสริมของบุคลากร

สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

ขอบเขตของการวิจัยการศึกษาครั้งนี้ ทําการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร

สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ซึ่งมีอยู 2 เทศบาล ไดแก เทศบาลตําบล คลองโยง จํานวนบุคลากร 91 คน, เทศบาลตําบลศาลายา จํานวนบุคลากร 100 คน รวมประชากรที่ศึกษาเปนบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จํานวน 191 คน

ตัวแปรที่ใชในการศึกษาตัวแปรอิสระ(Independent Variables)

ตัวแปรอิสระ แบงเปน 3 กลุมปจจัย คือ1. ปจจัยนํา - ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย - เจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย - การรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกาย2. ปจจัยเอื้อ - นโยบายเทศบาล - สถานที่และอุปกรณในการออกกําลังกาย3. ปจจัยเสริม - การไดรับขาวสารจากสื่อตางๆ- การไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคล

Page 16: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

5

ตัวแปรตามพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล

จังหวัดนครปฐมตัวแปรอธิบาย

ปจจัยทางชีวสังคม ไดแก- เพศ- อายุ- สถานภาพสมรส- ระดับการศึกษา- รายไดเฉลี่ยตอเดือน- โรคประจําตัว- ระยะเวลาการทํางาน

ประโยชนที่ไดรับในการศึกษาครั้งนี้จะกอใหเกิดประโยชน ดังนี้1. ผลการศึกษาสามารถกําหนดแนวทางการสรางเสริมสุขภาพ ปลูกฝงพฤติกรรม

การออกกําลังกาย เพื่อใหบุคลากรมีพฤติกรรมการออกกําลังกายที่ถูกตอง สูการมีสุขภาพที่ดี2. ผลการศึกษาสามารถพัฒนาเปนตนแบบ ในการปลูกฝงพฤติกรรมการออกกําลังกาย

เปนแหลงเรียนรูในหนวยงานตางๆ และชุมชนไดตอไป

นิยามศัพทบุคลากร หมายถึง พนักงานเทศบาล ลูกจางประจํา พนักงานจางตามภารกิจและ

พนักงานจางทั่วไป ที่ปฏิบัติงานในสังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐมปจจัย หมายถึง สิ่งที่ทําใหเกิดพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล

อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม การออกกําลังกาย หมายถึง ลักษณะการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล

โดยใชแรงของกลามเนื้อและรางกายใหเคลื่อนไหวเพื่อใหรางกายมีสุขภาพดีและออกกําลังกาย อยางสม่ําเสมอ อยางนอย 3 ครั้งตอสัปดาห ครั้งละ 20-30 นาที

Page 17: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

6

ปจจัยทางชีวสังคม หมายถึง คุณลักษณะสวนบุคคลของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล ไดแก เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายไดเฉลี่ยตอเดือน โรคประจําตัว ระยะเวลา ในการปฏิบัติงาน

ปจจัยนํา หมายถึง แรงจูงใจภายในของบุคคลที่จะนําไปสูการปฏิบัติไดแก ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย เจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายและการรับรูประโยชนและอุปสรรค ของการออกกําลังกาย

ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย หมายถึง ความสามารถในการอธิบาย หรือเขาใจเนื้อหาขอเท็จจริ งเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ในดานความหมายขั้นตอนของการออกกําลังกาย หลักการออกกําลังกาย ประโยชนของการออกกําลังกายและโทษของการไมออกกําลังกาย

เจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย หมายถึง ความคิดเห็นสวนบุคคลของบุคลากรที่มีตอ การออกกําลังกาย

การรับรูประโยชนเรื่องการออกกําลังกาย หมายถึง บุคลากรมีความรูสึกนึกคิดวา การออกกําลังกายที่ตนกระทํานั้นมีผลดานบวกกับรางกายจิตใจและสังคม

การรับรูอุปสรรคเรื่องการออกกําลังกาย หมายถึง การที่บุคลากร มีความรูสึกนึกวา การออกกําลังกาย ที่ตนกระทํานั้นมีผลดานลบตอรางกาย จิตใจ และสังคมรวมถึงการรับรูปจจัย ที่มีผลทําใหไมออกกําลังกาย

ปจจัยเอื้อ หมายถึง ปจจัยภายนอกท่ีมีสวนเอื้ออํานวยใหบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบลแสดงพฤติกรรมไดโดยงายหรือยากไดแก นโยบายเทศบาล สถานที่และอุปกรณในการออกกําลังกาย

นโยบายเทศบาล หมายถึง นโยบายของผูบริหารเทศบาล สงเสริมดานการออกกําลังกาย เพื่อใหประชาชนในพื้นที่มีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง ทั้งทางดานรางกายและจิตใจและสามารถอยูในสังคมไดอยางมีความสุข

สถานที่และอุปกรณ หมายถึง การมีสถานที่ออกกําลังกายเพื่อความสะดวกตอบุคลากร ในการ ออกกําลังกายและการมีอุปกรณเกี่ยวกับการออกกําลังกายที่สามารถใชประโยชนได

ปจจัยเสริม หมายถึง แรงสนับสนุนทางสังคมตางๆ ที่ ให เกิดแรงผลักดันในการแสดงพฤติกรรม หรือการปฏิบัติ ไดแก การไดรับขาวสารจากสื่อตางๆ และการไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลตางๆ

การไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลตางๆ หมายถึง การที่บุคลากรไดรับ การสงเสริมสนับสนุน หรือคําแนะนําจากบุคคลในครอบครัว หนวยงาน ไดแก บุคคลในครอบครัว ญาติ พี่นอง เพื่อนรวมงาน เกี่ยวกับการออกกําลังกายที่ถูกตองและเหมาะสม

Page 18: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

7

การไดรับขาวสารจากสื่อตางๆ หมายถึง บุคคลไดรับรูขอมูลจากสื่อ เพื่อนําไปสูการปฏิบัติ เชน เสียงตามสาย ปายประกาศ แผนพับ นิตยสาร หนังสือพิมพ โทรทัศนและวิทยุ

พฤติกรรมการออกกําลังกาย หมายถึง การปฏิบัติตนของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ในระดับที่ตางกัน เชน การปฏิบัติมากจนถึงการปฏิบัตินอย เกี่ยวกับการออกกําลังกาย

Page 19: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

(8)

บทที่ 2วรรณกรรมที่เกี่ยวของ

การศึกษาครั้งน้ีเปนการศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ผูศึกษาไดทําการคนควา แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของตางๆ เพื่อนํามาใชในการศึกษาครั้งนี้ โดยดําเนินการประมวลเอกสารเกี่ยวกับ

1. บริบทพื้นที่ เทศบาลตําบลคลองโยง อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม2. บริบทพื้นที่ เทศบาลตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม3. แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรม4. ความรูเรื่องการออกกําลังกาย5. แนวคิดและทฤษฎีที่นํามาใชในงานวิจัย6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ

บริบทพื้นที่ เทศบาลตําบลคลองโยง อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม (แผนพัฒนาสามป 2558-2560 เทศบาลตําบลคลองโยง)

ที่ตั้งเทศบาลตําบลคลองโยง ไดรับการยกฐานนะจากสภาตําบลเปนองคการบริหารสวนตําบล

โดยพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2538 แล ะจั ดตั้ ง เป นเท ศบ าลตํ า บลคลองโ ยง เมื่ อ วันที่ 9 สิ งหา คม 2 5 50 ตา มปร ะกา ศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง การจัดตั้งองคการบริหารสวนตําบลคลองโยง เปนเทศบาลตําบลคลองโยง ซึ่งเทศบาลตําบลคลองโยงตั้งอยูทางทิศเหนือของที่วาการอําเภอพุทธมณฑล มีระยะทางหาง ที่วาการอําเภอพุทธมณฑล ประมาณ 12 กิโลเมตร

ทิศเหนือ เขตติดตอกับตําบลนราภิรมย , ตําบลบางระกํา อําเภอบางเลนทิศใต เขตติดตอกับตําบลศาลายา , ตําบลมหาสวัสดิ์ อําเภอพุทธมณฑลทิศตะวันออก เขตติดตอกับตําบลหนองเพรางาย อําเภอไทรนอย ,

ตําบลบานใหม อําเภอบางบัวทอง ทิศตะวันตก เขตติดตอกับตําบลลานตากฟา , ตําบลบางแกวฟา

อําเภอนครชัยศรี

Page 20: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

9

เนื้อที่เทศบาลตําบลคลองโยง มีเนื้อที่ประมาณ 31.63 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเปน 19,768 ไร ภูมิประเทศเทศบาลตําบลคลองโยง มีภูมิประเทศเปนที่ราบลุม มีคลองธรรมชาติ คลองสงน้ําไหลผาน

หลายสายมีผลทําใหพื้นที่ของเทศบาลตําบลคลองโยงเปนพื้นที่อุดมสมบูรณเหมาะแกการเพาะปลูกและเกษตรกรรม

เขตการปกครองเทศบาลตําบลคลองโยง ประกอบดวย 8 หมูบาน 16 ชุมชน 3,705 ครัวเรือน ซึ่งอยู

ในเขตรับผิดชอบของเทศบาลตําบลคลองโยง ดังตอไปนี้หมูที่ 1 จํานวน 3 ชุมชน ประกอบดวย 1) ชุมชนบานคลองโยง1 2) ชุมชนบาน

คลองโยง2 3) ชุมชนบานคลองโยง3หมูที่ 2 จํานวน 1 ชุมชน คือ ชุมชนบานชัยขันธหมูที่ 3 จํานวน 1 ชุมชน คือ ชุมชนบานแหลนหายหมูที่ 4 จํ านวน 3 ชุมชน ประกอบดวย 1) ชุมชนบ านวัดมะเกลือ1

2) ชุมชนบานวัดมะเกลือ2 3) ชุมชนบานวัดมะเกลือ 3หมูที่ 5 จํานวน 3 ชุมชน ประกอบดวย 1) ชุมชนบานดอนทอง1 2) ชุมชนบาน

ดอนทอง2 3) ชุมชนหมูบานเอกสยามหมูที่ 6 จํานวน 3 ชุมชน ประกอบดวย 1) ชุมชนวัดมงคลประชาราม

2) ชุมชนหมูบานสมพงษ 3) ชุมชนหมูบานทิมเรืองเวชหมูที่ 7 จํานวน 1 ชุมชน คือ ชุมชนหมู 7 บานเจริญสุขหมูที่ 8 จํานวน 1 ชุมชน คือ ชุมชนบานสหกรณ

ประชากรเทศบาลตําบลคลองโยงมีชุมชนที่อยูในความรับผิดชอบทั้งสิ้น 12 ชุมชน ปจจุบันจํานวน

ประชากรที่ปรากฏอยูในทะเบียนราษฎรรวมทั้งสิ้น 8,992 คน จํานวน 3,683 ครัวเรือน อาชีพในเขตเทศบาลตําบลคลองโยง สวนใหญประกอบอาชีพทําการเกษตร ทํานา ทําสวน

นอกจากนั้นยังประกอบอาชีพรองลงมา ไดแก รับจาง คาขาย รับราชการหนวยธุรกิจในตําบลเทศบาลตําบลคลองโยง - หองเชา/บานพัก จํานวน 19 แหง

Page 21: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

10

- ปมน้ํามัน จํานวน 1 แหง- ปมแกส LPG จํานวน 2 แหง- โรงงานอุตสาหกรรม จํานวน 225 แหง- สถานที่จําหนายอาหาร จํานวน 36 แหง- สถานที่สะสมอาหาร จํานวน 3 แหง

การศึกษา- โรงเรียนประถม จํานวน 1 แหง (โรงเรียนบุณยศรีสวัสดิ์)- โรงเรียนประถมและขยายโอกาสมัธยมตอนตน จํานวน 2 แหง (โรงเรียน

วัดมะเกลือและโรงเรียนบานคลองสวางอารมณ)- โรงเรียนศึกษาพิเศษ (กรมสามัญศึกษาเดิม) จํานวน 1 แหง (โรงเรียนฟาใสวิทยา)- โรงเรียนมัธยมศึกษา จํานวน - แหง- โรงเรียนอาชีวศึกษา จํานวน 1 แหง (วิทยาลัยการอาชีพพุทธมณฑล)- ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก จํานวน 2 แห ง (ศูนยพัฒนาเด็ก เล็ก เทศบา ล

คลองโยงศูนย1และศูนยพัฒนาเด็กเล็กคลองโยงศูนย2)- ศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชน จํานวน 5 แหง (ศูนยฝกฯบานสิรินธร,

ศูนยฝกฯ บานมุทิตา , ศูนยฝกฯบานอุเบกขา, ศูนยฝกฯบานกาญจนา สถานแรกรับนนทบุรี)- ศูนยฝกอาชีพ จํานวน 1 แหง (บานสิรินธร)

สถาบันและองคกรศาสนาประชาชนในเขตเทศบาลตําบลคลองโยงสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ มีศาสน-สถาน (วัด)

จํานวน 2 แหง ไดแก วัดมะเกลือ และวัดมงคลประชารามสาธารณสุข

- โรงพยาบาลของรัฐ จํานวน 3 แหง (โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลคลองโยง 1, โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล

คลองโยง 2 ,โรงพยาบาลตุลาการเฉลิมพระเกียรติ)- สถานพยาบาลเอกชน จํานวน - แหง- รานขายยาแผนปจจุบัน จํานวน 1 แหง

ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน- สถานีตํารวจ/จุดที่พักสายตรวจตํารวจประจําตําบล จํานวน 1 แหง- ศูนยปองกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาลตําบลคลองโยง จํานวน 1 แหง

Page 22: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

11

การบริการขั้นพื้นฐานการคมนาคม การคมนาคมติดตอระหวางหมูบาน – ตําบล –อําเภอ มีถนนลาดยาง ถนน คสล.

ถนนหินคลุก เชื่อมโยงติดตอถึงกันท่ัวทั้งตําบลสามารถเดินทางโดยสะดวก มีจํานวนถนนที่อยูในความรับผิดชอบของเทศบาลตําบลคลองโยง จํานวน 51 เสนทาง

การโทรคมนาคม1. ตูชุมสายโทรศัพทพื้นฐาน จํานวน 1 แหง2. ตูชุมสายโทรศัพทเคลื่อนที่ จํานวน 15 แหง

การไฟฟา ในเขตเทศบาลตําบลคลองโยง ประชาชนมีไฟฟาใชทุกครัวเรือน แตการขยายเขตไฟฟายังใหบริการไมครอบคลุมทั่วถึงทั้งตําบล

แหลงน้ําธรรมชาติ- คลองธรรมชาติ จํานวน 3 สาย- คลองชลประทาน,คลองสงน้ํา จํานวน 12 สาย- บึง หนอง และอื่นๆ จํานวน - แหง

แหลงน้ําที่สรางขึ้น- บอน้ําบาดาล จํานวน 19 แหง- ฝาย จํานวน - แหง- อื่น ๆ จํานวน - แหง

ขอมูลอื่น ๆทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่เทศบาลตําบลคลองโยง มีสภาพดินที่อุดมสมบูรณเหมาะแก

การเพาะปลูก และทําการเกษตร

ศักยภาพของเทศบาลตําบลคลองโยง จํานวนบุคลากร จํานวน 91 คน

- สํานักงานปลัดเทศบาล จํานวน 35 คน- กองคลัง จํานวน 14 คน- กองชาง จํานวน 16 คน- กองสาธารณสุขฯ จํานวน 26 คน

รายไดของเทศบาลตําบล

Page 23: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

12

ประจําปงบประมาณ 2557 เปนเงิน 64,375,816.94 บาท - รายไดที่เทศบาลตําบลจัดเก็บเอง เปนเงิน 13,062,364.09 บาท- หมวดภาษีและคาธรรมเนียมที่ไดรับจัดสรร เปนเงิน 34,870,468.85 บาท- เงินอุดหนุนทั่วไปจากรัฐบาล เปนเงิน 16,442,984.00 บาท

วิสัยทัศนในการพัฒนา เทศบาลตําบลคลองโยงมุงมั่นการศึกษา เนนพัฒนาโครงสรางพื้นฐานสงเสริมการกีฬา พัฒนาเศรษฐกิจยกระดับคุณภาพชีวิต แหลงผลิตอาหารปลอดภัย\

พันธกิจ หรือภารกิจภารกิจหลักที่ 1 การพัฒนาโครงการพื้นฐาน ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการภารกิจหลักที่ 2 การสงเสริม การสนับสนุนการจัดการศึกษา การบริการดานการ

สาธารณสุข และสิ่งแวดลอมภารกิจหลักที่ 3 การสนับสนุนการประกอบอาชีพ การทํางาน เพิ่มพูนความรู

วิชาชีพ สงเสริมกลุมอาชีพ กลุมเกษตรกรภารกิจหลักที่ 4 การสรางระบบการบริหารจัดการที่ดี ประชาชนมีสวนรวม

ในการวางแผน การตัดสินใจ การตรวจสอบการบริหารงาน

จุดมุงหมายเพื่อการพัฒนาเทศบาลตําบลคลองโยง1. เพื่อใหประชาชนไดรับการบริการดานสาธารณูปโภค สาธารณูปการตางๆ

อยางครบถวนและเพียงพอ2. เพื่อใหเด็กและเยาวชนไดรับบริการดานการศึกษาเบื้องตนอยางเพียงพอและ

เหมาะสมสนับสนุนสถานศึกษาใหการจัดการศึกษา3. เพื่อใหบริการดานสาธารณสุขแกประชาชนอยางครอบคลุมทั่วถึง การควบคุมโรค

การให บริการสาธารสุขมูลฐานและเก็บขยะมูลฝอย รักษาความสะอาดของบานเมือง4. เพื่อพัฒนาเสริมสรางสิ่งแวดลอมใหอยูในสภาพสมบูรณ สวยงาม นาอยูอาศัย

เปนเมืองนาอยูอยางยั่งยืน5. เพื่อพัฒนาความรูแกประชาชนในการประกอบอาชีพตางๆ สนับสนุนเงินทุน

หมุนเวียน สงเสริมการประกอบอาชีพและผลิตสินคาตางๆ ในตําบล

Page 24: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

13

6. เพื่อสนับสนุนโครงการพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง อาหารปลอดภัย ยุทธศาสตรการพัฒนาและแนวทางการพัฒนาของเทศบาลตําบลคลองโยง (พ.ศ. 2558-2560)

1. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการบริการสาธารณะ ประกอบดวย 3 แนวทางการพัฒนา ดังนี้

1.1 กอสราง ปรับปรุง ซอมแซม และบํารุงสะพาน ทางเทา ทอระบายน้ํา ทาเทียบเรือ ระบบบําบัดน้ําเสีย ระบบสาธารณูปโภค

1.2 พัฒนาระบบจราจร กอสรางเนินสะดุดชะลอความเร็ว1.3 พัฒนาระบบไฟฟา – ประปา

2. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานสังคม ประกอบดวย 7 แนวทางการพัฒนา ดังนี้2.1 สงเสริมสนับสนุนกีฬาและนันทนาการ2.2 สงเสริมสนับสนุนกิจการสาธารณสุขและอนามัย2.3 ปองกันแกไขและจัดกิจกรรมรณรงคตอตานยาเสพติด2.4 สงเสริมสนับสนุนงานสวัสดิการสังคม การสังคมเคราะหใหทั่วถึงมากยิ่งขึ้น2.5 การปองกันและรักษาความสงบเรียบรอยในบานเมืองและความปลอดภัย

ในชีวิตและทรัพยสิน2.6 สงเสริมความรักและความผูกพันในครอบครัว กิจกรรมพัฒนาสตรี เด็ก

เยาวชน ผูสูงอายุ ผูพิการและผูปวยเอดส2.7 การเสริมสรางความสมานฉันทในสังคม

3. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการศึกษาและวัฒนธรรม ประกอบดวย 2 แนวทางการพัฒนา ดังนี้

3.1 สงเสริมและพัฒนาระบบการศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีประสิทธิภาพ

3.2 สงเสริมการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว งานรัฐพิธี และงานประเพณีวัฒนธรรมตางๆ

4. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานเศรษฐกิจ ประกอบดวย 2 แนวทางการพัฒนา ดังนี้4.1 พัฒนาสงเสริมและฝกอบรมอาชีพใหประชาชน และสนับสนุนการจัดตั้ง

กลุมกองทุนแกประชาชน4.2 สงเสริมและสนับสนุนการการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง

Page 25: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

14

5. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานสิ่งแวดลอมและการทองเที่ยว ประกอบดวย 1 แนวทางการพัฒนา ดังนี้

5.1 พัฒนาสงเสริมสนับสนุนการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

6. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการบริการกิจการบานเมืองที่ดี ประกอบดวย 5 แนวทาง การพัฒนา ดังนี้

6.1 พัฒนาบริการกิจการที่ดีในองคกร สงเสริมการมีสวนรวมประชาชนในการพัฒนาทองถิ่นและสงเสริมการปกครองระบบประชาธิปไตย

6.2 พัฒนาธรรมาภิบาล การปองกันและปราบปรามทุจริต และประพฤติ มิชอบในการปฏิบัติราชการ

6.3 ปรับปรุงและพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร6.4 สนับสนุนการปฏิบัติงาน ปรับปรุงและพัฒนาระบบเทคโนโลยี

สารสนเทศเครื่องมือ เครื่องใช และอาคารสถานที่6.5 ปรับปรุงและพัฒนารายได และเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบภายใน

บริบทพื้นที่ เทศบาลตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม (แผนพัฒนาสามป 2558-2560 เทศบาลตําบลศาลายา)

1. ประวัติความเปนมา1.1 ทางดานการปกครอง

ดวยกระทรวงมหาดไทยไดพิจารณาแลวเห็นวา ทองถิ่นบางสวนของเทศบาลตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม มีสภาพอันสมควรยกฐานะเปนสุขาภิบาล เพื่ อประโยช น ในการทะนุ บํ ารุ งท อ งถิ่ น ใ ห เ จ ริ ญก า วห น า ยิ่ ง ขึ้ น ไ ป จึ ง ไ ด มี ป ร ะ ก า ศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 23 สิงหาคม 2534 จัดตั้งสุขาภิบาลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ซึ่งประกาศดังกลาวไดประกาศในหนังสือราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 109 ตอนที่ 52 ลงวันที่ 22 เมษายน 2535 ตอมาไดเปลี่ยนแปลงจากสุขาภิบาลเปนเทศบาล พ.ศ. 2542 มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 25 พฤษภาคม 2542 เปนตนไป

1.2 เหตุผลในการจัดตั้งเทศบาลตําบลศาลายาเปนบริเวณที่เปนชุมชน มีราษฎรอาศัยอยูอยางหนาแนน และมีแนวโนมวาจะ

พัฒนาใหเจริญกาวหนาและมีความเปนระเบียบเรียบรอย สามารถรองรับการขยายตัวและใหบริการ

Page 26: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

15

ดานตางๆ ตามศักยภาพของหนวยงานการบริหารราชการสวนทองถิ่นเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดตอประชาชนที่พักอาศัยและประกอบอาชีพในสุขาภิบาล (เดิม)

2. สภาพภูมิศาสตร2.1 ลักษณะที่ตั้ง

เทศบาลตําบลศาลายา มีสํานักงานอยู ณ อาคาร 199/95 หมูที่ 5 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม (บริเวณดานหลังที่วาการอําเภอพุทธมณฑล) หางจากจังหวัดนครปฐม ประมาณ 32 กิโลเมตร และหางจากกรุงเทพมหานคร 20 กิโลเมตร

2.2 พื้นที่ พื้นที่รวม 13.5 ตารางกิโลเมตร

2.3 อาณาเขต ทิศเหนือ อาณาเขตติดตอ หมูที่ 5 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล

อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรีทิศใต อาณาเขตติดตอ ตําบลบางเตย , ตําบลบางระกํา

อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมทิศตะวันออก อาณาเขตติดตอ แขวงศาลาแดง เขตทวีวัฒนา

จังหวัดกรุงเทพมหานครทิศตะวันตก อาณาเขตติดตอ หมูที่ 1 ตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล

จังหวัดนครปฐม2.4 ลักษณะภูมิประเทศ

สภาพพื้นที่เปนที่ราบลุม สูงจากระดับน้ําทะเล 5 เมตร สภาพพื้นที่ทั่วไปเปนดินเหนียว

2.5 ลักษณะภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศในเขตเทศบาลตําบลศาลายาจัดไดวาเปนบริเวณที่มีความชุมชื้น

มีฝนตกตามฤดูกาล แตเนื่องจากสภาพพื้นที่เปนที่ลาบลุมดังกลาว จึงทําใหประสบปญหาอุทกภัย ในบางครั้ง ฤดูแลงสภาพของพื้นที่ไมแหงแลง อุณหภูมิโดยเฉลี่ยตลอดทั้งป 31 องศาเซลเซียส

3. ประชากรจํานวนประชากรในเขตเทศบาลตําบลศาลายา มีจํานวนประชากรรวมทั้งสิ้น

11,166 คน แยกเปนชาย 5,482 คน เปนหญิง 5,667 คน

Page 27: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

16

4. สภาพทางเศรษฐกิจ4.1 การเกษตรกรรม การใชที่ดินสวนใหญเพื่อการเกษตรกรรม เชนการทํานา ทําสวน

มะมวง มะพราว สมโอ เล้ียงสัตว4.2 การพาณิชกรรม มีรานคาเกี่ยวกับการบริโภคประมาณ 200 ราน รานคาเกี่ยวกับ

อุปโภค ประมาณ 150 ราน4.3 การบริการ มีภัตตาคาร 5 แหง โรงแรม 1 แหง (มหาวิทยาลัยมหิดล) 4.4 แรงงาน มีแรงงานดานการเกษตรกรรมที่เพียงพอ ชางฝมือ ชางทั่วไปและผูใช

แรงงาน4.5 การทองเที่ยวและแหลงเรียนรูในทองถิ่น ไดแก

- พุทธ มณฑล ไมใช วัด แต เปนพุ ทธอุทยานที่ ไ ม เพี ยงมีความสํ า คัญกับ ชาวนครปฐมเทานั้น เพราะสําหรับพุทธศาสนิกชนแลว พุทธมณฑล คือ ศูนยรวมใจ ถนนธรรมทุกสายมุงสูพุทธมณฑลในวันธรรมสวนะสําคัญของชาวพุทธ ซึ่งประกอบกิจพิธีทางศาสนา เปนประจํา และยังเปนที่พักผอนหยอนใจ

- สิ่งที่ควรสักการะและควรชม อาทิ พระศรีศากยทศพลญาณประธานพุทธมณฑลสุทรรศน , วิหารพุทธมณฑล , ตําหนักสมเด็จพระสังฆราช , ที่พักสงฆอาคันตุกะ , หอประชุม, หอกลอง , ศาลาราย , ศาลาปฏิบัติกรรมฐาน , หอสมุดพระพุทธศาสนามหาสิรินาถ , มหาวิหารประดิษฐาน , พระไตรปฎกหินออน

- อนุสาวรียกรมหลวงชุมพรเขตตอุดมศักดิ์ ตั้งอยูในกรมยุทธศึกษาทหารเรือ ซึ่งเปนที่เคารพสักการะของทหารเรือ และประชาชนทั่วไป

- ถนนอุทยาน (ถนนอักษะ) เปนถนนที่สวยที่สุด มีการกอสรางสระบัวบนสะพาน ประกอบดวยน้ําพุ น้ําตกตางระดับ ไมดอก ติดตั้งโคมไฟสองสวาง เปนรูปหงสตลอดแนว

- สวนสมุนไพรสิรีรุกชาติ อยูในมหาวิทยาลัยมหิดล เปนแหลงรวบรวมพันธุสมุนไพรพื้นบานที่มีในประเทศไทย จัดเปนลักษณะสวนหยอมที่สวยงาม และเปนแหลงอาศัย ของนกที่นาสนใจแหงหนึ่ง

- เรือนไทย ตั้งอยูในมหาวิทยาลัยมหิดล เปนเรือนไทยที่งดงาม ตกแตงเปน สวนสวยบรรยากาศรมรื่นใชเปนสถานที่จัดกิจกรรมหรืองานพิธีตางๆ ซึ่งนักทองเที่ยวสามารถ เขาชมถายภาพพักผอนในบริเวณโดยรอบได

ศักยภาพของเทศบาลตําบลศาลายา จํานวนบุคลากร จํานวน 100 คน

- สํานักงานปลัดเทศบาล จํานวน 39 คน

Page 28: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

17

- กองคลัง จํานวน 16 คน- กองชาง จํานวน 16 คน- กองสาธารณสุขฯ จํานวน 18 คน

แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมความหมายของคําวาพฤติกรรมธนวรรธน อิ่มสมบูรณ (2532:10) ไดใหความหมายวา “พฤติกรรมสุขภาพ” หมายถึง

ความสามารถในการแสดงออกของบุคคลที่มีผลตอสุขภาพบุคคลนั้นๆ แลวแตกรณี รวมถึงการกระทําหรือการงดเวน การกระทําในสิ่งที่ เปนผลดี หรือผลเสียตอสุขภาพในรูปของความรู ความเขาใจ เจตคติ และการกระทําที่เปนผลดี หรือผลเสียตอสุขภาพ

ราชบัณฑิตยสถาน (2542 : 48) ไดใหความหมายวา “พฤติกรรม” หมายถึง “การกระทํา หรืออาการที่แสดงออกทางกลามเนื้อ ความคิด และความรูสึก เพื่อตอบสนองสิ่งเรา”

นพวรรณ พันธุเมธา (2544 : 32) ไดใหความหมายวา “พฤติกรรม” หมายถึง “การกระทําทั่วๆ ไป มีการเคลื่อนไหว การพูด การคิด เปนตน เชน ศึกษาพฤติกรรมของเด็กที่พอแมหยาราง”

Bloom (1975) ไดกลาวถึงพฤติกรรมวาเปนกิจกรรมทุกประเภทที่มนุษยกระทํา อาจเปนสิ่งที่สังเกตไดหรือไมได และพฤติกรรมดังกลาวนี้ไดแบงเปน 3 สวน คือ

1. พฤติกรรมดานความรู (Cognitive Domain) พฤติกรรมดานนี้มีขั้นของความสามารถทางดานความรู การใหความคิดและพัฒนาการทางดานสติปญญา จําแนกไว ตามลําดับขั้นจากงายไปหายาก ดังนี้

1.1 ความรูความจํา (Knowledge) เปนพฤติกรรมขั้นตนเกี่ยวกับความจําได หรือระลึกไดถึงเรื่องราวที่ไดรับไปแลว

1.2 ความเขาใจ (Comprehension) เปนพฤติกรรมที่ตอเนื่องมาจากความรู คือ จะตองมีความรูมากอนจึงจะเขาใจ ความเขาใจนี้จะแสดงออกมาในรูปของการแปลความ ตีความและสามารถที่จะนําเอาขอมูลที่ไดรับมาใชใหเปนประโยชน

1.3 การนําไปใช (Application) เปนการนําเอาวิธีการ ทฤษฎี กฎเกณฑ และแนวคิดตางๆ ไปใชในสถานการณใหมที่ไมเหมือนเดิมได

1.4 การวิเคราะห (Analysis) เปนขั้นที่บุคคลมีความสามารถและมีทักษะในการจําแนกเรื่องราวที่สมบูรณใดๆ ออกเปนสวนยอย และมองเห็นความสัมพันธอยางแนชัดระหวางสวนประกอบที่รวมเปนปญหา หรือสถานการณอยางใดอยางหนึ่ง

Page 29: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

18

1.5 การสังเคราะห (Synthesis) เปนความสามารถของบุคคลในการรวบรวมสวนยอยตางๆ เขาเปนสวนรวมที่มีโครงสรางใหม มีความชัดเจนและมีคุณภาพ เพื่อใหภาพพจนที่สมบูรณ

1.6 การประเมินผล (Evaluation) เปนความสามารถของบุคคลในการวินิจฉัยและตีราคาของสิ่งตางๆ โดยมีเกณฑที่ใชชวยประเมินคานี้ อาจจะเปนเกณฑที่บุคคลสรางขึ้นมาหรือมีอยูแลวก็ตาม

2. พฤติกรรมดานเจตคติ (Affective Domain) พฤติกรรมดานนี้ ความสนใจ ความรูสึก ทาที ความชอบในการใหคุณคา หรือปรับปรุงคานิยมที่ยึดถืออยู เปนพฤติกรรมที่ยากแกการอธิบายเพราะเปนสิ่งที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของคน การเกิดพฤติกรรม ดานเจตคติ แบงเปนขั้นตอน ดังนี้

2.1 การรับหรือการใหความสนใจ (Receiving or Attending) เปนขั้นที่บุคคลถูกกระตุนใหทราบวา เหตุการณ หรือสิ่งเราบางอยางเกิดขึ้น และบุคคลนั้นมีความยินดี หรือมีภาวะจิตใจพรอมที่จะรับหรือใหความพอใจตอสิ่งเรานั้น ในการยอมรับนี้ประกอบดวย ความตระหนัก ความยินดีที่ควรรับและการเลือกรับ

2.2 การตอบสนอง (Responding) เปนขั้นที่บุคคลถูกจูงใจ ใหเกิดความรูสึกผูกมัด ตอสิ่งเรา เปนสิ่งที่บุคคลพยายามทําใหเกิดปฏิกิริยาตอบสนอง พฤติกรรมขั้นนี้ประกอบดวย การยินยอม ความเต็มใจ และพอใจที่จะตอบสนอง

2.3 การใหคานิยม (Valuing) เปนขั้นที่บุคคลมีปฏิกิริยาซึ่งแสดงใหเห็นวาบุคคลนั้นยอมรับวาเปนสิ่งทีมีคุณคาสําหรับตนเอง และไดนําไปพัฒนาเปนของตนอยางแทจริง พฤติกรรม ขั้นนี้ สวนมากใชคําวา “คานิยม” ซึ่งการเกิดคานิยมนี้ประกอบดวยการยอมรับ ความชอบและผูกมัดคานิยมเขากับตนเอง

2.4 การจัดกลุมคานิยม (Organization) เปนขั้นที่บุคคลจัดระบบของคานิยมตางๆ ใหเขากลุมโดยพิจารณาถึงความสัมพันธระหวางคานิยมเหลานั้น ในการจัดกลุมนี้ประกอบดวย การสรางแนวคิดเกี่ยวกับคานิยม และจัดระบบคานิยม

2.5 การแสดงลักษณะตามคานิยมที่ยึดถือ(Characterizationby a Value or Value Complex)พฤติกรรมขั้นนี้ถือวา บุคคลมีคานิยมหลายชนิด และจัดอันดับของคาเหลานั้นจากดีที่สุดไปถึงนอยที่สุด และพฤติกรรมเหลานี้จะเปนตัวคอยควบคุมพฤติกรรมของบุคคล พฤติกรรมในขั้นประกอบดวย การวางแผนทางของการปฏิบัติและการแสดงลักษณะที่จะปฏิบัติตามแนวทาง ที่เขากําหนด

3. พฤติกรรมดานการปฏิบัติ (Psychomotor Domain) เปนพฤติกรรมที่ใชความสามารถในการแสดงออกของรางกาย ซึ่งรวมถึงการปฏิบัติที่อาจแสดงออกในสถานการณหนึ่งๆ หรืออาจเปนพฤติกรรมที่คาดคะเนวาอาจจะปฏิบัติในโอกาสตอไป พฤติกรรมดานนี้เปนพฤติกรรมขั้นสุดทาย

Page 30: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

19

ซึ่งตองอาศัยพฤติกรรมดานพุทธิปญญา หรือ เปนพฤติกรรมที่สามารถประเมินผลไดงาย แตกระบวนการที่กอใหเกิดพฤติกรรมนี้ ตองอาศัยเวลาและการตัดสินใจหลายขั้นตอน

ธนวรรธน อิ่มสมบูรณ (2532 : 15) ไดจําแนกพฤติกรรมสุขภาพออกเปน 3 ลักษณะ ตามกระบวนการการพัฒนาสุขภาพ คือ

1. พฤติกรรมการเจ็บปวยและรักษาพยาบาล เปนพฤติกรรมที่สามารถปลูกฝงหรือสามารถเปลี่ยนแปลงปรับปรุงได กระบวนการเรียนรูที่ใชสําหรับพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ในลักษณะนี้ จะเนนความเกี่ยวของของการรับรู ความเชื่อ และประสบการณของบุคคลเปนสิ่งสําคัญ

2. พฤติกรรมการปองกันและควบคุมโรค จะยากตอการพัฒนามากกวาพฤติกรรมการเจ็บปวย กระบวนการเรียนรูที่ใชสําหรับพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ในลักษณะนี้จะเนนความเกี่ยวของกับการรับรู ความเชื่อ และประสบการณของบุคคลเปนสําคัญ

3. พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพและดูแลตนเอง การเรียนรูเพื่อใหเกิดพฤติกรรมลักษณะนี้ ตองเนนการสรางคานิยม และวิถีการดํารงชีวิตใหฝงลึกลงไปในกลุมเปาหมายของแตละเรื่อง รวมทั้งการสรางจิตสํานึกของการดําเนินชีวิตตามหลักการทางสุขภาพดวยความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ

นโยบายเทศบาล(ดานการออกกําลังกาย) แผนพัฒนาสามป พ.ศ. 2558-2560 เทศบาลตําบลคลองโยง

1. ใหประชาชนทุกกลุมอายุ ทุกสภาพรางกาย มีการออกกําลังกายอยางถูกตองเหมาะสมตอเนื่องสม่ําเสมอโดยถือเอาการออกกําลังกายเปนสวนหนึ่งของชีวิต และปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใหมีการเคลื่อนไหวรางกายในการประกอบกิจวัตรประจําวันมากขึ้น เพื่อสงผลใหอายุยืนยาวและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ไมเจ็บปวย และตายดวยโรคอันเกิดจากการขาดการออกกําลังกาย กอนวัยอันควร ใหมีการประยุกตกิจกรรม การละเลนพื้นบานของไทยเพื่อการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพใหสอดคลองกับศิลปวัฒนธรรม ความเปนอยูของประชาชนแตละภาค

2. ใหมีการใชทรัพยากรที่มีอยูอยางเต็มประสิทธิภาพ ในการสงเสริมการออกกําลังกาย เพื่อสุขภาพโดยพัฒนารูปแบบการบริหารศูนยกีฬา สถานที่ราชการ สวนสาธารณะเพื่อเปนแบบอยางในการจัดการเชิงรุกสูประชาชนและเปดโอกาสใหประชาชนใชในการออกกําลังกาย เพื่อสุขภาพ อยางทั่วถึง ตอบสนองตอความตองการของประชาชนมากยิ่งขึ้น

3. เทศบาล ประสานกับหนวยงานที่รับผิดชอบ ดานกีฬา เชน การกีฬาแหงประเทศไทย กรมพลศึกษา ทบวงมหาวิทยาลัย สมาคมกีฬา เพื่อกําหนดบทบาทและทิศทางการ ออกกําลังกาย เพื่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนพัฒนาความรวมมือในการสงเสริมการออกกําลังกาย เพื่อสุขภาพทางเลือกอื่นๆ

Page 31: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

20

4. ใหมีการพัฒนาปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริการ ในสถานบริการสาธารณสุขใหเปน แบบองครวม ผสมผสานรูปแบบการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ การใหคําแนะนําปรึกษา ดานการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ เปนสวนหนึ่งของการใหบริการดานสุขภาพอนามัย โดยเฉพาะ อยางยิ่งในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ

5. ใหสงเสริมบทบาทผูนําชุมชน อาสาสมัคร องคกรทองถิ่น องคกรเอกชน ในการเปนผูนํา การสงเสริมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ ซึ่งมีหนวยงานของรัฐเปนผูให การสนับสนุน โดยเฉพาะอยางยิ่งกระทรวงสาธารณสุขเปนหนวยงานหลักในการสรางผูนํา การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ

6. ใหมีกิจกรรมสงเสริมคานิยมของครอบครัวในการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ ของทุกครอบครัวทั่วประเทศในโอกาสตางๆ

7. ใหหนวยงานตางๆ โดยเฉพาะหนวยงานในภาครัฐ จัดใหบุคลากรในหนวยงาน ไดออกกําลังกายเพื่อสุขภาพในวันราชการ เพื่อเปนแบบอยางแกประชาชนและหนวยงานภาคเอกชนอื่นๆ

ความรูเรื่องการออกกําลังกายความหมายของการออกกําลังกายจรินทร ธานีรัตน (2529) กลาววา การออกกําลังกาย หมายถึง การเขารวมกิจกรรม

ทางกายทั้งหลายที่บุคคลเลือกที่จะกระทําเพื่อตองการทําใหรางกายไดรับการเคลื่อนไหว และชวยใหกลามเนื้อไดทํางานและเกิดความเจริญเติบโต สงเสริมใหรางกายแข็งแรง ทรวดทรงดี ปอด หัวใจทํางานอยางมีประสิทธิภาพและเปนประโยชนตอสุขภาพ

เจริญ กระบวนรัตน (2530) ไดใหความหมายของการออกกําลังกายวาเปนการนวดตัวเองวิธ ีหนึ ่งชวยปองกันการเกร็งตัวของกลามเนื้อที่ตองทํางานอยูในสภาวะใดสภาวะหนึ่งเปนเวลานานๆ ทําใหเกิดความรูสึกสบายทั้งรางกายและจิตใจ สามารถกระทําไดหลายวิธี เชน วิ่ง กระโดดเชือก ขี่จักรยาน วายน้ํา เดิน เลนกีฬา เปนตน

ศิริรัตน ปรมัตถากร (2539) ไดใหความหมายของ “การออกกําลังกาย” (Exercise) วาหมายถึง การใชกลามเนื้อและอวัยวะอื่นๆ ของรางกายทํางานมากกวาการเคลื่อนไหวหรืออวัยวะตางๆ ในชีวิตประจําวัน การออกกําลังกายที่ดีและถูกตอง การปฏิบัติออยางสม่ําเสมอตามความเหมาะสมของอายุ เพศ และสภาวะของรางกาย โดยมีสัญญาณใหทราบวา การออกกําลังกายนั้นเหมาะสมหรือยัง คือ อัตราการเตนของหัวใจสูงขึ้น หายใจถี่และแรงขึ้น มีเหงื่อออก ผลที่ตามมาหลังการออกกําลังกายสม่ําเสมอ คือ สมรรถภาพดานความแข็งแรงของกลามเนื้อแขน ขา

Page 32: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

21

ความคลองแคลววองไว การตอบสนองตอสถานการณ และสิ่งที่สําคัญที่สุด คือ ความอดทน หรือความทนทานของระบบไหลเวียนเลือดดีขึ้น

สุชาติ โสมประยูร (2542) ไดใหความหมายของ การออกกําลังกาย (Exercise) วาหมายถึง การออกแรงเพื่อทํากิจกรรมทางรางกายในทุกๆ ลักษณะ ไมวาจะเปนการเลนกีฬา หรือการทํางานใดๆ ไมวาจะเปนกิจกรรมที่สมัครใจ หรือฝนใจ และไมวากิจกรรมนั้นๆ จะเปนการเลนกีฬา หรือการทํางานใดๆ ไมวาจะเปนกิจกรรมที่สมัครใจ หรือฝนใจ และไมวากิจกรรมนั้นๆ จะเปนอาชีพหรือสมัครเลน การออกกําลังกายที่ดี จําเปนจะตองออกแรงมากพอจนรูสึกเหนื่อย เพื่อใหรางกายเกิดการเคลื่อนไหว (Isotonic Exercise) หรือบางครั้งอาจจะอยูกับที่ก็ตาม (Isometric Exercise) ซึ่งเปนผลทําใหหัวใจเตนเร็วขึ้นกวาปกติ การออกกําลังกายแตเพียงบางสวนของรางกายจะไดประโยชนนอย เพราะหัวใจทํางานไมหนักพอ ชีพจรเตนไมเร็วกวาปกติเทาที่ควรจะเปน

ชนิดของการออกกําลังกายธัญชนก (2548) กลาวถึงชนิดของการออกกําลังกายทั่วไป มีดังนี้1. ชนิดของการออกกําลังกายทั่วๆไป

1.1 แบงตามหลักการใชออกซิเจน1.1.1 แอโรบิก (Aerobic) เปนการออกกําลังกายที่ใชพลังงานจากกระบวนการผลิต

พลังงานที่ตองใชออกซิเจนเปนการออกกําลังกายตอเนื่อง เชน การวิ่งเหยาะๆ การวิ่งระยะไกล การเดิน การวายน้ํา หรือการขี่จักรยาน เปนตน ภาวะแอโรบิกรวมถึงการฝกฝน แบบสรางความอดทนที่มีความหนักที่นอย หลายๆ รอบ มีชวงเวลาเกิน 3 นาที

1.1.2 แอนแอโรบิก (Anaerobic) เปนการออกกําลังกายที่ใชพลังงานจากกระบวนการผลิตพลังงานที่ไมตองใชออกซิเจน เชน การวิ่งเร็วในระยะส้ัน การยกน้ําหนัก เปนการใชพลังงานเต็มที่ในระยะสั้น เปนตน การออกกําลังกายประเภทนี้ตองใชแรงเกือบจะถึงระดับสูงสุดในชวงเวลา 2 ถึง 3 นาที การออกกําลังกายแบบนี้สําหรับนักกีฬาที่ตองการกําลังอยางฉับพลัน เชน วิ่งเร็วระยะสั้น นักกรรเชียงเรือ และนักฟุตบอล เปนตน

1.2 แบงตามหลักการออกกําลังกายของกลามเนื้อ1.2.1 Isotonic คือ การที่กลามเนื้อหดตัวแลวใยกลามเนื้อหดสั้นหรือยืดยาวไดดวย

ดวยแรงดึงในกลามเนื้อคงที่ในประเด็นนี้ คอริแกน และเมทแลนด ระบุวาหลักการเกิด คือใหทํากิจกรรม ที่เกินกําลัง แรงตองเพียงพอใหกลามเนื้อเกิดความเมื่อยลา จะทําใหกลามเนื้อปรับตัวเพิ่มความแข็งแรง และความทนทาน สําหรับการเพิ่มกําลังของกลามเนื้อการออกกําลังกายตองมีแรงตานทานมาก ออกกําลังกายซ้ําอยางชาๆ สําหรับฝกฝนความอดทนใชแรงตานนอย แตออกกําลังซ้ํา

Page 33: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

22

อยางเร็ว การออกกําลังกาย โดยวิธีนี้ตองใชกันอยูโดยทั่วๆ เปนการฝกความแข็งของกลามเนื้อ โดยการยกสิ่งของหนักๆ เชน การยกน้ําหนักในทาตางๆ

1.2.2 Isometric คือ การที่กลามเนื้อเกร็งตัว แตใยกลามเนื้อมีระยะความยาวคงที่ไมเปลี่ยนแปลงไมวาจะเกร็งแรงเทาใดแตแรงดึงในกลามเนื้อจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ประเด็นนี้ คอริแกนและเมทแลนด ระบุวาในการออกกําลังกายประเภทนี้ หลักการคือ ไมมีการเคลื่อนขอตอเมื่อมีการดึงตัวแรงตานเพียงพอที่จะทําไมใหมีการเพิ่มหรือมีการเพิ่มเพียงเล็กนอยในความยาวของเนื้อเยื่อกลามเนื้อคงที่นั้นไว ตามดวยผอนคลายและพักกลามเนื้อ โดยปกติการหดตัวของกลามเนื้อและคงไว 6 วินาที ผอนคลาย 6 วินาที

1.2.3 Isokinetic คือ การที่กลามเนื้อหดตัวชาๆดวยอัตราคงที่ และตองออกแรงเทาๆ กันตลอดระยะทางที่หดตัว การออกกําลังกายแบบน้ีตองอาศัยเครื่องมือพิเศษ เรียกวา Cyber จึงจะทําได โดยสามารถเพิ่มทําการซ้ําที่มีความเร็วหรือชาได การออกกําลังกายแบบนี้มีความกาวหนาในการฟนฟูสภาพ การออกกําลังกายโดยมีแรงตานนี้ทําโดยใชแรงตานที่เปนเครื่องมือซึ่งการเคลื่อนไหวที่มีความเร็วคงที่ไมวาจะเพิ่มแรงเทาใดก็ตาม ในปจจุบันมีการพัฒนามากและมีการโฆษณามีการใชในสถานที่หรือสโมสรการออกกําลังกายหลายๆ ประเภท

วิธีการออกกําลังกลามเนื้อแบบ Isotonic และ Isokinetic เทานั้นที่จะทําใหเกิดการออกกําลังกายแบบแอโรบิก เพราะการหดตัวแบบนี้จะมีการหดตัวและการคลายตัวของกลามเนื้อสลับกันในชวงที่กลามเนื้อคลายตัวนี้เอง เสนเลือดจะไมถูกกลามเนื้อบีบ เลือดสามารถไหลเขาไปในกลามเนื้อมัดนั้นได และนําสารอาหารพวก กลูโคส กรดไขมัน โปรตีน และที่สําคัญคือออกซิเจนเขาไปเพื่อทําการสรางสารพลังงาน ATP ใหมสวนการออกกําลังกลามเนื้อแบบ Isometric กลามเนื้อจะเกร็งตลอดเวลาจึงไปรัดเสนเลือดที่มาเลี้ยงกลามเนื้อมัดนั้น จนไมสามารถนําสารอาหารและออกซิเจนเขาไปกลามเนื้อมัดนั้นได จึงไมเปนการออกกําลังแบบแอโรบิก อีกประการหนึ่งการเกร็งตัวของกลามเนื้อแบบหลังนี้จะมีกรดแลคติกเกิดขึ้น ทําใหกลามเนื้อนั้นเกิดการลาและปวด ไมสามารถออกกําลังกายตอไปได ทําใหการออกกําลังแบบหลังนี้ทําไดเพียงระยะเวลาสั้นๆ ไมนานพอที่จะเขาถึงระยะแอโรบิก ไดจากเหตุผลดังกลาว ถาจะออกกําลังกายแบบแอโรบิกจะตองเปน การออกกําลังกายที่มีการเคลื่อนไหวของอวัยวะที่กลามเนื้อมัดนั้นเกาะอยูมากๆ และเปน การออกกําลังกายที่เปนจังหวะเกร็งสลับกับคลาย ซึ่งจะตองกระทําตอเนื่องกันไปเกินกวา 3 นาที

2. ชนิดของการออกกําลังกายเพื่อวัตถุประสงคเฉพาะ กิจกรรมกา รออกกํา ลั งกาย นอกจาก จะ แบ งตามห ลักก ารทั้ งสองแล ว ยั งมี

การออกกําลังกายที่แบงตามวัตถุประสงคตางๆ ไดอีกดวย เชน

Page 34: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

23

2.1 การออกกําลังกายเพื่อการสรางเสริมสมรรถภาพทางรางกาย วัตถุประสงคนี้ สามารถแบงเปนกลุมยอยๆ ตามสมรรถภาพทางรางกายเฉพาะดานอีกคือ

2.1.1 เพื่อฝกฝนความอดทน 2.1.2 เพื่อฝกฝนความแข็งแรงของกลามเนื้อ 2.1.3 เพื่อฝกฝนความวองไว 2.1.4 เพื่อฝกฝนกําลัง 2.1.5 เพื่อฝกฝนความออนตัว

2.2 การออกกําลังกายเพื่อการสันทนาการ 2.3 การออกกําลังกายเพื่อการรักษาและฟนฟูสภาพ 2.4 การออกกําลังกายเพื่อความสวยงามของรางกาย

ขอปฏิบัติของการออกกําลังกายธัญชนก ขุนทอง (2548:30) กลาวถึงขอปฏิบัติของการออกกําลังกายที่สําคัญ

มีดังตอไปนี้การประมาณตน สภาพรางกายและความเหมาะสมกับการออกกําลังกาย หรือเลน

กีฬาชนิดตางๆ ของแตละคนไมเหมือนกัน แมในคนเดียวกันในชวงเวลาหนึ่งกับอีกชวงเวลาหนึ่ง ก็แตกตางกัน การเพิ่มสมรรถภาพจากการออกกําลังกายมีกฎอยูวา จะตองเปนไปตามความเหมาะสมกับสภาพรางกายของแตละบุคคลมีขอสังเกตที่สําคัญวาการออกกําลังกายครั้งนั้นหนักเกินไปหรือไม โดยสังเกตจากความเหนื่อย หากออกกําลังกายถึงขั้นเหนื่อยแลวยังสามารถฝกตอไปไดดวยความหนักของงานเทาเดิม โดยไมมีปญหาใดๆ และเมื่อไดพักประมาณ 10 นาที ก็รูสึกวาหายเหนื่อย แมจะมีความออนเพลียอยูบาง แตในวันรุงขึ้นก็หายแลวกลับสดชื่น แสดงวาการออกกําลังกาย ครั้งนั้นไมหนักเกินไป แตถารูสึกเหนื่อยแลว พอฝนเลนตอไปอีก กลับทําใหเหนื่อยมากขึ้นจนหอบและรูสึกวาหายใจไมทัน แมไดพักนานเปนชั่วโมงแลวก็ยังไมหายเหนื่อย ในวันรุงขึ้นมีอาการออนเพลียและปวดตามรางกาย แสดงวาการออกกําลังกายครั้ งนั้นหนักเกินไป และถาคิด จะออกกําลังกายใหมจะตองรอใหรางกายกลับสูสภาพเดิมกอน แลวจึงเริ่มใหมดวยความหนัก ที่นอยกวาเดิม

การแตงกาย การออกกําลังกายหรือเลนกีฬาแตละชนิด ตางก็มีแบบของ เครื่องแตงกายที่แตกตางกัน เครื่องแตงกายที่ เหมาะสม รัดกุมยอมทําใหการเคลื่อนไหว มีประสิทธิภาพดีกวา และยังเปนการปองกันอันตรายอันอาจจะเกิดขึ้น ดานความอดทน จะตองคํานึงถึงการระบายความรอนออกจากรางกายเปนสําคัญ การใชชุดวอรมเกินความจําเปน

Page 35: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

24

จะมีผลตอการระบายความรอน ทําใหรางกายมีอุณหภูมิสูงกวาปกติมีผลทําใหสมรรถภาพลดลง ดั ง นั้ น ห า ก ต อ ง ก า ร ใ ช ค ว า ม อ ด ท น แ ล ว เ ค รื่ อ ง แ ต ง ก า ย ที่ ร ะ บ า ย ค ว า ม ร อ น ไ ด ย า ก จะเปนอุปสรรคอยางยิ่ง

เลือกเวลาดินฟาอากาศ หมายถึง การกําหนดเวลาการออกกําลังกายที่แนนอนและควรจะเปนเวลาเดียวกันทุกวัน เพราะมีผลตอการปรับตัวของรางกาย ถาอากาศเย็นตองใชเวลาอบอุนรางกายมาก การเลือกสภาพอากาศทําไดยาก แตการเลือกเวลาทําไดงาย และเวลาที่เหมาะสมคือ ตอนเชาตรู และตอนเย็น

สภาพของกระเพาะอาหาร ควรงดอาหารหนักกอนการออกกําลังกายประมาณ 3 ชั่วโมง และถาหากทองวางอยูนานจะทําใหพลังงานสํารองหมดไป ดังนั้นกอนหรือระหวาง ออกกําลังกายอาจใหอาหารที่ยอยไดงายแตไมถึงกับทําใหอิ่มหรือแนนทองในขณะที่อิ่มจัดกระเพาะอาหารจะทําใหการขยายตัวของปอดไดเต็มที่ขณะเดียวกัน การไหลเวียนของเลือดจะตองแบงเลือดสวนหนึ่งไปใชในการยอยอาหารทําใหเลือดที่จะไปเลี้ยงกลามเนื้อมีปริมาณนอยลง จึงมีผลเสีย ตอการใชกลามเนื ้อและหากเปนกีฬาที ่ต องมีการปะทะ กระเพาะอาหารที่เต็มจะแตกไดงาย ดังนั้นจึงไมควรออกกําลังกายในขณะอิ่มจัด

การดื่มน้ํา จากการทดลองเกี่ยวกับสมรรถภาพทางรางกายที่มีการขาดน้ําและ ไมขาดน้ํา พบวา การขาดน้ําทําใหสมรรถภาพทางรางกายลดลง การใหน้ําชดเชยสวนที่ขาดทําใหสมรรถภาพทางรางกายไมลดลง ปกติน้ําสํารองในรางกายมีประมาณรอยละ 2 ของน้ําหนักตัว ดังนั้นการออกกําลังกายใดๆ ที่มีการเสียน้ําไมเกินรอยละ 2 ของน้ําหนักตัว และกอนการออกกําลังกายรางกายอยูในสภาพไมขาดน้ํา หรือในระหวางการออกกําลังกายไมเกิดการกระหายน้ําก็ไมจําเปนตองดื่มน้ําในระหวางนั้น ความกระหายน้ําแสดงวารางกายขาดน้ําอยูเทาไรก็ใชความกระหายเปนเกณฑแตจะตองเฉลี่ยปริมาณการดื่มไมควรดื่มครั้งเดียวจนอิ่ม ในการทดลองของสถาบันกีฬาเวชศาสตรแหงเบอรลิน พบวา การใหน้ําชดเชย ในปริมาณที่เทากับการสูญเสียจะทําใหสมรรถภาพทางกายดีที่สุด แตจะตองแบงการใหออกเปนรอยละ 25 ใน 1 ชั่วโมง กอนการออกกําลังกายและ อีกรอยละ 75 เฉลี่ยไปตามระยะเวลาของการออกกําลังกาย

ความเจ็บปวย การเจ็บปวยทุกชนิดทําใหสมรรถภาพทางกายลดลง ถารางกายมีอุณหภูมิสูงกวาปกติจากการเปนไข หัวใจตองทํางานหนักขึ้นเพื่อระบายความรอน เมื่อไป ออกกําลังกายหัวใจที่เกิดจาก เชื้อโรค การไหลเวียนของเลือดเพิ่มมากขึ้นจากการออกกําลังกายอาจจะทําใหเชื้อโรคแพรกระจายไดรวดเร็วยิ่งขึ้น กอใหเกิดการอักเสบทั้งรางกายหรือในอวัยวะ ที่สําคัญซึ่งเปนอันตรายตอชีวิตได

Page 36: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

25

ความเจ็บปวยระหวางการออกกําลังกาย เมื่อเกิดการบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุขึ้นในระหวางการออกกําลังกายควรหยุดพัก หากการบาดเจ็บเพียงเล็กนอยเมื่อไดพักชั่วครูก็หายเปนปกติอาจจะลดลงไปเลนตอได แตถาการเลนตอนี้ทําใหอาการเดิมกลับมามากขึ้นก็ตองหยุด ขอนี้สําคัญมากสําหรับผูที่มีอายุเกิน 35 ป โดยเฉพาะการหายใจขัด จุกแนน เจ็บบริเวณหนาอกซึ่งอาจจะเปนอาการของการขาดเลือดหลอเลี้ยงหัวใจ หากฝนเลนตอไปอาจเกิดอาการหัวใจวายได ความรูสึก ไมสบายอึดอัดการเคลื่อนไหวบังคับไดไมปกติ เปนสัญญาณแสดงใหรูวามีความผิดปกติเกิดขึ้น หากฝนเลนตอไปโอกาสที่จะเปนอันตรายมีมากและความรุนแรงจะมากขึ้นตามลําดับเชนกัน

ดานจิตใจ ตามหลักจิตวิทยาเชื่อวาการออกกําลังกายมีผลตอการคลายความเครียดระหวางการออกกําลังกายควรทําจิตใจใหปลอดโปรง พยายามขจัดปญหาเรื่องรบกวนใจสรางสมาธิใหแกตนเอง ในกรณีที่ไมสามารถขจัดปญหาที่รบกวนจิตใจออกไปไดก็ควรงดการออกกําลังกายเพราะมันจะเปนสาเหตุของการเกิดอุบัติภัยไดงาย

ความสม่ําเสมอ ไมวาจะเปนการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพหรือเพื่อการแขงขันกีฬาก็ตามการรักษาความสม่ําเสมอจะชวยใหรางกายมีความพรอมที่ดีกวาในทุกๆ ดาน การฝกหนักติดตอกัน 1 เดือนแลวหยุดไปครึ่งเดือนจะมาเริ่มใหมดวยความหนักของงานเทากับครั้งสุดทายกอนการหยุดไมได แตจะตองเริ่มดวยความหนักของงานเทาๆ กับเมื่อตอนเริ่มครั้งแรก และโอกาสที่จะเพิ่มสมรรถภาพใหสูงกวาเดิมจึงเปนไปไดยาก ดังนั้นหากตองการเพิ่มสมรรถภาพทางกาย นอกจากจะขึ้นอยูกับปริมาณความหนักของงานแลวยังขึ้นอยูกับความสมํ่าเสมออีกดวย

การพักผอน ภายหลังการออกกําลังกาย จําเปนจะตองมีการพักผอนอยางเพียงพอ โดยมีหลักสังเกตดังนี้ กอนการออกกําลังกายครั้งตอไปรางกายจะตองมีความสดชื่น อยูในสภาพเดิมหรือดีกวาเดิม การออกกําลังกายวันตอมาจึงจะกระทําใหมากขึ้นตามลําดับได เนื่องจาก การออกกําลังกายแตละครั้งรางกายตองเสียพลังงานสํารอง จําเปนตองมีการชดเชย รวมทั้งการซอมแซมสวนที่สึกหรอเสริมสรางใหแข็งแรงยิ่งขึ้น กระบวนการเหลานี้จะเกิดขึ้นในขณะที่รางกาย มีการพักผอนอยางเพียงพอเทานั้นแมวาการพักผอนจะเปนสิ่งจําเปน แตถาการพักผอนที่มากเกินความตองการของรางกายก็จะใหโทษไดเชนกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งตอระบบการเคลื่อนไหว

ขั้นตอนของการออกกําลังกายขั้นตอนของการออกกําลังกาย (ศิริรัตน ปรมัตถากร , 2539 : 47) มีดังนี้คือ1. การยืดเหยียดกลามเนื้ออยูกับที่ (Static Stretching) เชน นั่งเหยียดขากมแตะเขา

คางไวจนกระทั่งรูสึกตึงบริเวณขอพับขาทั้งสอง ใชเวลา 5 นาที พยายามทําการยืดเหยียดกลามเนื้อทุกมัดทุกขอตอ โดยเริ่มจากกลามเน้ือมัดสําคัญๆ เชน ลําตัว แขน ขา และหลัง

Page 37: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

26

2. การอบอุนรางกาย (Warm - up)โดยเริ่มเคลื่อนที่ชาๆ และรวดเร็วขึ้นตามลําดับ เชน วิ่งเหยาะๆ อยูกับที่, กระโดดตบ, แลวเริ่มวิ่งเหยาะๆ ระยะทางสั้นๆ

3. การออกกําลังกาย (Exercise Activities) สําหรับการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพควรใชเวลาอยางนอย 20 นาที และไมควรเกิน 1 ชั่วโมง อาจจะใชการเลนกีฬาเปนสื่อ เชน แบตมินตัน เทนนิส ฟุตบอล ฯลฯ ซึ่งควรเปนการออกกําลังกายแบบแอโรบิก คือ ตองเปนการออกกําลังที่กระตุนใหการหายใจและการไหลเวียนเลือดทํางานมาถึงกวา 50 เปอรเซ็นตของสมรรถภาพสูงสุด และไมควรเกิน 90 เปอรเซ็นตของสมรรถภาพสูงสุด ควรจัดใหอยูระหวาง 60 เปอรเซ็นตถึง 80 เปอรเซ็นตของสมรรถภาพสูงสุด โดยปกติจะทราบวาออกกําลังกายอยูในระดับใดตองอาศัยความรูสึกเหนื่อยเปนเครื่องตัดสิน แตจะมีโอกาสผิดพลาดไดมากโดยเฉพาะอยางยิ่งในระยะแรกเริ่มของการออกกําลังกายบางคนอาจรูสึกเหนื่อยมากทั้งๆ ที่ยังออกกําลังไมถึง 50 เปอรเซ็นตของสมรรถภาพสูงสุด แตบางคนอาจจะออกกําลังเกิน 80 เปอรเซ็นตไปแลวยังไมรูสึกเหนื่อยความผิดพลาดทั้งสองทางดังกลาว ทําใหผูออกกําลังกายไมไดประโยชนเทาที่ควร หรืออาจจะกอใหเกิดอันตราย การกําหนดความหนักของการออกกําลังกายที่แนนอนสามารถทําไดดวยการทดสอบสมรรถภาพสูงสุดของแตละคน แลวลดความหนักตามเปอรเซ็นตลงมา อาจกําหนดความหนักใหใกลเคียง โดยอาศัยอาจนับชีพจรขณะออกกําลังหรือทันทีที่หยุดออกกําลัง

4. การลดสภาวะรางกาย (Cool-down) คือ การทําใหรางกายคอยๆ ลดความเขมขนลงทีละนอยอยางคอยเปนคอยไปตามลําดับ ภายหลังการออกกําลังกาย ควรใชเวลาในการ ลดสภาวะ (cool-down) เทาๆ กับการอบอุนรางกาย (warm-up) คือ อยางนอย 10 นาที รวมทั้งการ ยืดเหยียดกลามเนื้อขอตออยูกับที่ดวย

การเคลื่อนไหวออกกําลังกายแตละวัยกรมอนามัย (2547) กลาววา การเคลื่อนไหวออกกําลังกายแตละวัย คือ

การที่สมรรถภาพหรือการทํางานของระบบตางๆ ของรางกายจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ระหวางวัยเด็กและสูงสุดประมาณอายุ 25-30 ป หลังจากนั้นสมรรถภาพจะเสื่อมถอยลงตามลําดับ ผูที่เคลื่อนไหวออกกําลังกาย อยางสม่ําเสมอจะมีสมรรถภาพหรือการทํางานของระบบตางๆ ของรางกายดีกวาผูที่เคลื่อนไหวออกกําลังกายนอยหรือไมเคลื่อนไหวเลยในวัยเดียวกัน ถึงรอยละ 25 ไมวาจะเปนเด็กหรือผูสูงอายุ ถึง 90 ป ก็สามารถไดรับประโยชนจากการเคลื่อนไหวออกกําลังกายดวยกันทั้งสิ้น ดังนั้นอายุจึงไมเปนอุปสรรแตอยางใด สําหรับการเคลื่อนไหวออกกําลังกาย

Page 38: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

27

ขอแนะนําการเคลื่อนไหวออกกําลังกายแตละวัยกรมอนามัย (2547) กลาวถึงขอแนะนําการเคลื่อนไหวออกกําลังกายแตละวัย มีดังนี้

1. ทุกคนควรเคลื่อนไหวออกกําลังกายเพิ่มขึ้นอยางสม่ําเสมอใหเหมาะสมกับความสามารถความตองการและความสนใจของแตละคน การเคลื่อนไหวออกกําลังกาย เพื่อใหไดประโยชนตอสุขภาพไมจําเปนตองหนักหนวงรุนแรง

2. ทุกคนควรเคลื่อนไหวออกกําลังกายประเภทความทนทาน (Aerobic) อยางนอยดวยความแรงระดับปานกลาง สะสมรวมกันทั้งวันอยางนอย 30 นาที ตอเนื่องหรือเปนชวงสั้นๆ 8-10 นาที โดยทําทุกวัน หรือเกือบทุกวันในแตละสัปดาห ไมวาจะเปนการเคลื่อนไหวออกกําลังกายในงานอาชีพ กิจกรรมเวลาวาง หรือภารกิจชีวิตประจําวัน

3. ประโยชนตอสุขภาพและสมรรถนะของระบบตางๆ ภายในรางกาย จะเพิ่มมากขึ้นไปอีก ถาใชเวลาในการเคลื่อนไหวออกกําลังกายมากขึ้น หรือเคลื่อนไหวดวยความแรงที่หนักขึ้น แตตองไมมากหรือหนักเกินเพื่อปองกันความเสี่ยงจากการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้น

4. ผูที่ไมคอยเคลื่อนไหวออกกําลังกาย ถาจะเริ่มตนควรเคลื่อนไหวเปนชวงสั้นๆ เบาๆ ชาๆ เพื่อใหรางกายปรับตัว และคอยๆ เพิ่มขึ้นจนถึงระดับที่ตองการ

5. ผูที่มีโรคเรื้อรังทางสุขภาพ เชน โรคหัวใจ เบาหวาน อวน หรืออื่นๆ หากตองการเคลื่อนไหวออกกําลังกายเพิ่มขึ้น ควรปรึกษาแพทยกอน เพื่อใหคําแนะนําที่เหมาะสมกับอาการ

6. ผูที่ไมคอยเคลื่อนไหวออกกําลังกาย ถาเปนผูชายอายุ 40 ป หรือผูหญิงอายุ 50 ปขึ้นไป และผูที่มีปจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือด ควรปรึกษาแพทยกอน หากตองการเคลื่อนไหวออกกําลังกายดวยความแรงที่หนักหนวง ซึ่งไมเคยทํามากอน

7. การเคลื่อนไหวออกกําลังกายเพื่อเสริมสรางความแข็งแรงของกลามเนื้อ ควรทําสัปดาหละ 2 ครั้ง อยางนอย 8-10 ทา เพื่อพัฒนากลามเนื้อมัดใหญๆ ของขา ลําตัว แขน และไหล ทําเพียง 1 เซ็ด ของแตละทาๆ ละ 8-12 ครั้ง

8. เพิ่มเติมดวยการยืดเหยียดกลามเนื้อมัดใหญๆ ตามความตองการ อยางนอย 2-3 วันตอสัปดาห แตละวัยจะเคลื่อนไหวออกกําลังกายแบบใด ขึ้นอยูกับสภาวะสุขภาพ ความสามารถความตองการ และความสนใจของบุคคลนั้น ซึ่งทําไดทั้งการเคลื่อนไหวออกกําลังกายที่เปนแบบ เปนแผน และการเคลื่อนไหวในวิถีชีวิต แตละวัยอาจมีรายละเอียดปลีกยอยแตกตางกันไป แตหลักการใหญเหมือนกัน

วัยเด็กและเยาวชนโดยทั่วไปเด็กมีแนวโนมที่จะเคลื่อนไหวรางกายมากกวาผูใหญอยูแลว ทั้งนี้เพื่อความ

สมบูรณแข็งแรงของรางกาย ดังนั้นตองสนับสนุนใหเด็กไดมีการเคลื่อนไหวออกกําลังกายตาม

Page 39: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

28

สภาพความตองการของเด็ก แตเนื่องจากเด็กไมวาจะตัวใหญหรือแข็งแรงเพียงใดระบบโครงสราง สรีรวิทยา และสภาพจิตใจ เจริญเติบโตไมเต็มที่ ดังนั้นการจัดโปรแกรมการเคลื่อนไหวออกกําลังกายตองคํานึงถึงสภาพความเปนจริงนี้ดวยความปลอดภัย (Safety) ในการเคลื่อนไหวออกกําลังกายของเด็ก จึงเปนสิ่งที่ตองใสใจอยางยิ่ง การใชงานมากเกินไป (Overuse Syndrome) หรือการบาดเจ็บจากการเลนกีฬาอาจมีผลกระทบตอการเจริญเติบโตได เชน การวิ่งระยะไกลเกินกวา 10 กิโลเมตร การชกมวย เปนตน ตองขอเนนวาการเคลื่อนไหวออกกําลังกายของเด็ก คือ การเลน (Play) มากกวาการฝกออกกําลังกายที่เปนแบบเปนแผน (Exercise) ใหโอกาสเด็กไดทํากิจกรรมเคลื่อนไหวที่เด็กรูสึกสนุกและชอบ สอดคลองกับระดับทักษะเด็กจะมีการเรียนรูและปรับกิจกรรมใหสอดคลองกับความสามารถของแตละคนอัตราการเตนของหัวใจสูงสุดของเด็กประมาณ 200 ครั้งตอนาที และไมจํ าเปนตองลดต่ํ าลง ดั งนั้นจึ งไมมีขอแนะนํา เกี่ยวกับอัตราการเตนของหัวใจสําหรับเด็ก การเคลื่อนไหวออกกําลังกายของเด็กที่มีปญหาสุขภาพตั้งแตกําเนิดหรือในภายหลัง ควรไดรับคําแนะนํา และดูแลจากแพทยเปนเฉพาะกรณีกิจกรรมการเคลื่อนไหวออกกําลังกายสําหรับเด็กและเยาวชน ตองสนุก และสามารถเขารวมไดมีกิจกรรมที่หลากหลายเหมาะสมกับอายุ และความสามารถ ที่แตกตางกัน ทั้งที่แขงขัน และไมแขงขัน พอแม และผูใกลชิดตองเปนแบบอยาง (Role Models) ที่ดีในการเคลื่อนไหวออกกําลังกาย หลักสูตรพลศึกษาและสุขศึกษาในโรงเรียนควรเปนการพัฒนาความรู ทัศนคติ และทักษะในการเคลื่อนไหวออกกําลังกาย รวมทั้งพฤติกรรมที่เอื้อตอสุขภาพใหเด็กและเยาวชนและเนนหนักมากขึ้นในกิจกรรมทีเด็กและเยาวชนสามารถทําตอไปไดตลอดชีวิต เชน การเดินการเตนรํา ฯลฯ พอ แม ผูใกลชิด และโรงเรียนตองใหโอกาสและจัดสิ่งแวดลอมที่จะนําไปสูการเคลื่อนไหวออกกําลังกายมากขึ้น และที่สําคัญอยาใชการเคลื่อนไหวออกกําลังกายเปนเครื่องมือในการทําโทษเด็ก

วัยทํางานการเคลื่อนไหวออกกําลังกายของคนในวัยทํางาน (อายุ 15-59 ป) นั้น ตองพิจารณาถึงเวลา

ที่มีลักษณะงานอาชีพเขามาเกี่ยวของดวย นอกเหนือจากสภาวะสุขภาพความตองการและความสนใจในที่นี้จะแบงวัยทํางานออกเปน 2 กลุมใหญๆ ตามลักษณะของการออกแรง เพื่อทํางาน กลุมแรก คือ กลุมที่ทํางานสบาย ออกแรงเพียงเล็กนอย ยืนหรือนั่งทํางาน ไมมีการเคลื่อนไหวทางรางกายมาก เชน คนที่ทํางานในสํานักงาน คนงานที่ยืนหรือนั่งทํางานในโรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ กลุมที่สอง คือ กลุมที่ออกแรงกายทํางาน มีการเคลื่อนไหวทางรางกายมาก เพื่อออกแรงทํางาน ในอาชีพ เชน กรรมกรแบกหาม ชาวนา ชาวไร ฯลฯ กลุมที่ทํางานสบาย ควรตองเคลื่อนไหวออกกําลังกายประเภทฝกความทนทานของระบบหายใจ และไหลเวียนโลหิตหรือแบบแอโรบิก ใหมีการใชพลังงาน 150 แคลอรี่ตอวันหรือ 1,000 แคลอรี่ตอสัปดาห โดยปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใหมีการเคลื่อนไหว

Page 40: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

29

ออกกําลังกายมากขึ้นเชน การเดินแทนการใชรถ ขึ้นบันไดแทนการใชลิฟท ตัดหญา ทําสวน ทํางานบาน ฯลฯ ใหมีความแรงระดับปานกลางเทากับการเดินเร็วๆ 2.4-3.2 กิโลเมตร ในครึ่งชั่วโมง หรือออกกําลังกายที่เปนแบบเปนแผนแนนอน เชน เดินเร็ว วิ่งเหยาะ ขี่จักรยาน วายน้ํา กายบริหารตอเนื่อง กระโดดเชือกหรือเลนกีฬา ฯลฯ และเพิ่มเติมดวยการยืดเหยียดกลามเนื้อบอยๆ รวมทั้งการฝกความแข็งแรงของกลามเนื้อตามความจําเปนและตองการ ยิ่งเคลื่อนไหวออกกําลังกายมากก็ยิ่ งเปนประโยชนตอสุขภาพกลุมที่ออกแรงกายนั้น การออกแรงทํางานที่เปนประโยชน ตอสุขภาพ ตองเปนการทํางานที่หนัก เชน ยก แบก หรือหิ้วของหนัก 9 กิโลกรัม (20 ปอนด) หรือมากกวา เปนเวลาอยางนอย 1 ชั่วโมง หรือออกแรงเคลื่อนยายสิ่งของ (ไมจํากัดขนาด) จากที่หนึ่งไปยังอีกทีหนึ่งโดยไมใชเครื่องทุนแรงในทัศนะของผูเรียบเรียงเห็นวาการออกแรงทํางานเพื่อประกอบอาชีพที่มีลักษณะเปนประจําในแตละวัน ซึ่งมากกวา 1 ชั่วโมงนั้น นาจะมีการใชพลังงานไมนอยกวา 150 แคลอรี่ในแตละวัน นาจะมีประโยชนตอสุขภาพโดยยังไมรวมกิจกรรมการเคลื่อนไหว ทางรางกายอยางอื่นๆ ลักษณะการทํางานมีทั้งแบบเคลื่อนไหว แขน ขา อยางตอเนื่องและออกแรงดึงดัน ยกคลายกับการฝกความแข็งแรงของกลามเนื้อมีลักษณะทาทางที่ทําซ้ําๆ หรืออยูในทวงทานั้นนานเกินไปและซ้ําๆ เกือบทุกวัน หรือผิดทาทาง จนเกิดการบาดเจ็บสะสมของระบบกลามเนื้อ และโครงรางมีปญหาดานออนตัว การเคลื่อนไหวออกกําลังกายแบบยืดเหยียดกลามเนื้อจึงมีความสําคัญและจําเปน และหากมีเวลาสามารถเคลื่อนไหวออกกําลังกายที่เปนแบบเปนแผนจะชวยผอนคลายและยังประโยชนใหแกสุขภาพเพิ่มขึ้นไปอีก

วัยสูงอายุปญหาของผูสูงอายุ คือ ภาวะทุพลภาพ และการพึ่งพิง ซึ่งภาวะเหลานี้สวนหนึ่งสามารถ

ดําเนินการปองกันและแกไขได โดยการเคล่ือนไหวออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอซึ่งไมเพียงแตมีชีวิตที่ยืนยาว หากยังทําใหมีชีวิตที่ดีกวาและมีคุณภาพชีวิตดวย อยางไรก็ตามในการเคลื่อนไหวออกกําลังกายของวัยสูงอายุ มีประเด็นที่พึงสังวร ดังนี้

1. กระดูกมีแนวโนมที่แตกหักงาย โดยเฉพาะในผูหญิง2. เนื้อเยื่อเก่ียวพัน ยึดตึง แนนมากขึ้น และเสนเอ็นมีความยืดตัวลดลง ชวงของ

การเคลื่อนไหวคอนขางจํากัด3. มวลกลามเนื้อลดลง ปฏิกิริยาการตอบสนองตอสิ่งตางๆ ชาลง4. มีโรคประจําตัว หรือภาวะของการเปนโรคซอนเรนอยูเคลื่อนไหวออกกําลังกาย

ประเภทฝกความ5. ทนทาน หรือแอโรบิก ดวยความแรงระดับ เบาถึงปานกลางในวิถีชีวิต หรือเปน

แบบเปนแผนพอเพียงตอสุขภาพที่ เหมาะสมแลว และยังสามารถลดความดันโลหิตดวย

Page 41: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

30

และในระยะยาวชวยชะลอความเสื่อมของรางกายในดานตางๆ กิจกรรมฝกความทนทาน เชน การเดิน ปนจักรยาน ออกกําลังกานในน้ํา วายน้ํา รํามวยจีน หรือกิจกรรมในวิถีชีวิตอื่นๆ ฯลฯ ถารางกายมีการปรับตัวและฝกฝนไดดี ก็สามารถวิ่งได หรือเคลื่อนไหวออกกําลังกายดวยความแรงที่หนักขึ้นการเริ่มตนควรเริ่มเบาๆ แลวคอยๆ เพิ่มเวลาจนรางกายปรับตัวไดจึงคอยๆ เพิ่มความแรงเพื่อปองกันและหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นไดการฝกความแข็งแรงของกลามเนื้อ จะทําใหผูสูงอายุทํากิจกรรมในชีวิตประจําวันไดคลองขึ้น เปนอิสระไมตองพึ่งพาผูอื่น ผูสูงอายุที่มีปญหาขอเสื่อม และความออนตัวไมดีการฝกความแข็งแรงจะชวยพัฒนาขอตอและความออนตัวใหดีขึ้นได ทําใหสามารถเคลื่อนไหวออกกําลังกายประเภทแอโรบิกไดดีขึ้น สําหรับการฝกความออนตัวของผูสูงอายุควรใชการยืดเหยียดแบบหยุดคางไวและกอนการยืดเหยียด ควรมีการอบอุนรางกายหรือเคลื่อนไหวออกกําลังกายประเภทแอโรบิกเบาๆ กอน เพื่อเพิ่มการไหลเวียนและอุณหภูมิของรางกาย จะทําใหการยืดเหยียดมีประสิทธิภาพมากขึ้น และอยายืดเหยียดเกินกวาชวงของการเคลื่อนไหวที่เริ่มรูสึกเจ็บ

สรุป การเคลื่อนไหวออกกําลังกาย สําหรับแตละวัยขึ้นอยูกับสมรรถภาพเริ่มตน ภาวะสุขภาพอายุความตองการและความสนใจ หลักการหรือขอแนะนําการเคลื่อนไหวออกกําลังกาย ในองคประกอบตางๆ สามารถปรับประยุกตใชไดในแตละวัย และตองไมลืมวาภารกิจดานสาธารณสุข คือ พยายามทําใหประชาชนออกมาเคลื่อนไหวออกกําลังกายมากขึ้นและนานขึ้นมากกวาการพยายามยกระดับใหทุกคนมีความสมบูรณแข็งแรง หรือเคลื่อนไหวที่ระดับนั้นระดับนี้

ประโยชนของการออกกําลังกายประโยชนของการออกําลังกาย (ดํารง กิจกุศล , 2540 : 34) มีดังนี้1. กลามเนื้อแข็งแรงขึ้น การออกกําลังกายชวยใหกลามเนื้อแข็งแรงขึ้น ทําใหมี

พลังดีขึ้น จะทําใหการทํางานสิ่งใดก็ทําไดอยางสะดวกสบาย แมยามที่ตองเผชิญกับเหตุการณรุนแรงเฉพาะหนาก็จะแกปญหาไดงายกวาและดีกวา

2. การทรงตัวดีขึ้น การออกกําลังกายอยูเสมอ จะชวยใหมีการทรงตัวดีขึ้นมีความกระฉับกระเฉง เพราะรางกายไดมีการซอมเคลื่อนไหวอยู เสมอ การทํางานของอวัยวะตางๆ มีความสัมพันธและประสานงานกันไดดี

3. รูปรางดีขึ้น การออกกําลังกายจะชวยใหมีรูปรางดีขึ้น ที่เคยผอมก็จะอวนขึ้นและที่เคยอวนเกินไปก็จะผอมลง เปนที่ยอมรับกันในปจจุบันนี้วา การออกกําลังกายเปนการลดความอวนและควบคุมน้ําหนักตัวไดผลดีที่สุด การมีรูปรางที่ดีนั้น นอกจากจะมีความคลองตัวมาก

Page 42: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

31

ขึ้นแลวยังทําใหจิตใจสบาย หนาตายิ้มแยมแจมใส และเกิดความเชื่อมั่นในตัวเองมากขึ้นสามารถเขาสังคมไดดีขึ้น และมีผลตอความเจริญกาวหนาในงานอาชีพไดดวย

4. ชะลอความเสื่อมของอวัยวะ การออกกําลังกายที่พอเหมาะพอดี จะสามารถชะลอความเสื่อมของอวัยวะตางๆ ในผูสูงอายุไดอยางดีที่สุด ดังจะเห็นวาผูที่ออกกําลังกายอยูเสมอจะแกชาและมีอายุยืนยาวกวา โดยเฉพาะกระดูกตางๆ จะแข็งแรงกวาผูที่ไมออกกําลังมากทีเดียวยิ่งในหญิงวัยหมดประจําเดือน ซึ่งกระดูกจะจางลงมาเพราะขาดฮอรโมนนั้น การออกกําลังกายจะชวยชะลอการจางของกระดูกไดมาก

5. ชวยดานจิตใจ การออกกําลังกายชวยใหผูที่มีอาการผิดปกติทางจิต เชน พวกที่มีอาการซึมเศรากลับมีอาการดีขึ้นได เพราะการออกกําลังกายที่หนักพอสมควร จะทําใหมีการหลั่งของสารเอ็นดอรฟน ซึ่งสารนี้นอกจากจะลดความเจ็บปวดไดแลว ยังเปนสารที่ตอตานความซึมเศราได ปจจุบันมีแพทยที่ทําการรักษาผูปวยทางจิตดวยการออกกําลังกายมากขึ้นเรื่อยๆ กลาวกันวาหากวิ่งติดตอกันเปนเวลาประมาณ 18-20 นาที อาการทางจิตจะดีขึ้นพอๆ กับการกินยากลอมประสาท 1 โดส ผูที่เคยตองใชยานี้อยูจึงอาจลดยาลง หรือถึงกับหยุดยาได หากไดออกกําลังกายดวยการวิ่งทางยุโรปก็มีรายงานวา การออกกําลังกายดวยการวิ่งเพียงวันละ 15-20 นาที สัปดาหละ 3 วัน จะสามารถลดอาการซึมเศราลงไดอยางชัดเจน แพทยหญิงเฮเลน โรซิสจิตแพทยของมหาวิทยาลัยนิวยอรกกลาววาเธอจะสั่งการออกกําลังกายเพื่อคลายเครียดใหกับผูปวยของเธอเสมอ โดยถือวาการออกกําลังนั้นเปนยากลอมประสาทแบบธรรมชาติที่ดีที่สุด

6. ระบบขับถายดีขึ้น การออกกําลังกายอยูเสมอ จะชวยใหระบบขับถายดีขึ้นทุกระบบไมวาจะเปนถายหนัก ถายเบา หรือแมแตระบบขับเหงื่อ มีผลใหรางกายและจิตใจปลอดโปรงไมมีปญหาเรื่องทองอืดทองเฟอและไมตองพึ่งยาระบายดวย

7. นอนหลับไดดีขึ้น การออกกําลังกายจะชวยผูที่นอนไมหลับ หรือนอนหลับยากใหนอนหลับไดดีขึ้น โดยเฉพาะในผูที่นอนไมหลับจากความเครียด หรือจากความวิตกกังวล จะไดผลดีมาก ไดมีการศึกษาจากมหาวิทยาลัยฟลอริดา โดยเปรียบเทียบการเกิดความวิตกกังวลหรือแอนไซตี้ในผูที่ออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอกับผูที่ไมออกกําลังกายเลยพบวา ในผูที่ออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ วันละอยางนอย 15 นาที จะเกิดอาการวิตกกังวล (Anxiety) เพียงรอยละ 10 เทียบกับ ผูที่ไมออกกําลังกายเลยซึ่งจะมีเกิดขึ้นถึงรอยละ 40 หรือมากกวา 4 เทา

8. พลังทางเพศดีขึ้น การออกกําลังกายที่พอเหมาะพอดีชวยใหมีพลังทางเพศดีขึ้นทั้งชายและหญิง เพราะการออกกําลังกายทําใหรูปรางสมสวน กลามเนื้อแข็งแรงมีความทนทานขอตางๆ เคลื่อนไหวไดคลองแคลว ปฏิบัติการทางเพศยอมจะดีขึ้นแน นอกจากนี้การออกกําลังที่พอดียังชวยใหมีฮอรโมนเพศหลั่งออกมามากขึ้นทั้งชายและหญิง ความคึกคักทางเพศจึงมากขึ้นดวย

Page 43: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

32

นายแพทยเคนเน็ธ คูเปอร ไดใหขอสังเกตจากผูคนจํานวนมากที่ออกกําลังกายแบบแอโรบิกวา มีสมรรถภาพทางเพศดีขึ้นเกือบทั้งสิ้นอยางไรก็ตาม ตองระวังที่จะไมออกกําลังกายหนักมากเกินไปจนหมดแรง คือ ชนิดนอนแผ หรือหัวถึงหมอนก็หลับเปนตาย อยางนี้คงไมทําใหคูสมรสถูกใจเปนแน นอกจากความเมื่อยลาแลว การออกกําลังกายที่หนักเกินไป ยังกลับทําใหระดับฮอรโมนเพศชายลดลงได เคยมีผลงานวิจัยของมหาวิทยาลัยอัลเบอรตาในสหรัฐอเมริกาโดยเจาะเลือดของนักวิ่งชายมาหาระดับของเทสโตสเตอโรน (ฮอรโมนเพศชาย) พบวา ผูที่วิ่งมากเกินไป คือ วิ่งเกินสัปดาหละ 40 ไมล หรือ 64 ก.ม. จะมีระดับฮอรโมนเพศชายลดลงกวาระดับปกติ ดังนั้นการออกกําลังกายเพื่อหวังการเพิ่มพูนสมรรถภาพทางเพศ จึงตองทําแตพอดีเทานั้น มิฉะนั้นจะไดผลตรงขามกับหวังไว สําหรับในผูหญิงนั้น การออกกําลังกายที่พอดี นอกจากจะชวยใหมีฮอรโมนเพศอออกมามากขึ้นแลว ยังชวยใหมีเลือดไหลเวียนดีขึ้น อันมีผลใหผิวพรรณดูเปลงปลั่ง เมื่อประกอบกับกลามเนื้อที่แข็งแรงดวย ก็จะทําใหดูดีขึ้น เปนที่ชื่นชอบของคนทั่วไปมากกวาผูที่ไมออกกําลังกายเลย แตการออกกําลังกายในผูหญิงนั้น ตองระวังเรื่องแดดเรื่องลมไวเหมือนกัน โดยเฉพาะประเทศที่มีแดดจัดอยางไทยเรานี้ การถูกแดดและลมมากเกินไปจะทําใหผิวเสียไดมาก ดังนั้นตองเลือกเวลาและสถานที่ใหเหมาะสมดวย ยิ่งคนที่วายน้ําในสระที่มีคลอรีนยิ่งตองระวังใหมาก ผิวหนังที่เปยกน้ําคลอรีนแลวมานอนผึ่งแดดนั้นจะเสียมากทีเดียว

9. ชวยใหหัวใจ ปอด และหลอดเลือดทํางานดีขึ้น การออกกําลังกายบางรูปแบบ เชน ออกกําลังกายแบบแอโรบิกจะชวยใหการทํางานของหัวใจ ปอด และหลอดเลือดดีขึ้นอยางชัดเจนมาก

10. ชวยใหอาการของโรคหลายโรคดีขึ้น การออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอและถูกตองตามหลักการ สามารถชวยใหอาการของโรคหลายอยางดีขึ้น เชน ผูที่เปนเบาหวาน จะมีระดับน้ําตาลต่ําลง ที่เคยตองใชยามากก็จะใชยานอยลง หรือที่ใชยานอยอยูแลวก็อาจหยุดยาได ผูที่มีแรงดันเลือดก็เชนกัน การออกกําลังที่พอดีจะชวยใหแรงดันเลือดลดลงได ในทางตรงขามผูที่มีแรงดันเลือดต่ํา การออกกําลังกายจะชวยใหมีแรงดันเลือดสูงขึ้นได อีกอยางที่นาสนใจก็คือ การออกกําลังกายชวยใหไขมันในเลือดลดลงได นอกจากนี้อาการปวดหลัง ปวดคอ ที่เปนกันมากในสมัยนี้ ก็อาจดีขึ้นไดมากหากไดออกกําลังอยางถูกตอง

11. ชวยใหผูหญิงมีสุขภาพดี ถาทานเปนผูหญิงที่ตั้งครรภยาก การออกกําลังกายชวยทําใหตั้งครรภงายขึ้น และเมื่อถึงเวลาคลอดก็จะคลอดงายดวย ปญหาตาง ๆภายหลังคลอดก็นอย และรูปรางจะกลับคืนสูสภาพเดิมไดเร็วกวาดวย การออกกําลังในผูหญิงยังมีเรื่องที่นาสนใจอีกอยาง ศาสตราจารยโรส ฟริสซ จากมหาวิทยาลัยฮารวารด (อางถึงใน จุมพล สุรกิจ,2550: 18) ซึ่งไดทําการศึกษาการเกิดมะเร็งของอวัยวะสืบพันธในหญิง 5,398 คน โดยศึกษายอนหลังไปถึง 56 ป

Page 44: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

33

(พ.ศ. 2468-2524) พบวา ในหญิงที่มีการออกกําลังกายหรือเลนกีฬาตั้งแตสมัยเรียนหนังสือ (และ 75% ยังเลนตอมา) นั้น มีการเกิดมะเร็งของอวัยวะสืบพันธ เชน มดลูก รังไข นอยกวา ผูที่ไมออกกําลังหรือเลนกีฬาอยูสองเทาครึ่ง สําหรับมะเร็งของเตานมน้ันเกิดนอยกวา 2 เทา

12. ประหยัดคารักษาพยาบาล เนื่องจากการออกกําลังทําใหรางกายสมบูรณแข็งแรง ดังนั้นผูที่ออกกําลังกายอยูเสมอจึงลาปวยนอย มีผูทําสถิติในสหรัฐอเมริกาพบวาผูที่ออกกําลังกายเสมอนจะมีวันลาเพียง 1/3 ของผูที่ไมออกกําลังกาย และแนนอนวาจะประหยัดคารักษาพยาบาลไดอีกมากดวยโทษของการขาดการออกกําลังกาย

โทษของการขาดการออกกําลังกาย (สมบัติ กาญจนกิจ , 2541 : 58) ไดแก1. วัยเด็ก การขาดการออกกําลังกายในวัยเด็กจะทําใหเกิดโทษตอรางกาย ดังน้ี

1.1 การเจริญเติบโต เด็กที่ขาดการออกกําลังกายกระดูกจะเล็กเปราะบาง และขยายสวนดานยาวไมไดเทาที่ควร เปนผลใหเติบโตชาแคระแกร็น

1.2 รูปรางทรวดทรง การที่กระดูกเจริญนอย ประกอบกับการที่กลามเนื้อนอยเนื่องจากการขาดการออกกําลังกาย จึงทําใหเห็นวารูปรางผอมบางในเด็กบางคน จากการกินอาหารมากแตขาดการออกกําลังกายอาจมีไขมันใตผิวหนังมาก ทําใหเห็นวาอวนใหญ แตจากการที่มีกลามเนื้อนอยและไมแข็งแรง ทําใหการดึงตัวของกลามเนื้อเพื่อคงรูปรางในสภาพที่ถูกตองเสียไปทําใหมีการเสียทรวดทรงทั้งในเด็กที่ผอมและเด็กที่อวน เชน ขาโกง หรือเดินเขาชิดกันหลังโกง ศีรษะตก หรือเอียง เปนตน

1.3 สุขภาพทั่วไป เด็กที่ขาดการออกกําลังกายเปนประจําจะออนแอ มีความตานทานโรคต่ํา เจ็บปวยงาย เมื่อเจ็บปวยแลวมักหายชาและมีโอกาสเปนโรคแทรกซอนไดบอย ปญหาเกี่ยวกับสุขภาพนี้จะเปนปญหาติดตัวไปจนเม่ือเปนผูใหญดวย

1.4 สมรรถภาพทางกาย การออกกําลังกายชนิดใชแรงกลามเนื้อจะทําใหความแข็งแรงของกลามเนื้อเพิ่มขึ้น โดยการเพิ่มขนาดของกลามเนื้อ การออกกําลังการแบบอดทน (ไมหนักมากแตใชเวลาติดตอกันนาน) ทําใหความอดทนเพิ่มขึ้น โดยเพิ่มสมรรถภาพของระบบหายใจ และระบบไหลเวียนเลือด เด็กที่ขาดการออกกําลังกายจะมีสมรรถภาพทางกายดานตางๆ ต่ํากวาเด็กที่ออกกําลังประจํายิ่งไปกวานั้น การที่มีสมรรถภาพทางกายดานการประสานงานระหวางกลามเนื้อและระบบประสาทต่ําจะทําใหปฏิกิริยาในการหลีกเลี่ยงอันตรายต่ําดวย

1.5 การศึกษามีหลักฐานแนนอนจากการศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนระหวางเด็กที่มี

Page 45: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

34

สมรรถภาพทางกายต่ํากวาพบกวา เด็กที่มีสมรรถภาพทางกายดีมีผลการเรียนดีกวาเด็กที่มีสมรรถภาพทางกายต่ําสังคมและจิตใจทําใหเด็กรูจักปรับตัวเขากับสังคมที่เปนหมูคณะ เด็กจะมีความเชื่อมั่นในตนเอง มีจิตใจราเริงแจมใส เด็กที่ขาดการออกกําลังกายมักเก็บตัว มีเพื่อนนอย จิตใจไมสดชื่น ราเริง บางรายหันไปหาอบายมุขหรือยาเสพติด ซึ่งเปนปญหาใหญของสังคมปจจุบัน การที่ขาดการออกกําลังกายจะมีนิสัยไมชอบการออกกําลังกายติดตัวไป และจะไดรับผลรายของการขาดการออกกําลังกายยิ่งขึ้น เม่ือเปนผูใหญ

2. วัยหนุมสาวการขาดการออกกําลังกายในวัยหนุมสาวแบงไดเปน 2 พวก คือ พวกที่ 1 ขาดการออกกําลังตั้งแตวัยเด็ก จะมีผลเสียอยูแลว ขณะเดียวกันจะเริ่มเกิดการเสื่อมในดานรูปรางและหนาที่การทํางานของอวัยวะภายในหลายระบบ จนสามารถแสดงอาการคลายเปนโรคที่มีพยาธิสภาพได เชน อาการเหนื่อยหอบ ใจสั่น เมื่อใชรางกายเพียงเล็กนอย พวกที่ 2 เคยออกกําลังตั้งแตเด็กการเจริญเติบโตไมมีขัดของมากอน แตรูปรางทรวดทรงอาจเปลี่ยนแปลงไปไดมากจากการขาดการออกกําลังในวัยนี้ เนื่องจากการที่กลามเนื้อลดนอยลงและมีการสะสมไขมันมากขึ้น สมรรถภาพทางกายในดานตาง ๆจะลดต่ําลงอยางรวดเร็วพวกนี้เมื่อมาเริ่มออกกําลังใหม หลายรายจะไดรับอันตรายจากการออกกําลังเกิน เนื่องจากพยายามจะออกกําลังใหไดเทาที่เคยทําในสองพวกนี้ การมีสมรรถภาพทางกายต่ํา ประกอบกับสุขภาพไมสมบูรณเทาที่ควรผลเสียทางสังคม จิตใจ และบุคลิกภาพทําใหกระทบกระเทือนตอการศึกษาหรือการประกอบอาชีพดวย

3. วัยกลางคนและวัยชราการขาดการออกกําลังกายของวัยกลางคนและวัยชราอาจเปนสาเหตุนําของโรครายแรงหลายชนิด ซึ่งไดแก

3.1 โรคประสาทเสียดุลยภาพ3.2 โรคความดันโลหิตสูง3.3 โรคหลอดเลือดหัวใจเสื่อมสภาพ3.4 โรคอวน3.5 โรคเบาหวาน3.6 โรคขอตอกระดูก

การขาดการออกกําลังกายใหโทษแกคนทุกวัย อาการ และความรุนแรงจะแตกตางกันไปโดยขึ้นอยูกับความมากนอยของการออกกําลังกาย ระยะเวลาที่ขาดการออกกําลังกายสภาพรางกายเดิมของบุคคลนั้น และปจจัยเกี่ยวของอื่นๆ

Page 46: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

35

ขอจํากัดของการออกกําลังกายมูลเหตุหลายๆ อยางที่ทําใหการออกกําลังกายตองจํากัดลงไปทําไมไดเต็มที่หรือ

ทําแลวเกิดอันตราย มีดังนี้ (เสก อัษรานเคราะห , 2543 : 53)อายุในชวงใดชวงหนึ่งระหวางอายุ 25 ถึง 35 ป ความสามารถของรางกายจะเริ่ม

ลดลง ความทนทานจะลดลง ความวองไวจะลดลง สายตาไมวองไว กําลังกลามเนื้อจะลดลงความสามารถใน การถายทอดออกซิเจนลดลง เมื่อเปนเชนนั้นความสามารถในการเลนกีฬา จึงลดลงดวย ถาจะเรียงลําดับชนิดของการออกกําลังกายหรือการเลนกีฬาวาชนิดไหนคนอายุเทาไรจะเริ่มลดสมรรถภาพไมสามารถจะเลนไดดีเหมือนเดิมจะเรียงลําดับไดดังนี้ การแขงความเร็วเริ่มเสื่อมสมรรถภาพเมื่ออายุ 20 ปกวาเล็กนอย กีฬาประเภทตองใชกําลังมากๆ หรือใชทักษะมากๆ จะเริ่มเสื่อมสมรรถภาพเมื่ออายุ 35 – 40 ป

ความแข็งแรงของรางกาย การกีฬาหรือการออกกําลังกายทุกประเภทมักจะมีจุดออนในตัวของมันอยูแลว เชน วิ่งอาจเกิดการบาดเจ็บตอเทา ขอเทา และหัวเขาได และอาจกระทบกระเทือนถึงกระดูกสันหลังดวยได เปนตน ฉะนั้นความสมบูรณเพียงพอก็เทากับเพิ่มโอกาสใหสวนตางๆ เหลานั้นไดรับบาดเจ็บมากขึ้น และถาตองการจะใหเปนการปองกันอยางเต็มที่จําเปนตองทําความแข็งแรงเฉพาะที่ใหเปนพิเศษ เพื่อปองกันจุดออนนั้นๆ ถึงแมบุคคลนั้นจะมีรางกายแข็งแรงอยูแลงก็ตาม ดังนั้นบุคคลที่รางกายขาดความสมบูรณแข็งแรงจึงไมสามารถจะออกกําลังหรือเลนกีฬาไดเต็มที่ อาจจะไดรับบาดเจ็บไดงาย จึงเปนสาเหตุหนึ่งที่จํากัดการออกกําลังกายในการแกไขก็จะตองเริ่มฝกซอมแตแรกๆ เพื่อสรางสมความแข็งแรงเสียกอน จากนั้นจึงเพิ่มกําลังเฉพาะที่สําหรับกีฬาที่จะเลน เพื่อปองกันจุดออนดังกลาวแลวดวย จึงจะสามารถเลนกีฬานั้นไดดีปลอดภัย

การเสื่อมสภาพของกระดูกขอและเนื้อเยื่อพัน เมื่อขอกระดูกตางๆ รวมถึงเอ็นและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันมีการเสื่อมสภาพและมีการอักเสบเรื้อรังจะทําใหเกิดความเจ็บปวด บวม ขอติดขัด และออนแรงได ซึ่งจะเปนอุปสรรคตอการออกกําลังกายทั้งสิ้น การกีฬาหรือการออกกําลังกายจะทําใหรางกายโดยทั่วไปแข็งแรงขึ้นแตสําหรับขอกระดูก เอ็นและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันโดยรอบขอจะเสื่อมสภาพลงตามสวน คือ ยิ่งออกกําลังกายมากก็ยิ่งเสื่อมมาก ฉะนั้นคนที่มีการเสื่อมสภาพของสิ่งเหลานี้อยูแลวจึงไมสามารถออกกําลังหรือเลนกีฬาไดเต็มที่ เปนสาเหตุของการกําจัดการออกกําลังไดสาเหตุหนึ่ง

Page 47: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

36

โรคที่เกิดจากการขาดการออกกําลังกายโรคที่เกิดจากการขาดการออกกําลังกาย ไดแก โรคเบาหวาน โดยทั่วไปคนเปนโรคเบาหวานถาไดออกกําลังกายจะเปนผลดีตอ

โรค เพราะการออกกําลังกายจะทําใหเนื้อเยื่อตางๆ ไวตออินซูลินมากขึ้น นั่นก็คือ รางกายตองการอินซูลินนอยลง แตในรายที่รักษาโรคเบาหวานดวยการฉีดอินซูลิน เชน พวกเบาหวานในเด็ก การออกกําลังกายจะทําใหอินซูลินจากจุดที่ฉีดเร็วขึ้นและมากขึ้นกวาปกติ รวมกับรางกายตองการพลังงานเพิ่มขึ้น จึงสงเสริมใหเกิดสภาวะน้ําตาลในเลือดต่ําจนเปนลมได ในพวกที่รักษาดวยยารับประทานไมคอยมีปญหา ยกเวนถามีโรคทางหัวใจหรือความดันรวมอยูดวย จะตองใหความระมัดระวังเปนพิเศษเชนกัน หรือพวกที่มีปลายประสาทเสื่อมสภาพ ซึ่งมักจะพบรวมกับเบาหวานเสมอ โดยเฉพาะของประสามสมองเสนที่ 10 พวกนี้เวลาออกกําลังปฏิกิริยาตางๆ ที่อาศัยผานทางเสนประสาทสมองเสนนี้ จะทํางานชาหรือไมทํางานเลย ปรากฏวาหัวใจไมเตนเร็วขึ้น ดังเชน คนปกติ ดังนั้นอาจจะทําใหเกิดหัวใจวายไดในกลุมที่เปนเบาหวานอยางรุนแรงและควบคุมไมไดพวกนี้มักจะมีความดันโลหิตต่ําเมื่อเปลี่ยนอิริยาบถ เนื่องจากไมสามารถปรับความดันโลหิต ไดเมื่อเวลาออกกําลังกาย นอกจากนี้โดยทั่วๆ ไปคนเปนโรคเบาหวานเวลาออกกําลังจะตองระมัดระวังใหมาก เพราะถาไดรับบาดเจ็บบาดแผลจะหายชากวาปกติ

โรคตับ โรคตับทุกชนิด ไมวาจะเปนตับอักเสบ ตับแข็ง หรืออื่นๆ การออกกําลังกายจะทําไมไดเด็ดขาดเพราะเปนการกระตุนตับใหทํางานมากตับตองทําการสลายไกลโคเจนหรือสรางกลูโคสหรือตองเปลี่ยนพวกไขมันในรูปตางๆ ใหเปนกรดไขมัน เพื่อจะไดปอนสารเหลานั้นใหกับกลามเนื้อ เพื่อนําไปใชเปนพลังงานในการรออกกําลังตอไปได เมื่อตับมีโรคเสียแลวการเรงตับ ใหทํางานจึงกลับจะเปนผลรายตอตับได ไมควรกระทําเปนอยางยิ่ง

โรคไต คลายกับตับ กลาวคือ เมื่อไตมีโรค จะทําใหเกิดอาการบวมตามตัว เกลือแรตางๆ ในเลือดไมอยูในสมดุล การขับถายของเสียออกจากรางกายทําไมไดดี ดังนั้นเมื่อออกกําลังกายความออนเพลียจากโรคจะเปนอุปสรรค และการเผาผลาญใหเกิดพลังงานก็จะมีของเสียเกิด มากขึ้น ไตจะตองทํางานหนักขึ้น โรคไตจึงนับเปนอุปสรรคตอการออกกําลังกาย

โรคปอด ถามีโรคปอด การถายเทแลกเปลี่ยนออกซิเจนกับเลือดเปนไปไมไดดีเมื่อออกกําลังรางกายจะตองการรออกซิเจนมากขึ้น ซึ่งไมสามารถทําได โรคปอดจึงเปนโรคที่จํากัดการออกกําลังกายอีกโรคหนึ่ง

โรคหัวใจ โรคหัวใจทุกชนิดเปนอุปสรรคตอการออกกําลังกายทั้งสิ้น เพราะการออกกําลังกายจะทําใหหัวใจทํางานมากขึ้นอยางไรก็ตาม โรคหัวใจบางชนิด เชน เสนเลือดหัวใจตีบตัน

Page 48: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

37

การออกกําลังกายกลับเปนประโยชน แตการออกกําลังกายนั้นจะตองจํากัดอยางมาก และมีชุดการออกกําลังการโดยเฉพาะ

โรคความดันโลหิตสูง การออกกําลังกายทุกแบบจะทําใหความดันโลหิตสูงขึ้นทั้งสิ้นแตการออกกําลังแบบอยูกับที่จะทําใหความดันโลหิตสูงกวาการออกกําลังแบบเคลื่อนที่จึงนับไดวาคนที่มีความดันโลหิตสูงอยู แลวจะทําใหการออกกําลังกายทําไดไมเต็มที่

ขอแนะนําในการออกกําลังกายแบบแอโรบิกการออกกําลังกายแบบแอโรบิก หรือเพื่อความทนทานของระบบหัวใจและ

ไหลเวียนโลหิต หมายถึง การออกกําลังกายที่มีการเคลื่อนไหวของกลามเนื้อมัดใหญๆ เปนจังหวะ ซ้ําๆ กันอยางตอเนื่อง ความแรงของการเคลื่อนไหวออกกําลังกายอยูในระดับเบาถึงปานกลาง กลามเนื้อมีการใชออกซิ เจนอยางตอเนื่อง ทําใหภายในหลอดเลือดไมมีการสะสมของกรดแลกติค การเคลื่อนไหวออกกําลังกายดวยความแรงที่หนัก ทําใหออกซิเจนไมทันหรือไมพอตอการทํางานของกลามเนื้อ เกิดการเผาผลาญพลังงานดวยกระบวนการที่ไมใชออกซิเจน จึงเกิดการสะสมของกรดแลกติคทําใหเกิดอาการเมื่อยลา ออนเปลี้ยของกลามเนื้อและอาจมีบาทเจ็บของกลามเนื้อไดในวันตอมาโดยเฉพาะมือใหม ดังนั้นการเคลื่อนไหวออกกําลังกายเพื่อสุขภาพและสมรรถภาพดวย ไมจําเปนตองทําดวยความแรงที่หนักทําดวยความแรงปานกลางก็เพียงพอ หรือถาทําดวยความแรงระดับเบา ก็ไดประโยชนเพียงสุขภาพ แตสมรรถภาพหรือความฟตอาจต่ําไป (กรมอนามัย, 2543 : 20)

การเดิน เปนการออกกําลังกายแบบแอโรบิกที่นิยมกันกวางขวาง เนื่องจาก ไมจําเปนตองใชทักษะความชํานาญพิเศษใดๆ ทั้งปลอดภัยและไมบาดเจ็บงายๆ สามารถเดินไดทุกที่ ทุกเวลา และคาใชจายต่ํามากหรือไมมี คนจํานวนมากเลือกที่จะเดินมากกวาวิ่งเหยาะ เพราะมีแรงกระแทกตอขอสะโพก เขา และขอเทานอยกวาจึงลดการบาดเจ็บ นอกจากนี้ยังเปนวิธีการที่ยอดเยี่ยมมากในการลดน้ําหนักและไขมันในรางกาย

หากแบงการเดินตามความเร็ว จะแบงออกเปน 4 แบบ คือ1. เดินทอดนอง เปนการเดินแบบสบายๆ ที่เดินอยูทุกวัน อาจจะไมหนัก

เพียงพอตอการเสริมสรางสมรรถภาพของระบบหายใจ และไหลเวียนโลหิต แตถาเดินอยางสม่ําเสมอเกือบทุกวันและนานพอ ใหเกิดการเผาผลาญพลังงานประมาณ 150 แคลอรี่ตอวัน จะชวยลดความเสี่ยงตอการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือดได

2. เดินเร็ว เปนการเดินที่กระฉับกระเฉงขึ้นและกาวยาวกวาการเดินทอดนอง ใชความเร็วเพิ่มขึ้นเปนประมาณ 4.8-5.6 กิโลเมตรตอชั่วโมง (3-3.5 ไมลตอชั่วโมง) เปนการ ออกกําลังกายแบบแอโรบิก ชวยเสริมสรางสมรรถภาพของระบบหายใจและไหลเวียนโลหิต

Page 49: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

38

ผูสูงอายุจะไดประโยชนมากจากการเดินเร็ว รวมทั้งผูที่ตองการลดน้ําหนักหรือตองการออกกําลังกายแบบปานกลาง

3. เดินสาวเทา เปนการเดินเร็วขึ้นไปอีกเปน 5.6-8.8 กิโลเมตรตอชั่วโมง (3.5-5.5 ไมลตอชั ่วโมง) สาวเทากาวยาวไปขางหนาพรอมเหวี่ยงแขนอยางแรงไปขางหลังเพื ่อ เพิ ่ม ความหนัก ถือวา เปนการออกกําลังกายแบบรุนแรง อาจถือน้ําหนักพลังงาน ~ 1 กิโลกรัม (1-3 ปอนด) ไปดวยหรือสะพายหลังดวยน้ําหนักประมาณ 3-6 กิโลกรัม (6-12 ปอนด) เพื่อเพิ่มการเผาผลาญพลังงานและเพิ่มสมรรถภาพแกระบบหายใจและไหลเวียนโลหิต

4. เดินทน แตกตางจากการเดินที่กลาวมาทั้ง 3 แบบขางตน โดยทุกสวนของรางกายมีบทบาทในการเคลื่อนไหว ไมวาจะเปนกลามเนื้อบริเวณไหล, แขน, ลําตัวและขา ความเร็วประมาณ 8-14.4 กิโลเมตรตอชั่วโมง (5-9 ไมลตอชั่วโมง) การเดินทนหรือเดินแขงนั้น ไมเพียงแตเหนือกวาเดินเร็วหรือเดินสาวเทา หากยังเทากับการวิ่ง ที่ความเร็วประมาณ 8.8 กิโลเมตรตอชั่วโมง สามารถเผาผลาญพลังงานเทากับการวิ่งเหยาะที่ความเร็ว 8.8-9.6 กิโลเมตรตอชั่วโมง

แนวคิด และทฤษฎีที่นํามาใชในการวิจัยทฤษฎี PRECEDE FRAMEWORK

PRECEDE Framework เปนคํายอมาจาก Predisposing, Reinforcing and Enabling Causes in Educational Diagnosis and Evaluation เปนกระบวนการวิเคราะหเพื่อการวางแผนการดําเนินงานสุขศึกษา โดยใชรูปแบบที่พัฒนาขึ้นมาใหม โดย Green (1980) ที่มีแนวคิดวาพฤติกรรมบุคคลมีสาเหตุมาจากปจจัย (Multiple Factors) ดังนั้นจะตองมีการวิเคราะหถึงปจจัยสําคัญๆ ที่มีผลตอพฤติกรรมนั้นๆ เพื่อนํามาเปนขอมูลในการวางแผน และกําหนดกลวิธีในการดําเนินงาน สุขศึกษาเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรมตอไป กระบวนการวิเคราะหใน PRECEDE Framework เปนการวิเคราะหแบบยอนกลับ โดยเริ่มจาก Outcome ที่ตองการหรืออีกนัยหนึ่งคือคุณภาพชีวิตของบุคคลที่พึงประสงคแลว พิจารณาถึงสาเหตุหรือปจจัยที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะสาเหตุที่เนื่องมาจากพฤติกรรมของบุคคล การวิเคราะหประกอบดวยขั้นตอนตางๆ 7 ขั้นตอนดังนี้ (Green and Kreuter)

ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะหทางสังคม (Phase 1 : Social Diagnosis)เปนการพิจารณาและวิเคราะห “คุณภาพชีวิต” ซึ่งถือวาเปนขั้นตอนแรกของการ

วิเคราะหโดยการประเมินสิ่งที่เกี่ยวของหรือตัวกําหนดคุณภาพชีวิตของประชากรกลุมเปาหมายตางๆ เชน ผูปวย นักเรียน กลุมคนวัยทํางาน ผูใชแรงงาน หรือผูบริโภค สิ่งที่ประเมินไดจะเปนเครื่องชี้วัดและเปนตัวกําหนดระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนกลุมนั้น

ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะหทางระบาทวิทยา (Phase 2 : Epidemiological Diagnosis)

Page 50: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

39

เปนการวิเคราะหวามีปญหาสุขภาพที่สําคัญอะไรบาง ซึ่งปญหาสุขภาพเหลานี้ จะเปนสวนหนึ่งของปญหาสังคม หรือไดรับผลกระทบจากปญหาสังคมในขณะเดียวกันปญหาสุขภาพก็มีผลกระทบตอคุณภาพชีวิตเชนกัน ขอมูลทางระบาทวิทยาจะชี้ใหเห็นถึงการเจ็บปวย การเกิดโรคและภาวะสุขภาพตลอดจนปจจัยตางๆ ที่ทําใหเกิดการเจ็บปวยและเกิดการกระจายของโรค การวิเคราะหทางระบาดวิทยาจะชวยใหสามารถจัดเรียงลําดับความสําคัญของปญหาเพื่อประโยชนในการวางแผนการดําเนินงานสุขศึกษาไดอยางเหมาะสมตอไป

ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะหดานพฤติกรรม (Phase 3 : Behavioral Diagnosis)จากปจจัยปญหาดานสุขภาพอนามัยที่ไดในขั้นตอนที่ 1-2 จะนํามาวิเคราะหตอเพื่อ

หาสาเหตุที่ เกี่ยวของ โดยแบงเปนสาเหตุอันเนื่องมาจากพฤติกรรมของบุคคลและสาเหตุ ที่ ไม เกี่ ยวของกับพฤติกรรม เชน สา เหตุจากพันธุกรรมหรือสภาวะเศรษฐกิจ เปนตน โดยกระบวนการสุขศึกษาจะใหความสนใจประเด็นที่เปนสาเหตุ อันเนื่องมาจากพฤติกรรมของบุคคลเปนสําคัญ

ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะหทางการศึกษา (Phase 4 : Educational Diagnosis)ในขั้นตอนนี้เปนการวิเคราะหเพื่อหาปจจัยดานตางๆ ที่มีผลตอพฤติกรรมสุขภาพ

ทั้ ง ที่ เ ป น ป จ จั ย ภ า ย ใ น ตั ว บุ ค ค ล แ ล ะ ป จ จั ย ภ า ย น อ ก ตั ว บุ ค ค ล เ พื่ อ นํ า ม า เ ป น ข อ มู ล ในการวางแผนสุขศึกษาโดยในขั้นตอนนี้จะแบงปจจัยที่เกี่ยวของออกเปน 3 กลุม ไดแก ปจจัยนํา ปจจัยเอื้อและปจจัยเสริม

ปจจัยนํา (Predisposing Factors) หมายถึง ปจจัยที่เปนพื้นฐานและกอใหเกิดแรงจูงใจในการแสดงพฤติกรรมของบุคคล หรือในอีกดานหนึ่งปจจัยนี้จะเปนความพอใจ (Preference) ของบุคคล ซึ่งไดมาจากประสบการณในการเรียนรู (Education Experience) ซึ่งความพอใจนี้อาจมีผลทั้งในทางสนับสนุนหรือยับยั้งการแสดงพฤติกรรม ทั้งนี้ขึ้นอยูกับแตละบุคคล ปจจัยซึ่งเปนองคประกอบของปจจัยโนมนาวไดแก ความรู ทัศนคติ ความเชื่อ คานิยม การรับรู นอกจากนี้ยังรวมไปถึงสถานภาพทางสังคม-เศรษฐกิจ (Socio-Economic Status) และอายุ เพศ ระดับการศึกษา ขนาดของครอบครัว ซึ่งปจจัยเหลานี้จะมีผลกระทบตอการวางแผนโครงการทางสุขศึกษาดวยความรู เปนปจจัยนําที่สําคัญในการที่จะสงผลตอการแสดงพฤติกรรม แตการเพิ่มความรู ไมกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเสมอไป ถึงแมความรูจะมีความสัมพันธกับพฤติกรรมและความรูเปนสิ่งจําเปนที่จะกอใหเกิดการแสดงพฤติกรรม แตความรูอยางเดียวไมเพียงพอที่จะกอใหเกิดในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพไดจะตองมีปจจัยอื่นๆ ประกอบดวย การรับรู หมายถึง การที่รางกายรับสิ่งเราตางๆ ที่ผานมาทางประสาทสัมผัสสวนใดสวนหนึ่งแลวตอบสนองเอาสิ่งเรานั้นออกมาเปนลักษณะของจิตที่เกิดขึ้นจากการผสมกันระหวางพวกประสาทสัมผัสชนิด

Page 51: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

40

ตางๆ แลว ความคิดรวมกับประสบการณเดิมที่มีอยู การรับรูเปนตัวแปรทางจิตสังคมที่ เชื่อวา มีผลกระตุนตอพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล

ความเชื่อ คือ ความมั่นใจในสิ่งตางๆ ซึ่งอาจเปนปรากฏการณหรือวัตถุวาสิ่งนั้นๆ เปนสิ่งที่ถูกตองจริงใหความไววางใจ เชน แบบแผนความเชื่อทางสุขภาพ (Health Belife Model) ของ Becker (n.d. อางใน Green,1980) ซึ่งเนนวาพฤติกรรมสุขภาพจะขึ้นอยูกับความเชื่อใน 3 ดาน คือ

1. ความเชื่อตอโอกาสเสี่ยงของการเปนโรคหรือไดรับเชื้อโรค เปนความเชื่อเกี่ยวกับความไมปลอดภัยของสุขภาพ หรืออยูในอันตราย

2. ความเชื่อเกี่ยวกับความรุนแรงของสิ่งที่เปนอันตรายตอสุขภาพในดานของความเจ็บปวดทรมาน การเสียเวลา เสียเศรษฐกิจ

3. ความเชื่อเกี่ยวกับผลตอบแทนที่ไดจากการแสดงพฤติกรรมที่ถูกตองวา จะคุมคามากกวาราคา เวลา และสิ่งตางๆ ที่ลงทุนไป เมื่อความเชื่อดังกลาวแลวจะทําใหบุคคลมีความพรอมในการแสดงพฤติกรรม

คานิยม หมายถึง การใหความสําคัญ ใหความพอใจในสิ่งตางๆ ซึ่งบางครั้งคานิยมของบุคคลก็ขัดแยงกันเอง เชน ผูที่ใหความสําคัญตอสุขภาพ แตขณะเดียวกันเขาก็พอใจในการสูบบุหรี่ดวยซึ่งความขัดแยงของคานิยมเหลานี้ก็เปนสิ่งที่จะวางแผนในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดวย ทัศนคติ หมายถึง ความรูสึกที่คอนขางจะคงที่บุคคลที่มีตอสิ่งตางๆ เชน บุคคล วัตถุ การกระทํา ความคิด ซึ่งความรูสึกดังกลาวมีทั้งที่มีผลดีและผลเสียในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

ปจจัยเอื้อ (Enabling Factors) หมายถึง สิ่งที่เปนแหลงทรัพยากรที่จําเปนในการแสดงพฤติกรรมของบุคคลชุมชน รวมทั้งลักษณะที่จะชวยใหบุคคลสามารถแสดงพฤติกรรมนั้นๆ ไดดวยและความสามารถที่จะใชแหลงทรัพยากรตางๆ ซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับราคา ระยะทาง เวลา นอกจากนั้นสิ่งที่สําคัญก็คือ การหาไดงาย (Available) และความสามารถเขาถึงได (Accessibility) ของสิ่งที่จําเปนในการแสดงพฤติกรรมหรือชวยใหการแสดงพฤติกรรมนั้นๆ เปนไปไดงาย

ปจจัยเสริม (Reinforcing Factors) หมายถึง สิ่งที่บุคคลจะไดรับหรือคาดวาจะไดรับจากบุคคลอื่น อันเปนผลจากการกระทําของตน สิ่งที่บุคคลจะไดรับอาจเปนรางวัลที่เปนสิ่งของคําชมเชย การยอมรับ การลงโทษ การไมยอมรับการกระทํานั้นๆ หรืออาจเปนกฎระเบียบที่บังคับควบคุมใหบุคคลนั้นๆ ปฏิบัติตามก็ได ซึ่งสิ่งเหลานี้บุคคลจะไดรับจากบุคคลอื่นทีมีอิทธิพลตอตนเอง เชน ญาติ เพื่อน แพทย ผูบังคับบัญชา เปนตน และอิทธิพลของบุคคลตางๆ นี้ก็จะแตกตางกันไปตามพฤติกรรมของบุคคลและสถานการณ โดยอาจจะชวยสนับสนุนหรือยับยั้งการแสดงพฤติกรรมนั้นๆ ก็ไดพฤติกรรมหรือการกระทําตางๆ ของบุคคล เปนผลมาจากอิทธิพลรวมของปจจัยทั้ง 3 ดังกลาวมาแลว คือ ปจจัยนํา ปจจัยเอื้อ และปจจัยเสริม ดังนั้นในการวางแผนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

Page 52: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

41

ใดๆ จึงจําเปนตองคํานึงถึงอิทธิพลจากปจจัยดังกลาวรวมกันเสมอโดยไมควรนําปจจัยในปจจัยหนึ่งมาพิจารณา โดยเฉพาะจากปจจัยทังสามดังกลาว Green et al. (1991) ไดนํามาแสดงใหเห็นความสัมพันธเชื่อมโยงระหวางปจจัยทั้งสามกับพฤติกรรมสุขภาพที่เปนปญหาเฉพาะเพื่อใชใน การวิเคราะห ความสัมพันธระหวางสาเหตุทางพฤติกรรมกับปจจัยดังกลาว โดยในการวิเคราะห จะกําหนดวาสาเหตุทางพฤติกรรมควรเรียงลําดับตามความหมายดังตอไปนี้

1. เปนแรงจูงใจที่จะตองกระทําใหได2. การดัดแปลงหรือหาแหลงทรัพยากรที่สามารถทําใหเกิดพฤติกรรมนั้นได3. เปนปฏิกิริยาตางๆ ที่บุคคลอื่นแสดงออกใหทราบหลังจากพฤติกรรมนั้นแลว4. ตองมีการเสริมแรง และทําใหพฤติกรรมนั้นคงทนตอไป5. ในการเสริมแรงหรือการลงโทษของพฤติกรรมนั้นอาจมีผลกระทบถึงปจจัย

นํา รวมทั้งปจจัยเอื้อดวยเชนกัน

ขั้นตอนที่ 5 การเลือกกลยุทธทางการศึกษา (Phase 5 : Selection of Educational Strategies)

เมื่อวิเคราะหหาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมไดแลว ขั้นตอนตอไปจะเปนการเลือกกลยุทธ และเทคนิคในการดําเนินงานดานสุขศึกษามาใช ทั้งนี้โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมและสอดคลองกับผลการวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมทั้ง 3 ดานขางตนดวย เพื่อกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพในที่สุด นอกจากนี้การกําหนดกลยุทธการดําเนินงานจะตองคํานึงถึงการผสมผสานหลายเทคนิค หลายกลวิธีดานสุขศึกษาเขาดวยกัน เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ขั้นตอนที ่6 การวิเคราะหทางการบริหาร (Phase 6 : Administrative Diagnosis) ในขั้นตอนนี้จะเปนการวิเคราะหเพื่อประเมินถึงปจจัยดานการรบริหาร จัดการที่มี

ผลตอการดําเนินโครงการที่ไดวางแผนไว โดยปจจัยดังกลาวอาจจะมีผลทั้งในดานบวกคือ ทําใหโครงการบรรลุเปาหมายหรือมีผลตรงขาม คือ กลายเปนขอจํากัดของโครงการ ปจจัยเหลานี้ไดแก งบประมาณ ระยะเวลา ความสามารถของผูดําเนินการ ตลอดจนทรัพยากรอื่นๆ ในองคกร ดังนั้นในการวางแผนเพื่อดํา เนินงานสุขศึกษาใดๆ จะตองใหความสําคัญกับขั้นตอนนี้ไมนอยไปกวา ในขั้นตอนอื่นๆ และจะตองมีการวิ เคราะหและพิจารณาใหครอบคลุมทุกดานเหมือนกับ การวิเคราะหหาปจจัยที่มีตอพฤติกรรม

ขั้นตอนที ่7 การประเมินผล (Phase 7 : Evaluation) ขั้นตอนนี้จะเปนขั้นตอนที่ดําเนินการในทุกขั้นตอน โดยทั้งนี้ตองมีการกําหนด

หลักเกณฑในการประเมินผลและดัชนีตัวชี้วัดไวอยางชัดเจนแลว การประเมินผลใน PRECEDE

Page 53: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

42

Framework จะประกอบดวย การประเมินใน 3 ระดับ คือ การประเมินโครงการ หรือโปรแกรม สุขศึกษา การประเมินผลกระทบของโครงการ หรือโปรแกรมที่มีตอปจจัยทั้ง 3 ดาน และทายสุดคือ การประเมินผลลัพธของโครงการที่มีผลตอคุณภาพชีวิตของบุคคล ซึ่งการประเมินในขั้นตอนนี้จะเปนการดําเนินงานระยะยาวในการวิจัยครั้งนี้ เปนการศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรกรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข จ ึงได นํากรอบปจจ ัย ทั ้งสาม ของกรีนและคณะมาเปนฐาน ในการศึกษาปจจัยที่อาจสงผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคคลากรวิทยาศาสตร การแพทย กระทรวงสาธารณสุข ดังกลาว

ทฤษฎี SOCIAL SUPPORTแรงสนับสนุนทางสังคม หมายถึง สิ่งที่ผูรับแรงสนับสนุนทางสังคมไดรับความ

ชวยเหลือทางดานขอมูล ขาวสาร วัตถุสิ่งของ หรือการสนับสนุนทางดานจิตใจจากผูใหการสนับสนุน ซึ่งอาจเปนบุคคลหรือกลุมบุคคลที่เปนผลใหผูรับไดปฏิบัติไปในทางที่ผูรับตองการ ในที่นี้หมายถึงการมีสุขภาพดี แรงสนับสนุนทางสังคมอาจมาจากบุคคลในครอบครัว เชน พอแม ญาติ พี่นอง เพื่อนบาน เพื่อนรวมงาน เพื่อนนักเรียน อาสาสมัครสาธารณสุข ผูนําชุมชน หรือเจาหนาที่สาธารณสุข ก็ได (Cobb,1976)

แหลงของแรงสนับสนุนทางสังคมโดยปกติกลุมสังคมจัดแบงออกเปนประเภทใหญๆ ได 2 ประเภท คือ กลุมปฐมภูมิ

และกลุมทุติยภูมิ กลุมปฐมภูมิเปนกลุมที่มีความสนิทสนมและมีสัมพันธภาพระหวางสมาชิก เปนการสวนตัวสูง กลุมนี้ไดแก ครอบครัว ญาติพี่นอง และเพื่อนบาน สวนกลุมทุติยภูมิ เปนกลุมสังคมที่มีความสัมพันธกันตามแผนและกฎเกณฑที่วางไว มีอิทธิพลเปนตัวกําหนดบรรทัดฐาน ของบุคคลในสังคม กลุมนี้ไดแก เพื่อนรวมงาน กลุมวิชาชีพและกลุมสังคมอื่นๆ ซึ่งในระบบ แรงสนับสนุนทางสังคมถือวามีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา

องคประกอบของการสนับสนุนทางสังคมหลักการที่สําคัญของแรงสนับสนุนทางสังคม ประกอบดวย1. ตองมีการติดตอสื่อสารระหวางผูใหและผูรับการสนับสนุน2. ลักษณะของการติดตอสัมพันธนั้นจะตองประกอบดวย

2.1 ขอมูลขาวสารที่ทําใหผูรับเชื่อวามีความเอาใจใส และมีความรักความหวังดีในตนอยางจริงใจ

2.2 ขอมูลขาวสารนั้นที่มีลักษณะทําใหผูรับรูสึกวาตนเองมีคาและเปนที่ยอมรับในสังคม

Page 54: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

43

2.3 ขอมูลขาวสารที่มีลักษณะทําใหผูรับเชื่อวาเขาเปนสวนหนึ่งของสังคมและมีประโยชนแกสังคม

3. ปจจัยนําเขาของการสนับสนุนทางสังคมอาจอยูในรูปของขอมูล ขาวสาร วัสดุสิ่งของหรือดานจิตใจ จะตองชวยใหผูรับไดบรรลุถึงจุดหมายที่เขาตองการ

ประเภทของการสนับสนุนทางสังคมไดแบงประเภทของพฤติกรรมในการใหการสนับสนุนทางสังคมเปน 4 ประเภท คือ

1. Emotional Support คือ การสนับทางอารมณ เชน การใหความพอใจ การยอมรับนับถือการแสดงความหวงใยการไปเยี่ยมเยียนดวยความจริงใจ

2. Appraisal Support คือ การสนับสนุนในการใหประเมินผล เชน การใหขอมูลปอนกลับ (Feed Back) ตอการกระทํา การเห็นพองหรือการรับรอง (Affirmation) ถึงผลของการปฏิบัติ

3. Information Support คือ การใหการสนับสนุนทางดานขอมูลขาวสาร เชน การใหคําแนะนํา (Suggestion) ตักเตือนใหคําปรึกษา (Advice) และการใหขาวสาร

4. Instrumental Support คือ การใหการสนับสนุนทางดานเครื่องมือและเวลา เชน ใหแรงงาน ใหเงิน ใหเวลา เปนตน

ระดับของแรงสนับสนุนทางสังคมนักพฤติกรรมศาสตร ชื่อ Gottlie (1985) ไดแบงระดับแรงสนับสนุนทางสังคมออกเปน 3

ระดับ คือ1. ระดับกวาง (Macro level) เปนการพิจารณาถึงการเขารวมหรือการมีสวนรวม

ในสังคมอาจวัดไดจากความสัมพันธกับสถาบันในสังคม การเขารวมกับกลุมตางๆ ในสังคมชุมชนที่เขาอาศัยอยู อาทิ กลุมแมบานเลี้ยงลูกดวยนมแม กลุมหนุมสาวพัฒนาหมูบาน กลุมตานภัยเอดส กลุมเลี้ยงสัตวปก กลุมจักสาน กลุมแมบานเกษตรกร เปนตน

2. ระดับกลุมเครือขาย (Mezzo level) เปนการมองที่โครงสรางและหนาที่ของเครือขายสังคมดวยการพิจารณาจากกลุมบุคคล ที่มีความสัมพันธภาพอยางสม่ําเสมอ เชน กลุมเพื่อน กลุมบุคคลใกลชิดในสังคมเสมือนญาติ ชนิดของการสนับสนุนในระดับนี้ ไดแก การใหคําแนะนําการชวยเหลือดานวัสดุสิ่งของความเปนมิตร การสนับสนุนทางอารมณ และการยกยอง

3. ระดับแคบ หรือระดับลึก (Micro level) เปนการพิจารณาความสัมพันธของบุคคลที่มีความใกลชิดสนิทสนมกันมากที่สุด ทั้งนี้มีความเชื่อวาคุณภาพของความสัมพันธ

Page 55: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

44

มีความสําคัญมากกวาปริมาณ คือ ขนาด จํานวน และความถี่ของความสัมพันธหรือโครงสรางของเครือขายแรงสนับสนุนทางจิตใจแดงความรักและหวงใย (Affective Support) ดังนั้นแรงสนับสนุนทางสังคมมีความสําคัญตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคคลทั้งรางกายและจิตใจ การวิจัย ในครั้งนี้จึงไดนําทฤษฎีมาเปนแนวทางในการศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรกรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข

งานวิจัยที่เกี่ยวของจินตนา รังคะวงษ (2548) “ไดศึกษาเรื่องปจจัยที่มีผลตอการออกกําลังกายของเจาหนาที่

โรงพยาบาลลําปาง ผลการศึกษาพบวา ความมุงมั่นในการออกกําลังกายและความชอบเกี่ยวกับการออกกําลังกาย เปนปจจัยที่สําคัญที่มีผลตอการออกกําลังกาย สามารถรวมกันพยากรณการออกกําลังกายของเจาหนาที่โรงพยาบาลลําปาง ได รอยละ25.6 เจาหนาที่ที่ไมมีโรคประจําตัว มีการออกกําลังกายมากกวาผูที่มีโรคประจําตัว และเจาหนาที่ที่มีประสบการณการออกกําลังกาย มีการออกกําลังกายมากกวาผูที่ไมมีประสบการณออกกําลังกาย

ธัญชนก ขุนทอง (2548) ไดศึกษาเรื่องปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรกรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข กลุมประชากร จํานวน 260 คน พบวาบุคลากรมีความรู เกี่ยวกับการออกกําลังกาย อยูในระดับปานกลาง ปจจัยทางชีวสังคมที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คืออายุ สถานภาพ สมรสและรายไดเฉลี่ยตอเดือน ปจจัยนําดานความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย และทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ปจจัยเอื้อที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือนโยบายกระทรวงสาธารณสุข สถานที่และอุปกรณในการออกกําลังกาย ปจจัยเสริมที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือการไดรับขาวสารจากสื่อตางๆและการไดรับแรงสนับสนุน จากบุคคล ตัวแปรที่มีอํานาจจําแนกในการทํานายสูงสุด คือ ปจจัยเสริมเกี่ยวกับการออกกําลังกายและตัวแปรที่รวมทํานายคือ สถานภาพ โสดมาย/หยา อายุ 51-60 ป และอายุ 31-40 ป โดยสามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร ไดรอยละ 20.6

ทัศนันท กาบแกว (2549) ไดศึกษาเรื่องปจจัยที่มีผลตอการออกกําลังกายของนักศึกษาผูชวยพยาบาล โรงพยาบาลเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล จํานวนกลุมประชากร 200 คนเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถาม ผลการศึกษาพบวา ตัวแปรเอื้อทุกตัวแปร ไดแกนโยบายของโรงพยาบาลเวชศาสตรเขตรอน สถานที่และอุปกรณในการออกกําลังกาย เวลาที่เหมาะสมในการ

Page 56: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

45

ออกกําลังกาย มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลังกายโดยรวมของนักศึกษาผูชวยพยาบาล อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r)เทากับ 0.246 , 0.338 , 0.260 ตามลําดับ ตัวแปรปจจัยเสริมพบวา มีเพียงตัวแปรเดียว คือการไดรับแรงสนับสนุนจากบุคคลตางๆ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายโดยรวมของนักศึกษาผูชวยพยาบาลอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และเปนความสัมพันธในเชิงบวกโดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) เทากับ 0.378 สวนตัวแปรปจจัยนําทั้งสองตัวแปร คือความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายและทัศนคติตอการออกกําลังกายไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายโดยรวมของนักศึกษาผูชวยพยาบาล

จุมพล สุรกิจ (2550) ไดศึกษาเรื่องปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพของบุคลากรในสังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสงคราม กลุมประชากร จํานวน 310 คน เก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถาม ผลการศึกษาพบวา ปจจัยทางชีวสังคมที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพของบุคลากรในสังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสงคราม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ไดแก หนวยงาน/สถานที่ปฏิบัติงาน ตัวแปรนอกจากนี้ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ ปจจัยดานทัศนคติและ การรับรูสภาวะสุขภาพมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพของบุคลากร ในสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสงคราม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สวนดานความรูเรื่องของการออกกําลังกาย ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพของบุคลากรในสังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสงคราม ปจจัยเสริมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพของบุคลากรในสังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสงคราม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตัวแปรที่มีอํานาจจําแนกในการทํานายสูงสุด ไดแก ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย การรับรูสภาวะสุขภาพและปจจัยเสริมเกี่ยวกับ การออกกําลังกาย สามารถรวมกันทํานายพฤติกรรมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพของบุคลากร ในสังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสงคราม ไดรอยละ 54.50

อั จ ฉ รี อ อ น แ ก ว ( 2550)ไ ด ศึ ก ษ า เ รื่ อ ง ป จ จั ย ที่ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ ต อ พ ฤ ติ ก ร ร ม การออกกําลังกายของบุคลากรทางการพยาบาลในกองอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา กลุมประชากร ไดแก บุคลากรทางการพยาบาล จํานวน 232 คน เก็บรวบรวมเครื่องมือ โดยใชแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบวา บุคลากรทางการพยาบาลในกองอายุรกรรมโรงพยาบาล พระมงกุฎเกลา มีกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการออกกําลังกาย ความเชื่อในความสามารถของตนเองเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ดุลยภาพในการตัดสินใจเกี่ยวกับการออกกําลังกายและพฤติกรรมออกกําลังกายอยูในระดับปานกลาง ระยะการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการออกกําลังกาย

Page 57: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

46

มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรทางการพยาบาลในกองอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 กระบวนการเปลี่ยนพฤติกรรม การออกกําลังกาย ความเชื่อในความสามารถของตนเองเกี่ยวกับการออกกําลังกายและดุลภาพ ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการออกกําลังกายมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลในกองอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 ปจจัยทางชีวสังคมไดแก อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายได ดัชนีมวลกาย ระยะเวลาในการปฏิบัติงานไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรทางการพยาบาลในกองอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .05 กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรรมออกกําลังกาย ระยะการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การออกกําลังกาย ดุลยภาพในการตัดสินใจเกี่ยวกับการออกกําลังกายโดยตัวแปรทั้ง 3 ตัวแปร สามารถรวมทํานายพฤติกรรมการออกกําลังกายไดรอยละ 49.30 ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05

เฉลิมรัตน เพียรพึ่งตนและคณะ (2551) ไดศึกษาเรื่องปจจัยที่มีอิทธิพลตอการออกกําลังกายของบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขที่อาศัยอยูในโรงพยาบาลพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลกพบวามีผูออกกําลังกายรอยละ 68.59 แตมีเพียงรอยละ 14.02 ที่ออกกําลังกายอยางเหมาะสมและ ไมเหมาะสมถึงรอยละ 85.98 สวนผูที่ไมออกกําลังกายคิดเปนรอยละ 31.41 โดยปจจัยภายใน มีผลตอการออกกําลังกายและไมออกกําลังกายใกลเคียงกับปจจัยภายนอกและพบวาเหตุผล ที่ออกกําลังกายคือเพื่อสุขภาพถึงรอยละ 100 รองลงมาคือเพื่อใชเวลาวางใหเปนประโยชน รอยละ 50.47 สวนเหตุผลที่ไมออกกําลังกายพบวา เหน็ดเหนื่อยจากการทํางานรอยละ 57.47 และไมมีเวลารอยละ 55.10

เยาวเรศ จันฑูรย (2551) ไดศึกษาเรื่องการรับรูอุปสรรคในการออกกําลังกายตอ การออกกําลังกายของบุคลากรในมหาวิทยาลัยเชียงใหม ผลการศึกษาพบวากลุมประชากรที่มี การออกกําลังกายคิดเปนรอยละ 66.2 โดยมีวิธีการออกกําลังกาย ไดแก การวิ่งหรือวิ่งเหยาะๆ เดินเร็ว ปนจักรยาน เตนแอโรบิคและพบวารอยละ 98.9 ออกกําลังกายยังไมครบตามเกณฑ ของหลักการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ ในดานความแรง คิดเปนรอยละ 74.5 ดานความถี่คิดเปน รอยละ 63.6 ดานการอบอุนรางกาย คิดเปนรอยละ 50.6 ดานความนาน คิดเปนรอยละ 33.3 และด านการผอนคลายรางกาย คิดเปนรอยละ 29.2 กลุมประชากรมีการรับรู อุปสรรค ในการออกกําลังกายโดยรวมอยู ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาการรับรู อุปสรรค ในการออกกําลั งกายในรายดานไดแก เวลาที่ ใช ในการออกกําลั งกาย สภาพแวดลอม ของกา รออกกํา ลั งก า ย แ ละ ความพร อมของกา รออ กกํ าลังก ายอยู ใน ระ ดับป านก ลาง

Page 58: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

47

สวนดานการขาดการสนับสนุนจากครอบครัวหรือสังคมอยูในระดับต่ํา การรับรูอุปสรรค ในการออกกําลังกายไมมีความสัมพันธกับการออกกําลังกาย

รสรินทร แกวตา (2551) ไดศึกษาเรื่องปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการรับประทานอาหารและออกกําลังกายของบุคลากร คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี กลุมประชากร จํานวน 400 ราย เก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถาม ผลการศึกษาพบวา บุคลากรมีพฤติกรรมการรับประทานอาหาร ในระดับต่ํา รอยละ 54.0 ปจจัยดานความรู การรับรู ไดแก คานิยมเกี่ยวกับสุขภาพ การรับรูความสามารถของตน การรับรูสถานะสุขภาพของตน การรับรูอุปสรรค ของพฤติกรรมสุขภาพ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ กั บ พ ฤ ติ ก ร ร ม การรับประทานอาหารและออกกําลังกาย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ(P-value 0.01) สวนปจจัยรวม ไดแก อายุ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการรับประทานอาหารและออกกําลังกาย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P-value<0.01) และสิ่งชักนําในการปฏิบัติ ไดแก การไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับสุขภาพ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมกับการรับประทานและออกกําลังกาย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P-vlue <0.01) โดยที่ตัวแปรการรับรูความสามารถของตน มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการรับประทานอาหารและออกกําลังกายมากที่สุด

สุกัญญา อุชชิน (2551) ไดศึกษาเรื่องปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพของบุคลากรกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จังหวัดนนทบุรี กลุมประชากร จํานวน 275 คน เก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบวา บุคลากรกรมอนามัยมีพฤติกรรมการออกกําลังกายอยูในระดับปานกลาง ปจจัยทางชีวสังคม ไดแก อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ การสมรส รายไดเฉลี่ยตอเดือน สถานภาพของตําแหนงงาน ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ ปจจัยนําไดแก ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายและทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ปจจัยเอื้อ ไดแก นโยบายสงเสริมการออกกําลั งกาย เพื่ อสุขภาพของกรมอนา มัย การมี /การ เข าถึ ง สถานที่และอุปกร ณ ในการออกกําลังกาย ปจจัยเสริมไดแก การไดรับรูขอมูลขาวสารการออกกําลังกายจากสื่อตางๆ และการไดรับการสนับสนุนจากบุคคล มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ตัวแปรที่มีอํานาจในการทํานายพฤติกรรมการออกกําลังกายมีตัวแปรเดียว คือ ปจจัยเสริม รอยละ 2.10 โดยตัวแปรดานชีวสังคม ปจจัยนํา ปจจัยเอื้อ ไมสามารถรวมทํานายพฤติกรรม การออกกําลังกายของบุคลากรกรมอนามัยได

ปรินดา จําปาทอง (2552) ไดศึกษาเรื่องพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรสาธารณสุขในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษาพบวา กลุมประชากรที่ออกกําลังกาย อยางสม่ําเสมอ สวนใหญเปนเพศชายรอยละ 67.7 อยูในชวงอายุต่ํากวา 30 ป รอยละ45.7

Page 59: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

48

มีสถานภาพโสด รอยละมีการศึกษาระดับปริญญาตรี รอยละ มีราย39.2 ไดอยูในชวง 10,000 -20,000 บาท รอยละ 48.5 มีสายปฏิบัติงานอยูในสายงานบริการรอยละ 37.7 ไมมีโรคประจําตัว รอยละ 86.2 และไมทํ างานพิเศษนอกเหนือจากงานประจํา รอยละ 86.9 ดานพฤติกรรม การออกกําลังกายของกลุมประชากรพบวา โดยสวนใหญออกกําลังกายจํานวน 1 ครั้งตอสัปดาห รอยละ 31.6 เวลาที่ใชในการออกกําลังกายคือ 15-30 นาที รอยละ 38.4 ออกกําลังกายในเวลาชวงหลังเลิกงาน รอยละ 68.8 หลังการออกกกําลังกายรูสึกเหนื่อยและมีอาการหอบเล็กนอย รอยละ 50.2 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจเลือกการออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอของบุคลากรสาธารณสุข ในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม คือ ผูบริหารจัดงบประมาณสนับสนุนกิจกรรมการออกกําลังกาย เปนปจจัยที่สําคัญที่สุด ซึ่งมีผลตอโอกาสที่บุคลากรสาธารณสุขจะออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอเพิ่มขึ้น รอยละ 23.9 รองลงมา ไดแก ความตองการมีรูปรางที่ดี สมสวน การมีเวลาวางหลังจาก การทํางาน ความเครียดที่เกิดจากการทํางาน การไมทํางานพิเศษนอกเหนือจากงานประจําและ ระดับการศึกษาตั้งแตปริญญาตรีขึ้นไป มีผลตอโอกาสที่บุคลากรสาธารณสุขจะออกกําลังกาย อยางสม่ําเสมอเพิ่มขึ้น รอยละ 12.6- 23.0นอกจากนี้ยังมีปจจัยดานสายงานตางๆที่ไมใชงานธุรการ น้ําหนักตัวเกินมาตรฐาน การจักการแขงขันกีฬาของหนวยงาน สถานที่ออกกําลังกายอยูใกลบานหรือที่ทํางาน อายุตั้งแต 35 ปขึ้นไป และรายไดตั้งแต 15,500 บาทขึ้นไป มีผลตอโอกาสที่บุคลากรสาธารณสุขจะออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ รอยละ 0.0007- 10.3 ออกกําลังกายที่บานหรือที่ทํางาน รอยละ34.2 และเลือกออกกําลังกายโดยการวิ่งเหยาะๆ รอยละ 22.3

บุญเทียน แกวมงคล (2552) ไดศึกษาเรื่องการมีสวนรวมของชุมชนในการสงเสริม การออกกําลังกาย บานหวยเกี๋ยง ตําบลหนองหาร อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม พบวา การมีสวนรวมของกลุมประชากรโดยรวมอยูในระดับนอย คา ( = 1.00 S.D = 1.00) เมื่อพิจารณาในแตละขั้นตอนพบวาการมีสวนรวมในการดําเนินงาน ( = 1.05 S.D = 0.97) และขั้นตอนที่ 5 การมีสวนรวมในการรับและใชผลประโยชน ( = 1.10 S.D = 1.08) แตพบวา การมีสวนรวมของกลุมประชากรในระดับ นอย มี 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การมีสวนรวมในการกําหนดปญหาและความตองการ ( = 0.99 S.D = 1.00) ขั้นตอนที่ 2 การมีสวนรวมในการวางแผน ( = 0.90 S.D = 0.97) และขั้นตอนที่ 4 การมีสวนรวมในการประเมินผล ( = 0.97 S.D= 0.98 )

กฤตภาส หลักหนองจิก (2553) ศึกษาเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในเขตตําบลหนองครก อําเภอเมือง จังหวัดศรีษะเกษ พบวา ดานความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย พบวา ปจจัยดาน การสนับสนุนของครอบครัว และปจจัยดานการมีประสบการณในการเลนกีฬามากอน

Page 60: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

49

มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (P – value = 0.020, P –value = 0.010 ตามลําดับ) สวนปจจัยดานอายุ เพศ การศึกษา การมีโรคประจําตัว คาดัชนีมวลกาย ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรมการออกกําลังกายของกลุมประชากร ดานความสัมพันธระหวางการรับรูประโยชน และการรับรูตอสภาพแวดลอมในการออกกําลังกายกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย มีความสัมพันธกันทางสถิติ (P – value = 0.028, P – value = 0.030 ตามลําดับ) สวนการรับรูความสามารถของตนเอง ไมมีความสัมพันธกันทางสถิติ (P – value = 0.9)

ไพฑูรย โฆษิตธนสาร (2553) ไดศึกษาเรื่องปจจัยที่มีผลกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของเยาวชนในจังหวัดชัยภูมิ พบวา ตัวแปรที่สงผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของเยาวชน ไดแก แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ อัตมโนทัศนเกี่ยวกับตนเองดานการเลนกีฬา ดานบุคลิกภาพ ดานเจตคติ ตอการออกกําลังกาย ดังนั้น หนวยงานที่มีสวนเกี่ยวของ ควรมีการจัดกิจกรรมการออกกําลังกายเพื่ อส ง เส ริมสุขภาพ ให กับนัก เรี ยน โดย มีการ อบร ม หรือให ควา มรู เพื่ อให เห็นคุณ ค า ในการออกกําลังกาย ใหนักเรียนมีพฤติกรรมการออกกําลังกายที่ดีและถูกตอง

สุนันทา ธงทอง (2553) ไดศึกษาเรื่องปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายบุคลากร โรงพยาบาลวังทรายพูน จังหวัดพิจิตร ผลการวิจัยพบวา

1. พฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลวังทรายพูน อยูในระดับปานกลาง

2. ปจจัยทางชีวสังคม ไดแก เพศ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายฯ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 สวนอายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส รายไดเฉลี่ยตอเดือน ตําแหนงสายงาน การตรวจสุขภาพ ประวัติการเจ็บปวย ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย

3. ปจจัยนํา ไดแก ความรูเรื่องการออกกําลังกาย เจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย สวนการรับรูภาวะสุขภาพ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย

4. ปจจัยเอื้อ ไดแก การมีและการเขาถึงสถานที่ในการออกกําลังกาย นโยบายสงเสริมการออกกําลังกาย ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร โรงพยาบาลวังทรายพูน จังหวัดพิจิตร

5. ปจจัยเสริม ไดแก การไดรับขาวสารเกี่ยวกับการบริโภคอาหารจากสื่อ และบุคคลตาง ๆ การไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลตาง ๆ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายฯอยามีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1

Page 61: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

50

อัจฉโรบล แสงประเสริฐและคณะ(2553) ไดศึกษาเรื่องปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสวรรคประชารักษ จ.นครสวรรค พบวา พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสวรรคประชารักษ สวนใหญมีพฤติกรรมการออกกําลังกาย รอยละ 84.90 และมีเพียงรอยละ 21.10 มีการออกกําลังกาย มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (r=.28, P<.01), (r=.37, P<.01) สวนอิทธิพลระหวางบุคคลไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย

พวงพกา อินทรสุวรรณ (2554) ไดศึกษาเรื่องปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรม การออกกําลังกายของบุคลากร โรงพยาบาลนนทเวช ผลการวิจัยพบวา 1) บุคลากรโรงพยาบาล นนทเวช มีพฤติกรรมการออกกําลังกายอยูในระดับปานกลาง 2) ปจจัยทางชีวสังคม ไดแก เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา รายไดตอเดือน ตําแหนงหนาที่การงาน ชวงเวลาในการขึ้นปฏิบัติงาน ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลนนทเวช 3) ปจจัยนําดานความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.5 การรับรูประโยชน/อุปสรรคของการออกกําลังกายและเจตคติตอการออกกําลังกายไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย 4) ปจจัยเอื้อ ไดแก นโยบายการสงเสริมการออกกําลังกายของโรงพยาบาล สถานที่และอุปกรณในการออกกําลังกาย การมีและการเขาถึงสถานบริการตาง ๆ มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลนนทเวช อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.5 5) ปจจัยเสริม ไดแก การไดรับขาวสารจากสื่อและบุคคลตาง ๆ การไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัว ญาติ เพื่อนรวมงาน ผูบังคับบัญชามีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาล นนทเวช อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.5

เสาวภา กิตติวิริกุล (2555) ไดศึกษาเรื่องปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพการออกกําลังกายของบุคลากรในเทศบาลตําบลละหานทราย อําเภอละหาน จังหวัดบุรีรัมย พบวา 1) บุคลากรในเทศบาลตําบลละหานทราย สวนใหญ มีพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ อยูในระดับสูงและระดับต่ําเทากัน 2) ปจจัยนํา ไดแก ความรู ทัศนคติและความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองในการสงเสริมสุขภาพ มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ ของบุคลากรในเทศบาลตําบลละหานทราย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 และ 0.01 ตามลําดับ 3) ปจจัยเอื้อ ไดแก การเขาถึงระบบบริการสาธารณสุข มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรม การสงเสริมสุขภาพของบุคลากรในเทศบาลตําบลละหานทราย อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 4) ปจจัยเสริม ไดแก การไดรับการสนับสนุนทางสังคม ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ

Page 62: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

51

สิทธิพร เสียงใหญ (2556) ไดศึกษาเรื่องปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายบุคลากร โรงพยาบาลหัวหิน สังกัดสํานักงานสาธารณสุข จังหวัดประจวบคีรีขันธ ผลการวิจัยพบวาบุคลากร โรงพยาบาลหัวหิน สังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ มีพฤติกรรมการออกกําลังกาย อยูในระดับปานกลาง ปจจัยทางชีวสังคมทุกตัวแปรไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลหัวหินปจจัยนําที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรม การออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลหัวหินที่ระดับ .01 คือเจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย การรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกายสวนความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ของบุคลากรโรงพยาบาลหัวหินอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติ ปจจัยเอื้อ ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาล หัวหินอยางนัยสําคัญทางสถิติ ปจจัยเสริมที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ของบุคลากรโรงพยาบาลหัวหินอยางนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คือ การไดรับแรงสนับสนุน จากสังคมและการไดรับขาวสารจากสื่อ

จากการประมวลแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ พบวา การศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายในกลุมบุคคลตางๆและมีปจจัยหลายปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ซึ่งขึ้นอยูกับผูวิจัยแตละคนจะนําแนวคิดทฤษฎีใดมาประยุกตใชในการวิจัยของตน สํ าหรับการวิจัยในครั้ งนี้ ผูวิ จัยไดประยุกตทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม (Social Support Theory) รวมกับแนวคิด PRECEDE MODEL, แบบแผนความเชื่อทางสุขภาพ (Health Belief Model) ซึ่งประกอบดวย ปจจัยนํา ไดแก ความรูเรื่องการออกกําลังกาย เจตคติ เกี่ยวกับการออกกําลังกาย การรับรูประโยชนและอุปสรรคเรื่องการออกกําลังกาย ปจจัยเอื้อ ไดแก นโยบายเทศบาล สถานที่และอุปกรณในการออกกําลังกาย ปจจัยเสริม ไดแก การไดรับขาวสาร จากสื่อตางๆ การไดรับแรงสนับสนุนจากบุคคล มากําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยครั้งนี้

Page 63: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

52

กรอบแนวคิดในการวิจัย

ตัวแปรอิสระ

ภาพที่ 1 กรอบความคิดในการวิจัย

ปจจัยนํา - ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย - เจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย - การรับรูประโยชนและอุปสรรคของการ ออกกําลังกาย

ปจจัยทางชีวสังคม - เพศ - อายุ - สถานภาพการสมรส - ระดับการศึกษา - รายไดเฉลี่ยตอเดือน - โรคประจําตัว - ระยะเวลาการทํางาน

ปจจัยเอื้อ - นโยบายเทศบาล - สถานที่และอุปกรณในการออกกําลังกาย

ปจจัยเสริม - การไดรับขาวสารจากสื่อตางๆ - การไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมจาก บุคคลตางๆ

พฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สั งกัดเทศบาลตํ าบล อํ า เ ภ อ พุ ท ธ ม ณ ฑ ล จั ง ห วั ดนครปฐม

ตัวแปรตาม

ตัวแปรอธิบาย

Page 64: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

53

สมมติฐานการวิจัยสมมติฐานที่ 1 ปจจัยชีวสังคม มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของ

บุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐมสมมติฐานที่ 2 ปจจัยนํา มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร

สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม สมมติฐานที่ 3 ปจจัยเอื้อ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร

สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม สมมติฐานที่ 4 ปจจัยเสริม มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร

สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

Page 65: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

(54)

บทที่ 3 วิธีการวิจัย

การศึกษาปจจัยที่มีผลกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ในการวิจัยครั้งนี้ใชวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) โดยใชแบบสอบถาม (Questionnaires) เปนการเก็บขอมูลจากแบบสอบถามจากประชากรกลุมเปาหมายคือบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

ประชากรและกลุมประชากร

ประชากรป ร ะ ช า ก ร ที่ ใ ช ใ น ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย ใ น ค รั้ ง นี้ คื อ บุ ค ล า ก ร สั ง กั ด เ ท ศ บ า ล ตํ า บ ล

อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ซึ่งประกอบดวยเทศบาลตําบลคลองโยง จํานวนบุคลากร ทั้งหมด 91 คน เทศบาลตําบลศาลายา จํานวนบุคลากร 100 คน รวมบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล ทั้หมดจํา นวน 191 คน(แผนพัฒนาสามป เทศบาลตําบลค ลองโยง อํ า เภอพุทธมณฑ ล จังหวัดนครปฐม,พ.ศ. 2558-2560) , (แผนพัฒนาสามป เทศบาลตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม,พ.ศ. 2558-2560)

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยใชแบบสอบถาม (questionnaires) เปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล โดยแบงเปน 5 สวน ดังนี้

สวนที่ 1 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายไดเฉลี่ยตอเดือน โรคประจําตัว ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน

สวนที่ 2 เปนแบบทดสอบปจจัยนํา ประกอบดวย1. ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย เปนขอคําถามแบบมีตัวเลือกใหตอบ ใช

ไมใช หรือ ไมทราบ จํานวน 20 ขอ กําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้เกณฑการใหคะแนนตอบใช ได 1 คะแนนตอบไมใช ได 0 คะแนน

Page 66: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

55

ตอบไมทราบ ได 0 คะแนน

การแปลผล แบงระดับความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย แบงออกเปน 3 ระดับ โดยพิจารณาจากเกณฑเฉล่ียของระดับความรูที่ได คือ

ระดับดี คือ ไดคะแนนระหวาง + ½ ó ถึงคะแนนสูงสุด

ระดับปานกลาง คือ ไดคะแนนระหวาง ± ½ ó

ระดับควรปรับปรุง คือ ไดคะแนนระหวาง - ½ ó ถึงคะแนนต่ําสุด

2. เจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย เปนขอคําถามแบบมีตัวเลือกใหตอบและ ขอคําถามเปนแบบมาตรสวนประเมินคา (Rating Scale) ขอคําถามมีทั้งดานบวกและดานลบ มีมาตรวัด 4 ระดับ โดยใหผูตอบเลือกเพียงคําตอบเดียว จํานวน 20 ขอ กําหนดเกณฑ การใหคะแนน ดังนี้

เกณฑการใหคะแนนขอความเชิงบวก ขอความเชิงลบ

เห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 4 เห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 1เห็นดวย ใหคะแนน 3 เห็นดวย ใหคะแนน 2ไมเห็นดวย ใหคะแนน 2 ไมเห็นดวย ใหคะแนน 3ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 1 ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 4

การแปลผล แบงระดับเจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายออกเปน 3 ระดับ โดยพิจารณาจากเกณฑเฉลี่ยของระดับเจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ซึ่งมีระดับคะแนน ดังนี้

Page 67: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

56

ระดับดี คือ ไดคะแนนระหวาง + ½ ó ถึงคะแนนสูงสุด

ระดับปานกลาง คือ ไดคะแนนระหวาง ± ½ ó

ระดับควรปรับปรุง คือ ไดคะแนนระหวาง - ½ ó ถึงคะแนนต่ําสุด

3. การรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกาย เปนขอคําถามแบบ มีตัวเลือกใหตอบ และขอคําถามเปนแบบมาตรสวนประเมินคา (rating scale) ขอคําถามมีทั้งดานบวกและดานลบ มีมาตรวัด 4 ระดับ โดยใหผูตอบเลือกเพียงคําตอบเดียว จํานวน 12 ขอ กําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้

เกณฑการใหคะแนนขอความเชิงบวก ขอความเชิงลบ

เห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 4 เห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 1เห็นดวย ใหคะแนน 3 เห็นดวย ใหคะแนน 2ไมเห็นดวย ใหคะแนน 2 ไมเห็นดวย ใหคะแนน 3ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 1 ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 4

การแปลผล แบงระดับการรับรูประโยชนและอุปสรรคเกี่ยวกับการออกกําลังกายออกเปน 3 ระดับ โดยพิจารณาจากเกณฑเฉลี่ยของระดับการรับรูประโยชนและอุปสรรเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ซึ่งมีระดับคะแนน ดังนี้

Page 68: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

57

ระดับดี คือ ไดคะแนนระหวาง + ½ ó ถึงคะแนนสูงสุด

ระดับปานกลาง คือ ไดคะแนนระหวาง ± ½ ó

ระดับควรปรับปรุง คือ ไดคะแนนระหวาง - ½ ó ถึงคะแนนต่ําสุด

สวนที่ 3 เปนแบบสอบถามปจจัยที่เอื้อการออกกําลังกายเปนขอคําถามแบบมีตัวเลือก ใหตอบและขอคําถามเปนแบบมาตรสวนประเมินคา (Rating Scale) ขอคําถามมีทั้งดานบวกและ ดานลบ มีมาตรวัด 4 ระดับ โดยใหผูตอบเลือกเพียงคําตอบเดียว จํานวน 13 ขอ กําหนดเกณฑ การใหคะแนน ดังนี้

เกณฑการใหคะแนนขอความเชิงบวก ขอความเชิงลบ

เห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 4 เห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 1เห็นดวย ใหคะแนน 3 เห็นดวย ใหคะแนน 2ไมเห็นดวย ใหคะแนน 2 ไมเห็นดวย ใหคะแนน 3ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 1 ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 4

การแปลผล แบงระดับปจจัยเอื้อเกี่ยวกับการออกกําลังกายออกเปน 3 ระดับ โดยพิจารณาจากเกณฑเฉลี่ยของระดับปจจัยเอื้อเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ซึ่งมีระดับคะแนน ดังนี้

ระดับดี คือ ไดคะแนนระหวาง + ½ ó ถึงคะแนนสูงสุด

Page 69: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

58

ระดับปานกลาง คือ ไดคะแนนระหวาง ± ½ ó

ระดับควรปรับปรุง คือ ไดคะแนนระหวาง - ½ ó ถึงคะแนนต่ําสุด

สวนที่ 4 เปนแบบสอบถามปจจัยเสริมการออกกําลังกาย เปนขอคําถามแบบมีตัวเลือก ใหตอบและขอคําถามเปนแบบมาตรสวนประเมินคา (Rating Scale) ขอคําถามมีทั้งดานบวกและ ดานลบ มีมาตรวัด 4 ระดับ โดยใหผูตอบเลือกเพียงคําตอบเดียว จํานวน 15 ขอ กําหนดเกณฑ การใหคะแนน ดังนี้

เกณฑการใหคะแนนขอความเชิงบวก ขอความเชิงลบ

เห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 4 เห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 1เห็นดวย ใหคะแนน 3 เห็นดวย ใหคะแนน 2ไมเห็นดวย ใหคะแนน 2 ไมเห็นดวย ใหคะแนน 3ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 1 ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ใหคะแนน 4

การแปลผล แบงระดับปจจัยเสริมเกี่ยวกับการออกกําลังกายออกเปน 3 ระดับ โดยพิจารณาจากเกณฑเฉลี่ยของระดับปจจัยเสริมเกี่ยวกับการออกกําลังกายซึ่งมีระดับคะแนน ดังนี้

เกณฑการใหคะแนน

ระดับดี คือ ไดคะแนนระหวาง + ½ ó ถึงคะแนนสูงสุด

Page 70: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

59

ระดับปานกลาง คือ ไดคะแนนระหวาง ± ½ ó

ระดับควรปรับปรุง คือ ไดคะแนนระหวาง - ½ ó ถึงคะแนนต่ําสุด

สวนที่ 5 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย เปนขอคําถามแบบมีตัวเลือกใหตอบและขอคําถามเปนแบบมาตรสวนประเมินคา (Rating Scale) ขอคําถามมีทั้งดานบวกและดานลบ มีมาตรวัด 4 ระดับ โดยใหผูตอบเลือกเพียงคําตอบเดียว จํานวน 20 ขอ กําหนดเกณฑการใหคะแนน ดังนี้

เกณฑการใหคะแนนขอความเชิงบวก ขอความเชิงลบ

ปฏิบัติมาก ใหคะแนน 4 ปฏิบัติมาก ใหคะแนน 1ปฏิบัติคอนขางมาก ใหคะแนน 3 ปฏิบัติคอนขางมาก ใหคะแนน 2ปฏิบัติคอนขางนอย ใหคะแนน 2 ปฏิบัติคอนขางนอย ใหคะแนน 3ปฏิบัติมากนอย ใหคะแนน 1 ปฏิบัติมากนอย ใหคะแนน 4

การแปลผล แบงระดับพฤติกรรมการออกกําลังกายออกเปน 3 ระดับ โดยพิจารณาจากเกณฑเฉล่ียของระดับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ซึ่งมีระดับคะแนน ดังนี้

เกณฑการใหคะแนน

ระดับดี คือ ไดคะแนนระหวาง + ½ ó ถึงคะแนนสูงสุด

Page 71: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

60

ระดับปานกลาง คือ ไดคะแนนระหวาง ± ½ ó

ระดับควรปรับปรุง คือ ไดคะแนนระหวาง - ½ ó ถึงคะแนนต่ําสุด

การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัยโดยการนําไปทดลองใช เครื่องมือที่ใชในการวิจัย และการเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัย

ไดสรางขึ้นใหครอบคลุมเนื้อหาโดยมีขั้นตอน1. ศึกษาคนควาตํารา เอกสารตางๆ และงานวิจัยที่เกี่ยวของและวิทยานิพนธเพื่อหาขอมูล

ในการสรางแบบสอบถาม2. กําหนดขอบเขตและโครงสรางของเนื้อหาใหครอบคลุมตัวแปรที่ศึกษานํามาสราง

แบบสอบถามและวัดใหครอบคลุมวัตถุประสงคของการวิจัยและถูกตองตามเกณฑ3. สรางขอคําถามของแบบสอบถาม4. นําแบบสอบถามที่สรางขึ้นไปใหอาจารยที่ปรึกษา และผูเชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกตอง

ของภาษา ความชัดเจนของภาษา ความตรงเนื้อหาและความตรงโครงสรางใหมีความถูกตองแลวนําไปแกไขปรับปรุง

5. การตรวจสอบความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม (Try out) กับกลุมประชากรที่มีลักษณะใกลเคียงกับประชากร ที่จะทําการศึกษากับพนักงานเทศบาลตําบลบางกระทึก ตําบล บางกระทึก อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จํานวน 30 คน แลวนําขอมูลจากการทดลองใชมาวิเคราะหหาคาความเชื่อมั่นดวยการหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอนบาค (Conbach Alpha Coefficient)

แบบวัดความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย คาความเชื่อมั่น เทากับ .78แบบวัดเจตคติเก่ียวกับการออกกําลังกาย คาความเชื่อมั่น เทากับ .82แบบวัดการรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกาย

คาความเชื่อมั่น เทากับ .90

Page 72: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

61

แบบสอบถามปจจัยเอื้อการออกกําลังกาย คาความเชื่อมั่น เทากับ .88

แบบสอบถามปจจัยเสริมการออกกําลังกาย คาความเชื่อมั่น เทากับ .87

แบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย คาความเชื่อมั่น เทากับ .86

แบบสอบถามทั้งฉบับ คาความเชื่อมั่น เทากับ .86

6. นําผลการวิเคราะห มาปรับปรุงแกไขแบบสอบถามขั้นสุดทายและเสนอประธานกรรมการที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบใหอยูในเกณฑที่ยอมรับได กอนนําแบบสอบถามไปเก็บขอมูลจริง

วิธีการการเก็บรวบรวมขอมูลการเก็บรวบรวมขอมูลนั้น ผูวิจัยไดดําเนินการดังนี้ คือ1. ผูวิจัยขอหนังสือจากหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก

ถึงนายกเทศมนตรีตําบลคลองโยง เทศบาลตําบลคลองโยงและนายกเทศมนตรีตําบลศาลายา เทศบาลตําบลศาลายา เพื่อขออนุญาตและขอความรวมมือในการเก็บรวบรวมขอมูล

2. ผูวิจัยติดตอประสานขอความรวมมือจากนายกเทศมนตรีตําบลคลองโยง เทศบาลตําบลคลองโยงและนายกเทศมนตรีตําบลศาลายา เทศบาลตําบลศาลายา เพื่อขอความรวมมือในการเก็บรวบรวมขอมูลจากประชากรที่กําหนดไวดวยตนเอง

3. ผูวิจัยดําเนินการเก็บขอมูล โดยแนะนําตัวเอง และนําแบบสอบถามไปช้ีแจงวัตถุประสงคและอธิบายวิธีการตอบแบบสอบถามโดยละเอียด พรอมทั้งแจกแบบสอบถามใหประชากร แลวใหประชากรตอบแบบสอบถามอยางมีอิสระ และเก็บแบบสอบถาม

4. ผูวิจัยเก็บแบบสอบถามคืนและมีการตรวจสอบความสมบูรณของแบบสอบถาม ความถูกตองและครบถวนของคําตอบและซักถามเพิ่มเติมเม่ือไดขอมูลไมครบถวน

การวิเคราะหขอมูลนําแบบสอบถามที่ เก็บไดทั้งหมดมาตรวจสอบความสมบูรณและนําแบบสอบถาม

ที่ตรวจสอบความสมบูรณเรียบรอย มาวิเคราะหดวยโปรแกรมสําเร็จรูป และสถิติที่นํามาใช ในการวิเคราะห ไดแก

Page 73: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

62

1. ขอมูลทั่วไป (ขอมูลทางชีวสังคม) ปจจัยนํา ปจจัยเอื้อและปจจัยเสริม นํามาวิเคราะหดวยสถิติพรรณนา ไดแก ความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่ออธิบายใหเห็นลักษณะของขอมูล

2. วิเคราะหความสัมพันธระหวางปจจัยทางชีวสังคมกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย โดยทดสอบดวยสถิติวิเคราะหความสัมพันธดวยคาไคสแควร (Chi – square)

3. วิเคราะหความสัมพันธของปจจัยนํา ปจจัยเอื้อและปจจัยเสริม แตละปจจัยกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยทดสอบดวยสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient)

Page 74: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

(60)

บทที่ 4ผลการวิเคราะหขอมูล

การศึกษาวิจัยเรื่อง ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เปนการศึกษาเชิงสํารวจโดยใช ระเบียบวิธีการวิจัย เชิงพรรณนา(Descriptive Research) มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปจจัย ที่ มีคว า มสัมพั น ธกับ พ ฤติกร รมก ารอ อกกํ าลั งก ายขอ งบุ คล ากร สั งกัด เทศ บาล ตํ าบ ล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม โดยปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคล ากรไดแก ป จจัย ด านชีวสั งคม ซึ่ งประกอบ ดวย เพศ อายุ สถานภาพสมร ส ระดับการศึกษา รายไดเฉลี่ยตอเดือน โรคประจําตัว และระยะเวลาการทํางาน ปจจัยนําที่ทําใหเกิดพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร ประกอบดวย ความรู เจตคติ และการรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลัง ปจจัยเอื้อที่ทําใหเกิดพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร ประกอบดวย นโยบาย สถานที่และอุปกรณในการออกกําลังกาย และปจจัยเสริมที่ทําใหเกิดพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร ประกอบดวย การไดรับขาวสารจากสื่อตางๆ และการไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลตางๆ พรอมทั้งศึกษาตัวแปรที่มีอํานาจในการทํานายพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ไดกลุมประชากรจํานวน 191 คน

การวิเคราะหขอมูลโดยโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูปสถิติสําคัญที่ใชในการวิเคราะหขอมูลการวิจัยครั้งนี้คือการวิเคราะหความสัมพันธระหวางปจจัยทางชีวสังคมกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย โดยใชสถิติวิเคราะหความสัมพันธ ดวยคาไคสแควร (x2-test) การวิเคราะหความสัมพันธระหวางปจจัยดานพฤติกรรม (ปจจัยนํา ปจจัยเอื้อและปจจัยเสริม) แตละปจจัยพฤติกรรม การออกกําลังกาย โดยใชสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธดวยวิธีการของเพียรสัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) ตามสมมติฐานท่ีตั้งไว 4 ขอ และใชการวิเคราะหขอมูลคือคารอยละ(Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

การเสนอผลการวิ เคราะหขอมูลนําเสนอในรูปของตารางประกอบดวยคําอธิบาย โดย แบงการนําเสนอออกเปน 3 ตอน คือ

ตอนที่ 1 ขอมูลทางชีวสังคมของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

Page 75: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

61

ตอนที่ 2 ลักษณะของตัวแปรที่ทําการศึกษาประกอบดวย ปจจัยนํา ปจจัยเอื้อ ปจจัยเสริม และพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อํ า เภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

ตอนที ่3 การนําเสนอผลการทดสอบสมติฐานสวนที่ 1 ขอมูลทางชีวสังคมของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล

จังหวัดนครปฐม

ตารางที่ 1 จํานวนและรอยละของประชากรจําแนกตามลักษณะทางชีวสังคม

(N =191)

ลักษณะทางชีวสังคม จํานวน รอยละ1. เพศ

ชาย 102 53.40หญิง 89 46.60

2. อาย ุ(ป)20-30 ป 84 43.9831-40 ป 38 19.9041-50 ป 20 10.4751-60 ป 49 25.65

3. สถานภาพสมรสโสด 106 55.50สมรสอยูดวยกัน 22 11.52สมรสแยกกันอยู 17 8.90หยา 44 23.04หมาย 2 1.04

4. ระดับการศึกษาประถมศึกษา 0 00.00มัธยมศึกษาตอนปลาย / ปวช. 67 35.08ปวท. / ปวส. / อนุปริญญาหรือเทียบเทา 51 26.70ปริญญาตรีหรือสูงกวา 73 38.22

Page 76: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

62

จากตารางที่ 1 พบวาประชากรสวนใหญเปนผูชาย รอยละ 53.40 อายุระหวาง 20 - 30 ป รอยละ 43.98 สถานภาพโสด รอยละ 55.50 การศึกษาระดับปริญญาตรีหรือสูงกวา รอยละ 38.22 รายไดเฉลี่ยตอเดือน 10,001 - 15,000 บาท รอยละ 42.90 ไมมีโรคประจําตัว รอยละ 67.54 และทํางานมากกวา 5 ป รอยละ 64.92

ตารางที่ 1(ตอ)

(N =191)

ลักษณะทางชีวสังคม จํานวน รอยละ5. รายไดเฉล่ีย

5,000 - 10,000 บาท 0 00.0010,001- 15,000 บาท 82 42.90

15,001- 20,000 บาท 11 5.8020001- 25,000 บาท 51 26.7025,001-30,000 บาท 47 24.6030,001 บาทขึ้นไป 0 00.00

6. โรคประจําตัวไมมี 129 67.54มี 62 32.46

5. ระยะเวลาในการทํางาน(ป)ต่ํากวา 1 ป 67 35.08มัธยมศึกษาตอนปลาย / ปวช. 124 64.92

Page 77: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

63

ตอนที ่2 ลักษณะของตัวแปรที่ทําการศึกษา

ตารางที่ 2 จํานวนและรอยละของระดับความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายของบุคลากร(N =191)

ระดับความรู จํานวน รอยละระดับดี 171 89.50ระดับปานกลาง 20 10.50ระดับต่ํา 0 0.00

= 16.58 = 2.43

จากตารางที่ 2 พบวาประชากรสวนใหญมีความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายของบุคลากรอยูในระดับดี รอยละ 89.50 รองลงมา มีความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายของบุคลากร อยูในระดับปานกลาง รอยละ 10.50

ตารางที ่3 จํานวนและรอยละของระดับเจตคติเก่ียวกับการการออกกําลังกายของบุคลากร(N =191)

ระดับเจตคติ จํานวน รอยละ

ระดับดี 127 66.50ระดับปานกลาง 0 0.00ระดับต่ํา 64 33.50

= 46.24 = 3.36

Page 78: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

64

จากตารางที่ 3 พบวาประชากรมีเจตคติ เกี่ยวกับการออกกําลังกายของบุคลากร อยูในระดับดี รอยละ 66.50 รองลงมามีเจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายของบุคลากร อยูในระดับต่ํา รอยละ 33.50

ตารางที่ 4 จํานวนและรอยละของระดับการรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกาย ของบุคลากร

(N =191)

ระดับการรับรู จํานวน รอยละระดับดี 73 38.20ระดับปานกลาง 118 61.80ระดับต่ํา 0 0.00

= 40.31 = 2.62

จากตารางที่ 4 พบวาประชากรสวนใหญมีการรับรูประโยชนและอุปสรรคของ การออกกําลังกาย อยูในระดับปานกลาง รอยละ 61.80 รองลงมามีการรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกาย อยูในระดับดี รอยละ 38.20

ตารางที่ 5 จํานวนและรอยละของระดับปจจัยเอื้อเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร(N =191)

ระดับปจจัยเอื้อ จํานวน รอยละ

ระดับดี 103 53.90ระดับปานกลาง 88 46.10ระดับต่ํา 0 0.00

Page 79: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

65

= 40.31 = 2.62

จากตารางที่ 5 พบวาประชากรสวนใหญมีปจจัยเอื้อเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร อยูในระดับดี รอยละ 53.90 รองลงมามีปจจัยเอื้อเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร อยูในระดับปานกลาง รอยละ 46.10

ตารางที่ 6 จํานวนและรอยละของระดับปจจัยเสริมเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร(N =191)

ระดับปจจัยเสริม จํานวน รอยละระดับดี 83 33.00ระดับปานกลาง 85 44.50ระดับต่ํา 43 22.50

= 48.17 = 5.84

จากตารางที ่6 พบวาประชากรสวนใหญมีปจจัยเสริมเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร อยูในระปานกลาง รอยละ 44.50 รองลงมามีปจจัยเสริมเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร อยูในระดับดี รอยละ 33.00

ตารางที่ 7 จํานวนและรอยละระดับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร(N = 191)

Page 80: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

66

ระดับพฤติกรรมการออกกําลังกาย จํานวน รอยละ

ระดับดี 94 49.20ระดับปานกลาง 97 50.80ระดับต่ํา 0 0.00

= 68.37 = 10.76

จากตารางที่ 7 พบวาประชากรสวนใหญมีพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร อยูในระดับปานกลาง รอยละ 50.80 รองลงมามีพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร อยูในระดับดี รอยละ 49.20

ตอนที ่3 การนําเสนอผลการทดสอบสมมุติฐานสมมติฐานที่1 ปจจัยดานชีวสังคมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย

ของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

ตารางที่ 8 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานชีวสังคมกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร (N = 191)

พฤติกรรมการออกกําลังกาย

พฤติกรรมดีพฤติกรรมปานกลาง

พฤติกรรมควรปรับปรุง

ปจจัยดานชีวสังคม

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

X2 dfp-

value

1. เพศ 0.054 1 0.816 ชาย 51 26.70 51 26.70 0 0.00

Page 81: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

67

หญิง 43 22.51 46 21.08 0 0.002. อาย ุ(ป) 0.269 3 0.966

21-30 ป 40 20.94 44 23.04 0 0.0031-40 ป 20 10.47 18 9.42 0 0.0041-50 ป 10 5.24 10 5.24 0 0.0051-60 ป 24 12.56 25 13.09 0 0.00

2. สถานภาพสมรส 0.435 4 0.979โสด 51 26.70 55 28.80 0 0.00สมรสอยูดวยกัน 10 5.24 12 6.28 0 0.00สมรสแยกกันอยู 9 4.71 8 4.19 0 0.00หยา 23 12.04 21 10.99 0 0.00หมาย 1 0.52 1 0.52 0 0.00

3. ระดับการศึกษา 0.816 2 0.665 มัธยมศึกษาตอนปลาย / ปวช.

34 17.80 33 17.28 0 0.00

ปวท./ปวส./อนุปริญญาหรือเทียบเทา

27 14.13 24 12.56 0 0.00

ปริญญาตรีหรือสูงกวา 33 17.28 40 20.94 0 0.00

ตารางที่ 8 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานชีวสังคมกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร (ตอ) (N = 191)

พฤติกรรมการออกกําลังกาย

พฤติกรรมดีพฤติกรรมปานกลาง

พฤติกรรมควรปรับปรุง

ปจจัยดานชีวสังคม

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

X2 dfp-value

4. รายไดเฉลี่ยตอเดือน (บาท)

0.461 3 0.927

10,001 - 15,000 40 20.94 42 21.99 0 0.0015,001 - 20,000 5 2.61 6 3.14 0 0.00

Page 82: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

68

20,001 - 25,000 27 14.13 24 12.56 0 0.0025,001 - 30,000 22 11.51 25 13.09 0 0.00

5. โรคประจําตัว 0.211 1 0.646ไมมี 62 32.46 67 35.08 0 0.00มี 32 16.75 30 15.70 0 0.00

6. ร ะ ย ะ เ ว ล า ใ น ก า รทํางาน (ป)

0.097 1 0.756

ต่ํากวา 1 ป 34 17.80 33 17.28 0 0.00มากกวา 5 ป 60 31.41 64 33.51 0 0.00

*P < .05

จากตารางที่ 8 พบวา ปจจัยดานชีวสังคมไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร เปนการไมยอมรับสมมติฐาน

สมมติฐานที่ 2 ปจจัยนํามีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

*P <0.05

จากตารางที่ 9 พบวา ปจจัยนําดานความรูในเกี่ยวกับการออกกําลังกายของบุคลากรและการรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล

ตารางที่ 9 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางปจจัยนํากับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร พฤติกรรมการออกกําลังกาย

ปจจัยนําคาสหสัมพันธ (r) p - value

ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายของบุคลากร 21.648 0.000*เจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายของบุคลากร -.090 0.215การรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกาย 121.932 0.000*

Page 83: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

69

จังหวัดนครปฐม มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ.05 เปนการยอมรับสมมติฐานสวนเจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายของบุคลากรไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย

สมมติฐานที่ 3 ปจจัยเอื้อมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

*p <0.05

จากตารางที่ 10 พบวาปจจัยเอื้อดานนโยบายเทศบาลและดานสถานที่และอุปกรณ ในการออกกําลังกาย มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เปนการยอมรับสมมติฐานสมมติฐานที่ 4 ปจจัยเสริมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร

สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

*p <0.05

ตารางที่ 10 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางปจจัยเอื้อมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร

พฤติกรรมการออกกําลังกายปจจัยเอื้อ

คาสหสัมพันธ (r) p - valueดานนโยบายเทศบาล 158.138 0.000*ดานสถานที่และอุปกรณในการออกกําลังกาย 0.000 0.000*

ตารางที่ 11 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางปจจัยเสริมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย

ของบุคลากร

พฤติกรรมการออกกําลังกายปจจัยเสริม

คาสหสัมพันธ (r) p - valueการไดรับขาวสารจากสื่อและการไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลตางๆ

0.000 0.000*

Page 84: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

70

จากตารางที่ 11 พบวาปจจัยเสริมการไดรับขาวสารจากสื่อและการไดรับแรงสนับสนุน ทางสังคมจากบุคคลตางๆ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการอกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เปนการยอมรับสมมุติฐาน

Page 85: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

(70)

บทที ่5บทสรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

จากการศึกษาและวิเคราะหปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ทําใหไดขอคนพบ และนํามาเปนขอวิจารณ โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้

1. ขอมูลทางชีวสังคมที่ เกี่ยวของกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย พบวาประชากร สวนใหญเปนผูชาย รอยละ 53.40 อายุระหวาง 20 - 30 ป รอยละ 43.98 สถานภาพสมรสโสด รอยละ 55.50 การศึกษาระดับปริญญาตรีหรือสูงกวา รอยละ 38.22 รายไดเฉลี่ยตอเดือน 10,001 - 15,000 บาท รอยละ 42.90 ไมมีโรคประจําตัว รอยละ 67.54 และทํางานมากกวา 5 ป รอยละ 64.92

2. ปจจัยนําที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ประกอบดวยความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย เจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย และการรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐมกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย พบวา

2.1 ความรู เกี่ยวกับการออกกําลังกาย พบวาประชากรสวนใหญมีความรู อยูในระดับดี และเมื่อวิเคราะหหาความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย พบวาความรู มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร

2.2 เจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย พบวาประชากรสวนใหญมีเจตคติ อยูในระดับดี และเมื่อวิเคราะหหาความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย พบวาเจตคติ ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร

2.3 การรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกาย พบวาประชากร สวนใหญมีการรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกายอยูในระดับปานกลาง และเมื่อวิเคราะหหาความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย พบวาการรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกายมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร

3. ปจจัยเอื้อที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ประกอบดวย นโยบายเทศบาลและสถานที่และอุปกรณในการออกกําลังกาย พบวาประชากรสวนใหญมีปจจัยเอื้อเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกําลังกายอยูในระดับดี และเมื่อวิเคราะหหาความสัมพันธกับพฤติกรรม การออกกําลังกาย พบวาปจจัยเอื้อมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร

Page 86: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

71

4. ปจจัยเสริมที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ประกอบดวย การไดรับขาวสารจากสื่อและการไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลตางๆ พบวาประชากรสวนใหญ ไดรับขาวสารจากสื่อและการไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลตางๆ อยูในระดับดีและเมื่อวิเคราะหความสัมพันธ พบวามีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร

ผลการทดสอบสมมุติฐานสมมติฐานที่ 1 ปจจัยชีวสังคมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย

ของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ไดแก อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายไดเฉลี่ยตอเดือน โรคประจําตัว และระยะเวลาในการทํางาน

ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวาตัวแปรทั้งหมดไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรม การออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม และกลาวไดวา เปนการไมยอมรับสมมติฐาน

สมมติฐานที่ 2 ปจจัยนํามีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรสังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ไดแก ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย เจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายและการรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกาย

ผลการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางปจจัยนํากับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร พบวาปจจัยนํา ความรูในเกี่ยวกับการออกกําลังกาย การรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายอย างมีนัยสํ าคัญทางสถิติที่ ระดับ 0 .05 เปนการยอมรับสมมติฐาน สวนเจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร

สมมติฐานที่ 3 ปจจัยเอื้อมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรสังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ไดแก ดานนโยบายเทศบาล ดานสถานที่และอุปกรณในการออกกําลังกาย

ผลกา รวิ เคร าะหค าสั มป ระสิ ทธิ์ สหสั มพั นธ ระ หว างป จจั ย เอื้อกับพ ฤติกร ร ม การออกกําลังกาย พบวาพบวาปจจัยเอื้อมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 และกลาวไดวา เปนการยอมรับสมมติฐาน

สมมติฐานที่ 4 ปจจัยเสริมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรสังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐมไดแก การไดรับขาวสารจากสื่อ และการไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลตางๆ ผลการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ

Page 87: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

72

ระหวางปจจัยเสริมกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร พบวาการไดรับขาวสารจากสื่อและการไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลตางๆ มีความสัมพันธกับพฤติกรรม การออกกําลังกาย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ี 0.05 และกลาวไดวา เปนการยอมรับสมมติฐาน

จากการศึกษา ในครั้งนี้ชี้ใหเห็นวาบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม มีความรู เจตคติ การรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกายและ การไดรับขาวสารจากสื่อ การไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลตางๆหากประชากร ขาดการกระตุนเตือนอาจไมชวยสงเสริมพฤติกรรมที่ถูกตองได ดังนั้นหนวยงาน บุคลากรหรือ ผูที่เกี่ยวของควรหาแนวทางใหประชากรมีพฤติกรรมการออกกําลังกายอยางเหมาะสมและตอเนื่องเพื่อนําไปสูพฤติกรรมในการออกกําลังกายที่ถูกตองตอไป

5.2 อภิปรายผลและขอเสนอแนะอภิปรายผลการวิจัยจากการศึกษาวิจัย เรื่อง ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย

ของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เปนการศึกษาเชิงสํารวจ (Survey-Sectional) โดยใชระเบียบวิธีการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม จํานวน 191 คน โดยทําการศึกษาความรู เจตคติ การรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกาย นโยบายเทศบาล สถานที่และอุปกรณ การไดรับข า ว ส า ร แ ล ะ ก า ร ไ ด รั บ แ ร ง ส นั บ ส นุ น ท า ง สั งค มโ ด ย แ บ บ ส อ บ ถ า ม ที่ ผู วิ จั ย ส ร า ง ขึ้ น ตามกรอบแนวคิดทฤษฎี พฤติกรรมสุขภาพความเชื่อดานสุขภาพ (Health Belief Model) ความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง (Self-efficacy) แนวคิดเกี่ยวกับแรงสนับสนุนทางสังคม (Social Support Theory) และ PRECEDE Framework สามารถนําผลการศึกษาไปใชประโยชน ในการวางแผนกําหนดวิธีการดําเนินงาน อันจะนําไปสูการสรางเสริมหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกําลังกายใหดีขึ้น รวมทั้งสามารถนําขอมูลและผลการวิจัยไปใชในการศึกษาวิจัยครั้งตอไป จึงสรุปผลการศึกษาตามวัตถุประสงคและสมมติฐานการวิจัย ดังนี้

1. ลักษณะชีวสังคมของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่ทําการศึกษาจํานวน 191 คน

บุคลากรสวนใหญเปนผูชาย รอยละ 53.40 อายุระหวาง 20 - 30 ป รอยละ 43.98 สถานภาพสมรสโสด รอยละ 55.50 การศึกษาระดับปริญญาตรีหรือสูงกวา รอยละ 38.22

Page 88: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

73

รายไดเฉลี่ยตอเดือน 10,001 - 15,000 บาท รอยละ 42.90 ไมมีโรคประจําตัว รอยละ 67.54 และทํางานมากกวา 5 ป รอยละ 64.92

2. ปจจัยนําที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ดังนี้

2.1 ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายบุคลากรสวนใหญมีความรูอยูในระดับดี รอยละ 89.50 รองลงมามีความรู

อยูในระดับปานกลาง รอยละ 10.50 และเมื่อวิเคราะหหาความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย พบวา ความรูมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย อยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ พวงพกา อินทรสุวรรณ (2554)ไดศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร โรงพยาบาลนนทเวช ผลการวิจัยพบวา 1) บุคลากรโรงพยาบาลนนทเวช มีพฤติกรรมการออกกําลังกายอยูในระดับปานกลาง 2) ปจจัยทางชีวสังคม ไดแก เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา รายไดตอเดือน ตําแหนงหนาที่การงาน ชวงเวลาในการขึ้นปฏิบัติงาน ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลนนทเวช 3) ปจจัยนําดานความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายมีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.5 การรับรูประโยชน/อุปสรรคของการออกกําลังกายและเจตคติตอการออกกําลังกายไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย 4) ปจจัยเอื้อ ไดแก นโยบายการสงเสริมการออกกําลังกายของโรงพยาบาล สถานที่และอุปกรณในการออกกําลังกาย การมีและการเขาถึงสถานบริการตาง ๆ มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลนนทเวช อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.5 5) ปจจัยเสริมไดแก การไดรับขาวสารจากสื่อและบุคคลตาง ๆ การไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัว ญาติ เพื่อนรวมงาน ผูบังคับบัญชามีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลนนทเวช อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.5

จากผลการวิจัยแสดงใหเห็นวาความรู เกี่ยวกับการออกกําลังกายสอดคลอง กับผลงานวิจัยที่ผานมานั่นคือ ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายสวนใหญอยูในระดับดี ชี้ใหเห็นวา การใหความรูแกบุคลากรใหมีความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายทําใหบุคลากรตระหนักถึงอันตรายจากการออกกําลังกายและทําใหบุคลากรมีแนวทางในการปองกันตนเองที่ถูกตอง

2.2 เจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายบุคลากรสวนใหญมีเจตคติอยูในระดับดี และเมื่อวิเคราะหหาความสัมพันธกับ

พฤติกรรมการออกกําลังกาย พบวาเจตคติไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ทัศนันท กาบแกว (2549) ศึกษาเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการออกกําลังกาย

Page 89: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

74

ของนักศึกษาผูชวยพยาบาล โรงพยาบาลเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล จํานวนกลุมประชากร 200 คนเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถาม ผลการศึกษาพบวา ตัวแปรเอื้อทุกตัวแปร ไดแกนโยบายของโรงพยาบาลเวชศาสตรเขตรอน สถานที่และอุปกรณในการออกกําลังกาย เวลาที่เหมาะสมในการออกกําลังกาย มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลังกายโดยรวมของนักศึกษาผูชวยพยาบาล อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ(r)เทากับ 0.246, 0.338, 0.260 ตามลําดับ ตัวแปรปจจัยเสริมพบวา มีเพียงตัวแปรเดียว คือการไดรับแรงสนับสนุนจากบุคคลตางๆ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายโดยรวมของนักศึกษาผูชวยพยาบาลอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และเปนความสัมพันธในเชิงบวกโดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) เทากับ 0.378 สวนตัวแปรปจจัยนําทั้งสองตัวแปร คือความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายและทัศนคติตอการออกกําลังกายไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายโดยรวมของนักศึกษาผูชวยพยาบาล จากผลการวิจัยแสดงใหเห็นวาบุคลากรมีเจตคติ เกี่ยวกับการออกกําลังกายสอดคลองกับผลงานวิจัยที่ผานมานั่นคือเจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายสวนใหญอยูในระดับดีชี้ใหเห็นวาบุคลากรใหมีเจตคติที่ดีเกี่ยวกับการออกกําลังกายทําใหบุคลากรตระหนักถึงอันตราย ที่อาจจะเกิดจากการออกกําลังกายในขณะที่ออกกําลังกายและทําใหบุคลากรมีการปองกันตนเองจากอันตรายที่จะเกิดกับตัวเองไดอยางถูกตอง

2.3 การรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกายบุคลากรสวนใหญมีการรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกาย อยูในระดับ

ปานกลาง และเมื่อวิเคราะหหาความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย พบวาการรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกาย มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ สิทธิพร เสียงใหญ (2556) ไดศึกษาปจจัย ที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายบุคลากร โรงพยาบาลหัวหิน สังกัดสํานักงานสาธารณสุข จังหวัดประจวบคีรีขันธ ผลการวิจัยพบวาบุคลากร โรงพยาบาลหัวหิน สังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ มีพฤติกรรมการออกกําลังกาย อยูในระดับปานกลาง ปจจัยทางชีวสังคม ทุกตัวแปรไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลหัวหินปจจัยนําที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลหัวหินที่ระดับ .01 คือเจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย การรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกายสวนความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลหัวหินอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ปจจัยเอื้อไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลหัวหินอยางนัยสําคัญทางสถิติ ปจจัยเสริมที่มีความสัมพันธ

Page 90: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

75

กับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลหัวหินอยางนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คือ การไดรับแรงสนับสนุนจากสังคมและการไดรับขาวสารจากสื่อ

จากผลการวิจัยแสดงใหเห็นวาบุคลากรมีการรับรูประโยชนและอุปสรรคของ การออกกําลังกาย สอดคลองกับผลงานวิจัยที่ผานมานั่นคือการรับรูประโยชนและอุปสรรคของ การออกกําลังกายสวนใหญอยูในระดับปานกลาง ชี้ใหเห็นวาบุคลากรมีการรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกาย และทําใหบุคลากรมักไมเอาใจใสและละเลยขณะออกกําลังกาย ซึ่งอาจทําใหเกิดอันตรายจากการออกกําลังกาย บุคลากรควรรูจักวิธีการปองกันอันตรายที่อาจ จะเกิดขึ้นในขณะที่ออกกําลังกายเพื่อเปนการปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นไดอยางถูกตอง

3. ปจจัยเอื้อที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ประกอบดวย นโยบายเทศบาล สถานที่และอุปกรณ ในการออกกําลังกาย

พบวากลุมประชากรสวนใหญมีปจจัย เอื้อ เกี่ ยวกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย อยูในระดับดี และเมื่อวิเคราะหหาความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย พบวาปจจัยเอื้อ มี ค ว า ม สั ม พั น ธ กั บ พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร อ อ ก กํ า ลั ง ก า ย ข อ ง บุ ค ล า ก ร สั ง กั ด เ ท ศ บ า ล ตํ า บ ล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ทัศนันท ดาบแกว (2549) ศึกษาเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการออกกําลังกายของนักศึกษาผูชวยพยาบาล โรงพยาบาลเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล จํานวนกลุมประชากร 200 คนเก็บขอมูล โดยใชแบบสอบถาม ผลการศึกษาพบวา ตัวแปรเอื้อทุกตัวแปร ไดแกนโยบายของโรงพยาบาลเวชศาสตรเขตรอน สถานที่และอุปกรณในการออกกําลังกาย เวลาที่เหมาะสมในการออกกําลังกาย มีความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการออกกําลังกายโดยรวมของนักศึกษาผูชวยพยาบาล อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) เทากับ 0.246 , 0.338 , 0.260 ตามลําดับ ตัวแปรปจจัยเสริมพบวา มีเพียงตัวแปรเดียว คือการไดรับแรงสนับสนุนจากบุคคลตางๆ มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายโดยรวมของนักศึกษาผูชวยพยาบาลอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และเปนความสัมพันธในเชิงบวกโดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) เทากับ 0.378 สวนตัวแปรปจจัยนําทั้งสองตัวแปร คือความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายและทัศนคติ ตอการออกกํ าลั งกายไ มมีความสัมพัน ธกับพฤติ กรรมการออกกําลั งกายโดย รวมของ นักศึกษาผูชวยพยาบาล

จากการวิจัยชี้ใหเห็นวาเทศบาลหรือหนวยงานมีการกําหนดนโยบาย สถานที่และอุปกรณ ในการออกกําลังกาย เพื่อใหบุคลากรมีความรู ความสามารถและประสบการณในเรื่อง การออกกําลังกาย และเปนการลดการเกิดอุบัติเหตุจากการออกกําลังกาย เปนตน

Page 91: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

76

4. ปจจัยเสริมที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ประกอบดวย การไดรับขาวสารจากสื่อและการไดรับ แรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลตางๆ

พบวา ประชากรสวนใหญการไดรับขาวสารจากสื่อและการไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลตางๆ อยูในระดับดี และเมื่อวิเคราะหความสัมพันธพบวามีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ซึ่งไมสอดคลองกับงานวิจัยของ สุกัญญา อุชชิน (2551) ไดศึกษาเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพของบุคลากรกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จังหวัดนนทบุรี กลุมประชากร จํานวน 275 คน เก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบวา บุคลากรกรมอนามัยมีพฤติกรรมการออกกําลังกาย อยูในระดับปานกลาง ปจจัยทางชีวสังคม ไดแก อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ การสมรส รายไดเฉลี่ยตอเดือน สถานภาพของตําแหนงงาน ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย เพื่อสุขภาพ ปจจัยนําไดแก ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกายและทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ปจจัยเอื้อ ไดแก นโยบายสงเสริมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพของกรมอนามัย การมี/การเขาถึง สถานที่และอุปกรณ ในการออกกําลังกาย ปจจัยเสริมไดแก การไดรับรูขอมูลขาวสารการออกกําลังกายจากสื่อตางๆและการไดรับการสนับสนุนจากบุคคล มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย ตัวแปรที่มีอํานาจในการทํานายพฤติกรรม การออกกําลังกายมีตัวแปรเดียว คือ ปจจัยเสริม รอยละ 2.10 โดยตัวแปรดานชีวสังคม ปจจัยนํา ปจจัยเอื้อ ไมสามารถรวมทํานายพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรกรมอนามัยได

จากการวิจัยพบวาปจจัยเสริมดานการไดรับขาวสารจากสื่อและการไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลตางๆ ชี้ใหเห็นวาบุคลากรมีการไดรับแรงสนับสนุน ไมวาจะเปน การไดรับขอมูลขาวสารและการไดรับคําแนะนําจากบุคคลรอบขางของบุคลากร มีความเปนหวงเปนใย และไดรับการใหคําแนะนําหรือใหคําปรึกษาเปนอยางดี เชน เสียงตามสายของสํานักงาน/ชุมชน รับทราบขาวสารกิจกรรมการออกกําลังกาย ครอบครัวสงเสริมและใหกําลังใจในการออกกําลังกาย เพื่อนบาน ในชุมชนชวนใหไปออกกําลังกายอยู เสมอ เปนตน จึงทําใหบุคลากรมีความตระหนักเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกําลังกายมากขึ้น

Page 92: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

77

5.4 ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะในเชิงนโยบายจากผลการวิจัยทําใหทราบถึงปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกาย

ของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ผูวิจัยจึงขอใหขอเสนอแนะ ดังนี้1. การออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

สวนใหญ อยูในระดับปานกลาง ดังนั้น ควรมีนโยบายการสงเสริมการออกกําลังกายใหกับบุคลากรสังกัดเทศบาลตําบล ใหชัดเจน จัดตั้งคณะทํางานดานการสงเสริมการออกกําลังกายในเทศบาล โดยใหบุคลากรทุกฝายทุกหนวยงานเขามามีสวนรวม ในการวางแผนการสงเสริมการออกกําลังกายและลดปจจัยเสี่ยงดานพฤติกรรมสุขภาพที่ไมพึงประสงค แบบองครวมอันนําไปสูการมีสุขภาพที่ดีทั้งทางรางกายและจิตใจ รวมทั้งมีหนาที่กํากับติดตาม ดูแลและประเมินผลการดําเนินงาน ดานการสงเสริมการออกกําลังกาย ในเทศบาลตอไป

2. จัดทําบันทึกขอตกลงรวมกันระหวางหัวหนาสวนงานแตละกอง เพื่อกําหนดชวงเวลา ที่ใหมีการเคลื่อนไหวออกแรงหรือออกกําลังกายในที่ทํางาน เชน ออกกําลังกายอยางนอย 3 ครั้ง/สัปดาห ครั้งละ 20 - 30 นาที เพื่อนําไปสูการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล

3. มีการศึกษาวิจัย ดานการเคลื่อนไหวและออกกําลังกาย ในเทศบาลอยางตอเนื่อง เพื่อสรางองคความรูใหมๆดานการเคลื่อนไหวและออกกําลังกาย ผลการวิจัยสามารถนํามาประยุกตใชกับการสงเสริมสุขภาพของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล

4. จัดหาทุนฝกอบรมหรือศึกษาตอเฉพาะดานการออกกําลังกาย เพื่อสุขภาพแกบุคลากรเทศบาลตําบล และเปดรับสมัครบุคคลที่จบดานนี้โดยตรง เพื่อใหปฏิบัติหนาที่ดานการสงเสริม การออกกําลังกาย ไดอยางเต็มศักยภาพและคลองตัวยิ่งขึ้น

5. จัดสรรงบประมาณเพื่อการสรางกระแส ประชาสัมพันธและเสริมแรงจูงใจอยางตอเนื่อง เพื่อใหบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล ออกกําลังกายอยางตอเนื่อง และเปนการสรางคานิยม ดานการออกกําลังกาย ที่ดีในเทศบาลตําบล

Page 93: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

78

ขอเสนอแนะเชิงปฏิบัติ1. สงเสริมการออกกําลังกายใหกับบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อยางตอเนื่อง

เชน การแขงขันกีฬาสานสัมพันธเครือขายระหวางเทศบาลดวยกัน2. การจัดตั้งชมรมออกกําลังกายและกีฬา เนนใหบุคลากร มีการเคลื่อนไหวรางกายและ

ออกกําลังกาย และเนนการใหความรูและหลักการออกกําลังกายที่ถูกตอง ซึ่งจะนําไปสูการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร ที่ดียิ่งขึ้น

3. สรางแกนนําดานการออกกําลังกายในเทศบาล เชน แกนนําในหนวยงานมีการจัดอบรมเรื่องการออกกําลังกายที่ถูกตอง เพื่อนําไปถายทอดใหกับบุคลากร

4. มีการประยุกตใช เทคโนโลยีดานการออกกําลังกาย สื่อดานสุขภาพตางๆ เชน เสียงตามสาย แผนพับ โปสเตอร วารสาร เฟสบุค รวมทั้งนวัตกรรมการสงเสริมสุขภาพ ใหเหมาะสมกับบุคลาก เพื่อกระตุนสรางความตื่นตัวเรื่องการออกกําลังกายและเผยแพรความรูดานการออกกําลังกายใหเขาถึงทุกคน

5. ควรจัดใหมีการประชุมรวมกับทุกหนวยงาน ที่มีสวนเกี่ยวของกับการดําเนินงาน ตามนโยบายสรางสุขภาพดานออกกําลังกาย ทั้งในระดับนโยบาย และระดับปฏิบัติเปนระยะๆ เพื่อปรับกลยุทธใหเหมาะสมในการดําเนินงานใหบรรลุเปาหมาย บุคลากร ออกกําลังกายมากขึ้น ตามนโยบายของเทศบาล ด านการสงเสริมสุขภาพและแผนพัฒนาสามปของเทศบาล แผนยุทธศาสตรระดับจังหวัด ตลอดจนแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ

6. ทําการศึกษาผลลัพธ ผลกระทบของการออกกําลังกาย ตอสุขภาพของบุคลากร และเปรียบเทียบระหวางกอนและหลังการดําเนินงาน

ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป1. การศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกาย

ของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม2. การศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสุขภาพเพื่ อ เพิ่ มความรู และฝกทักษะ

ในการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม3. การศึกษาเรื่องการพัฒนาโปรแกรมสุขภาพสําหรับบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล

อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ที่มีภาวะอวนลงพุง

Page 94: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

79

Page 95: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

(79)

บรรณานุกรม

หนังสือและบทความในหนังสือ

กรมอนามัย. คูมือสงเสริมการออกกําลังกาย. สํานักสงเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. นนทบุรี, 2547.

กระทรวงสาธารณสุข. แผนแมบทกระทรวงสาธารณสุข ดานออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ (พ.ศ.2546-2549). กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. นนทบุรี, 2546.

กรมอนามัย.แผน 10 ของกระทรวงสาธารณสุขตามแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติในชวง แผนพัฒนา

เศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554). กระทรวงสาธารณสุขนนทบุรี, 2550.

______ . แผน 11 ของกระทรวงสาธารณสุขตามแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติในชวง แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติฉบับที่ 11(พ.ศ. 2555 - 2559). กระทรวงสาธารณสุข นนทบุรี, 2555.

กลุมงานสนับสนุนวิชาการ กองออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ. สถานการณเคลื่อนไหวออกแรง ออกกําลังกาย. กระทรวงสาธารณสุข, นนทบุรี, 2550.

กฤตภาส หลักหนองจิก “การศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของอาสาสมัครสาธารณสุขประจํา หมูบานในเขตตําบลหนองครก อําเภอเมือง จังหวัดศรีษะเกษ” โรงพยาบาลสงเสริม สุขภาพตําบลหนองครก จังหวัดศรีษะเกษ, 2553.จรินทร ธานีรัตน. อนามัยสวนบุคคล. พิมพครั้งที่ 2. สํานักพิมพโอเดียนสโตร. กรุงเทพฯ, 2529.เจริญ กระบวนรัตน. การออกกําลังกายกับชีวิตและสุขภาพ. วารสารกรมกรมพลศึกษา, 2530.จินตนา รังคะวงษ . “ปจจัยที่มีผลตอการออกกําลังกายของเจาหนาที่โรงพยาบาลลําปาง” .

วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2548.จุมพล สุรกิจ. “ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพของบุคลากรในสังกัด

สํ า นั ก ง า น ส า ธ า ร ณ สุ ข จั ง ห วั ด ส มุ ท ร ส ง ค ร า ม ” . วิ ท ย า นิ พ น ธ ป ริ ญ ญ า โ ท . มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2550.

เฉลิมรัตน เพียรพึ่งตน,เนตรชนก พฤติสาร,พชรภรณ ชูชาติ. “ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการออกกําลังกายของบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขที่อาศัยอยูในโรงพยาบาลพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก. วิทยานิพนธปริญญาโท. คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2551.

Page 96: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

80

ดํารง กิจกุศล. คูมือออกกําลังกาย. สํานักพิมพหมอชาวบาน. กรุงเทพฯ, 2540.ทัศนันท กาบแกว. “ ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษาผูชวยพยาบาล

โรงพยาบาลเวชศาสตร เขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล” . วิทยานิพนธปริญญาโท . มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2549.

ธนวรรธน อิ่มสมบูรณ. การสอนสุขศึกษาเพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ. วารสารสุขศึกษา พลศึกษาสันทนาการ, 2532.

ธัญชนก ขุนทอง. “ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากกรมวิทยาศาสตรการแพทยกระทรวงสาธารณสุข. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2548.

นพวรรณ พันธุเมธา . คูมือการใชภาษาไทยแนวใหม คลังคํา. บริษัทอัมรินทรพริ้นติ้งแอนด พลับลิชซิ่ง จํากัด (มหาชน). กรุงเทพฯ, 2544.

บุญเทียน แกวมงคล “การมีสวนรวมของชุมชนในการสงเสริมการออกกําลังกาย บานหวยเกี๋ยง ตําบลหนองหาร อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม”. วิทยานิพนธ คณะพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2552.ปรินดา จําปาทอง. “พฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรสาธารณสุขในอําเภอเมือง จังหวัด

เชียงใหม”.วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2552.

แผนพัฒนาสามป. เทศบาลตําบลคลองโยง อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม, พ.ศ. 2558-2560.แผนพัฒนาสามป. เทศบาลตําบลศาลายา อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม, พ.ศ. 2558-2560.พวงผกา อินทรสุวรรณ “ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร

โรงพยาบาลนนทเวช ” วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2554.ไพฑูรย โฆษิตธนสาร “ปจจัยที่มีผลกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของเยาวชนในจังหวัดชัยภูมิ”

วิทยานิพนธปริญญาโท การจัดการกีฬาและสุขภาพ. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2553.เยาวเรศ จันฑูรย. “การรับรูอุปสรรค ในการออกกําลังกายตอการออกกําลังกายของบุคลากรใน

มหาวิทยาลัยเชียงใหม”. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2551.รสรินทร แกวตา. “ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการรับประทานอาหารและออกกําลังกาย

ของบุคลากรคณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี” . วิทยานิพนธปริญญาโท . มหาวิทยาลัยมหิดล, 2551.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. บริษัทนานมีบุคส จํากัด. กรุงเทพฯ, 2542.

Page 97: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

81

ศิริรัตน ปรมัตถากร. สมรรถภาพทางกายและการกีฬา. คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล. มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพฯ, 2539.

ศิริรัตน หิรัญรัตน. การเสริมสรางสมรรถภาพทางกายและทางกีฬา. โรงเรียนกีฬาเวชศาสตร คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล กรุงเทพฯ, 2539.

สิทธิพร เสียงใหญ “ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาลหัวหิน สังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ ” วิทยานิพนธปริญญาโท.

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2556.เสาวภา กิตติวิริยกุล “ปจจัยที่มีความสัมพันธกับฤติกรรมการการสงเสริมสุขภาพของบุคลากรใน

เทศบาลตําบลละหานทราย อําเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย” วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2555.สุนันทา ธงทอง “ปจจัยที่มีความสัมพันธตอพฤติกรรมการออกําลังกายของบุคลากรโรงพยาบาล

วังทรายพูน จังหวัดพิจิตร ” วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2556.

สมบัติ กาญจนกิจ. พฤติกรรมการออกกําลังกาย. สํานักพัฒนาวิชาการแพทย กรมการแพทย. นนทบุรี, 2541.

สํานักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข. กรอบยุทธศาสตร งานสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรคระดับชาติ ป 2554-2558. สามเจริญพาณิชย (กรุงเทพ) จํากัด.กรุงเทพฯ, 2554.

สํานักงานสถิติแหงชาติ. สารสถิติ. สํานักสถิติพยากรณ. กรุงเทพฯ, 2554.สุกัญญา อุชชิน. “ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพของบุคลากร กรม

อ น า มั ย ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ สุ ข จั ง ห วั ด น น ท บุ รี ” .วิ ท ย า นิ พ น ธ ป ริ ญ ญ า โ ท .มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2551.

สุชาติ โสมประยูร. สุขศึกษาภาคปฏิบัติ. สํานักพิมพสุขภาพใจ. กรุงเทพฯ, 2542.เสก อัษรานเคราะห. ออกกําลังกายสายกลางเพื่อชะลอวัย. โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด .

กรุงเทพฯ, 2543.อัจฉวี ออนแกว. “ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร

ทางการพยาบาล ในกองอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา”. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2550.

อัจฉโรบล แสงประเสริฐและสุดกัญญา ปานเจริญ. “ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรม

Page 98: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

82

การออกกําลังกายของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสวรรคประชารักษ จังหวัดนครสวรรค” งานวิจัยปริญญา.กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2553.

Bloom, B . S. TasconancyofEducation.DavidMckay Company Inc. New York, 1975.Cobb, S.Social Support as a Moderator of Life Stress.PsychosometiesMedical.n.p. , 1976.Green, L. W. Health Education Planning. A Diagnosis Approach. California Mayfield

Public. New York, 1980.Green, L. W. and M. W. Kreuter.Health Promotion Planning; An Educational and

Environmental Approach.Mayfield Public Company.Toronto, 1991.Gottlied, B. H. 1985. Social Network and Social Support: an Overview of Research. Practice

and Policy implication Health Education Quarterly, n.p.

Page 99: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

(83)

ภาคผนวก

Page 100: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

84

ภาคผนวก กรายนามผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือวิจัย

Page 101: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

85

รายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือวิจัย

นายพงษศักดิ์ คชาทอง ตําแหนง ผูอํานวยการโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล บานคลองสวางอารมณ

การศึกษา ส.บ. (สาธารณสุขศาสตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วท.ม. (บริหารงานสาธารณสุข) คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

สถานที่ทํางาน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล บานคลองสวางอารมณ อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม

นางไพรินทร พูลสุขโข ตําแหนง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการการศึกษา พย.บ. (พยาบาลศาสตร) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี

จักรีรัชวท.ม. (การพยาบาลสาธารณสุข) คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

สถานที่ทํางาน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลคลองโยง 1 อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

นางบุษราคัม จิตอารีย ตําแหนง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการการศึกษา พย.บ. (พยาบาลศาสตร)

พย.ม. (การพยาบาลผูใหญ) สาขาเวชปฏิบัติชุมชนคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยคริสเตียน

สถานที่ทํางาน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลคลองโยง 2 อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

Page 102: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

86

ภาคผนวก ขแบบสอบถามการวิจัย

Page 103: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

87

แบบสอบถามเรื่อง ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร

สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม

คําชี้แจงแบบสอบถามนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาขอมูลทั่วไป ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย

เจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย การรับรูประโยชนและอุปสรรคของของการออกกําลังกาย ปจจัยเอื้อเกี่ยวกับการออกกําลังกาย และปจจัยเสริมเกี่ยวกับการออกกําลังกาย และศึกษาปจจัย ที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร สังกัดเทศบาลตําบล อําเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เพื่อตองการทราบความคิดเห็นของทานตามสภาพความเปนจริง ขอใหทานตอบดวยความสบายใจ ตามความรูสึกที่ แทจริ งของท าน คํ าตอบที่ ไดจะเก็บ เปนความลับ ไมมีผลกระทบตอตัวทาน แตกลับจะเปนประโยชนกับสวนรวม และจะชวยสรางแนวทางในการวางแผน กําหนดนโยบายและแนวทางในการพัฒนาสุขภาพของบุคลากร และเพื่อประโยชนตอประชาชน ครอบครัวและชุมชน เพราะผูศึกษาจะนําคําตอบจากทานไปวิเคราะหและหาแนวทาง ในการที่จะปรับปรุงนโยบายเพื่อเสริมสรางพฤติกรรมการออกกําลังกาย ใหมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด

1. แบบสอบถามชุดนี้มีทั้งหมด 5 สวน ดังนี้สวนที่ 1 ปจจัยชีวสังคม จํานวน 7 ขอสวนที่ 2 ปจจัยนํา ประกอบดวย

2.1 ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย จํานนว 20 ขอ 2.2 เจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย จํานวน 17 ขอ 2.3 การรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกาย จํานวน 14 ขอ

สวนที่ 3 ปจจัยเอื้อเกี่ยวกับการออกกําลังกาย จํานวน 14 ขอสวนที่ 4 ปจจัยเสริมเกี่ยวกับการออกกําลังกาย จํานวน 14 ขอสวนที่ 5 พฤติกรรมการออกกําลังกาย จํานวน 20 ขอ

กรุณาตอบแบบสอบถามใหครบทุกขอตามความเปนจริงขอขอบคุณทุกทานที่ใหความรวมมือเปนอยางดียิ่งในการตอบแบบสอบถามครั้งนี้

Page 104: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

88

สวนที่ 1 ปจจัยชีวสังคม

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชอง ( ) หรือเติมขอความลงในชองวางที่ตรงกับความเปนจริงมากที่สุด

1. เพศ

( ) 1. ชาย ( ) 2. หญิง

2. อายุ..................ป (เต็มบริบูรณ)

3. สถานภาพสมรส

( ) 1. โสด ( ) 2. สมรสอยูดวยกัน( ) 3. สมรสแยกกันอยู ( ) 4. หยา( ) 5. หมาย

4. ระดับการศึกษา

( ) 1. ประถมศึกษา ( ) 2. มัธยมศึกษาตอนตน( ) 3. มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ( ) 4. ปวท./ปวส./อนุปริญญา หรือเทียบเทา( ) 5. ปริญญาตรี หรือสูงกวา

5. รายไดเฉลี่ยตอเดือน

( ) 1. 5,000-10,000 บาท ( ) 2. 10,001-15,000 บาท( ) 3. 15,001-20,000 บาท ( ) 4. 20,001-25,000บาท( ) 5. 25,001-30,000 บาท ( ) 6. 30,001บาท ขึ้นไป

6. โรคประจําตัว

( ) 1. ไมมี ( ) 2. มี ระบุ…………………

7. ระยะเวลาการทํางาน …………………..ป

Page 105: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

89

สวนที่ 2 ปจจัยนํา2.1 แบบสอบถามความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ การออกกําลังกาย เพียงคําตอบเดียวในแตละขอคําถาม

ลําดับที่

ขอคําถาม ใช ไมใช ไมทราบ

1 การออกกําลังกายคือ การกระทําของรางกายที่มีการเคลื่อนไหวสวนตางๆของรางกาย

2 การออกกําลังกายแบบแอโรบิค เปนการออกกําลังกายชนิดที่ตองใชออกซิเจนในการสรางพลังงาน

3 การออกกําลังกายแบบแอโรบิค เปนวิธีการปองกันการเกิดโรคเรื้อรังตางๆ

4 การออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ ชวยทําใหรางกาย มีความแข็งแรง

5 การออกกําลังกายแตละครั้ง ควรใชเวลา 20-30 นาที6 การออกกําลังกายควรทําวันละนอยๆ แลวคอยๆ

เพิ่มขึ้น ตามลําดับ7 การออกกําลังกายชวยทําใหผอนคลายความเครียดได8 การออกกําลังกายสามารถชะลอความเสื่อมของอวัยวะ

ตางๆ ไดอยางดีที่สุด9 การออกกําลังกายเปนการลดความอวนและควบคุม

น้ําหนักตัวไดผลดีที่สุด10 การออกกําลังกายสม่ําเสมอตามสภาพรางกายจะทําให

เกิดประโยชนตอรางกายมากที่สุด

Page 106: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

90

ลําดับที่

ขอคําถาม ใช ไมใช ไมทราบ

11 การออกกําลังกายชวยทําใหลดระดับคลอเลสเตอรอล12 การออกกําลังกายชวยทําใหระบบขับถายดีขึ้น13 การออกกําลังกายชวยใหกลามเนื้อแข็งแรงขึ้นและ

สามารถทรงตัวไดดีขึ้น มีความกระฉับกระเฉง

14การออกกําลังกายที่พอควรจะทําใหมีการหลั่งสารเอ็นดอรฟน ซึ่งเปนสารที่ทําใหระดับน้ําตาลลดลง

15การออกกําลังกายจะตองปฏิบัติอยางนอยสัปดาหละ 3-5 วันตอสัปดาหจึงจะไดผลดีที่สุด

16การขาดการออกกําลังกายของวัยกลางคนและวัยชราเปนสาเหตุของโรครายแรงหลายชนิด เชน โรคความดันโลหิตสูง/โรคเบาหวาน/โรคประสาทเสียดุลยภาพ

17การออกกําลังกายควรทําครบ 3 ขั้นตอน ขั้นอบอุนรางกาย ขั้นออกกําลังกาย ขั้นผอนคลายรางกาย

18การออกกําลังกายทําใหรางกายมีประสิทธิภาพในการทํางานไดนานและไมเหนื่อยงาย

19การออกกําลังกายเปนประจําทําใหกลามเนื้อหัวใจแข็งแรง

20การออกกําลังกายชวยลดความเสี่ยงตอการเปนโรคความดันโลหิตสูง

Page 107: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

91

2.2 แบบสอบถามเจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายคําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความคิดเห็นของทานมากที่สุดเพียงขอเดียวในแตละขอความ โดยมีหลักเกณฑดังนี้

เห็นดวยอยางยิ่ง หมายถึง ทานมีความรูสึกเห็นดวยกับขอความนั้น มากที่สุดเห็นดวย หมายถึง ทานมีความรูสึกเห็นดวยกับขอความนั้นเปนสวนมากไมเห็นดวย หมายถึง ทานไมเห็นดวยกับขอความนั้น เปนสวนมากไมเห็นดวยอยางยิ่ง หมายถึง ทานไมเห็นดวยกับขอความนั้น มากที่สุด

ลําดับที่

ขอคําถามเห็นดวยอยางยิ่ง

เห็นดวยไมเห็น

ดวย

ไมเห็นดวยอยาง

ยิ่ง1 ผูที่ออกกําลังกายอยางเหมาะสมและ

สม่ําเสมอจะเปนผูมีรางกายสมบูรณแข็งแรง

2 คนที่ออกกําลังกายประจําจะมีภูมิตานทานโรค

3 คนที่อยากอายุยืนตองออกกําลังกาย4 คนที่ออกกําลังกายจะมีรางกายสดชื่น

กระปรี้กระเปรา ตื่นตัว5 กลุมเพื่อนมีอิทธิพลตอความสนใจ

ในการออกกําลังกาย6 คนที่มีน้ําหนักมาก ไมควรออกกําลัง

กายเพราะจะทําใหเกิดการบาดเจ็บไดงาย

7 การออกกําลังกายทําใหเสียเวลา ในการพักผอน

Page 108: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

92

ลําดับที่

ขอคําถามเห็นดวยอยางยิ่ง

เห็นดวยไมเห็น

ดวย

ไมเห็นดวยอยาง

ยิ่ง8 การออกกําลังกาย ชวยรักษาขอตอ

เสื่อมสภาพได9 ออกกําลังกายทําใหปวดเมื่อยตามตัว

รูสึกไมสบาย10 ไมอยากไปออกกําลังกาย เพราะกลัว

ไดรับบาดเจ็บ11 คนที่รูปรางดี ไมจําเปนตองออก

กําลังกาย12 การไปออกกําลังกายทําใหขาดรายได

มาเลี้ยงครอบครัว13 ทานรูสึกเหนื่อยจากการทํางานทําให

ไมอยากออกกําลังกาย14 การออกกําลังกายเปนภารกิจที่ยุงยาก

และนาเบื่อ15 ผูทํางานหนักไมจําเปนตอง

ออกกําลังกาย16 การออกกําลังกายเปนการเสริมสราง

บุคลิกภาพ17 การออกกําลังกายชวยชะลอความชรา

Page 109: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

93

2.3 แบบสอบถามการรับรูประโยชนและอุปสรรคของการออกกําลังกายคําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความคิดเห็นของทานมากที่สุดเพียงขอเดียวในแตละขอความ โดยมีหลักเกณฑดังนี้

เห็นดวยอยางยิ่ง หมายถึง ทานมีความรูสึกเห็นดวยกับขอความนั้น มากที่สุดเห็นดวย หมายถึง ทานมีความรูสึกเห็นดวยกับขอความนั้นเปนสวนมากไมเห็นดวย หมายถึง ทานไมเห็นดวยกับขอความนั้น เปนสวนมากไมเห็นดวยอยางยิ่ง หมายถึง ทานไมเห็นดวยกับขอความนั้น มากที่สุด

ลําดับที่

ขอคําถามเห็นดวยอยางยิ่ง

เห็นดวยไมเห็น

ดวย

ไมเห็นดวยอยาง

ยิ่ง1 การออกกําลังกายชวยสงเสริม

การควบคุมน้ําหนักและสุขภาพดี2 การออกกําลังกายจะลดความเสี่ยง

ของการเกิดโรคหัวใจ3 การออกกําลังกายชวยสงเสริมใหมี

สัดสวนและรูปรางดี4 การออกกําลังกายชวยใหการ

เคลื่อนไหวคลองตัวและปอดแข็งแรง5 การออกกําลังกายชวยใหคลายเครียด6 การออกกําลังกายทําใหหลับสบาย7 การไมไดออกกําลังกายทําใหเกิด

ภาวะเสื่อมตางๆของรางกายเพิ่มมากขึ้น

8 การออกกําลังกายทําใหระบบการยอยอาหารดีขึ้น

Page 110: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

94

ลําดับที่

ขอคําถามเห็นดวยอยางยิ่ง

เห็นดวยไมเห็น

ดวย

ไมเห็นดวยอยาง

ยิ่ง9 ทานมีโรคประจําตัวเปนขอจํากัด

ในการออกกําลังกาย10 การออกกําลังกายทําใหเสียเวลา11 งานบาน/งานประจําทําไมมีเวลาออก

กําลังกาย12 การออกกําลังกายทําใหสิ้นเปลือง

คาใชจาย เชน ชุดออกกําลังกาย13 อุปกรณในการออกกําลังกายไม

เพียงพอ14 เวลาที่จัดไวในสถานที่ออกกําลังกาย

ไมสะดวกสําหรับทาน

Page 111: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

95

สวนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับปจจัยเอื้อคําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความจริงมากที่สุดเพียงขอเดียวในแตละขอคําถามโดยมีหลักเกณฑดังนี้

เห็นดวยอยางยิ่ง หมายถึง ขอความน้ันๆตรงกับความรูสึกของทานมากที่สุดทุกประการเห็นดวย หมายถึง ขอความน้ันๆ ตรงกับความรูสึกของทานมากกวาไมเห็นดวยไมเห็นดวย หมายถึง ทานไมเห็นดวยกับขอความนั้นหรือตรงกับความรูสึกเพียง

เล็กนอยไมเห็นดวยอยางยิ่งหมายถึง ทานไมเห็นดวยกับขอความนั้นหรือไมตรงกับความรูสึกเลย

มากที่สุด

ลําดับที่

ขอคําถามเห็นดวยอยางยิ่ง

เห็นดวยไมเห็น

ดวย

ไมเห็นดวยอยาง

ยิ่ง1 เทศบาลตําบลมีการกําหนดนโยบาย

ใหบุคลากร ออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ

2 มีการกําหนดเวลาของบุคลากร เพื่อเปนชวงเวลาในการออกกําลังกาย

3 จัดกิจกรรมสงเสริมใหบุคลากรมีสวนรวมในการออกกําลังกายและเลนกีฬา

4 จัดใหมีสถานที่เพื่อออกกําลังกายของบุคลากร

5 มีสถานที่มีความสะดวกในการออกกําลังกาย

6 สถานที่ออกกําลังกายอยูในสํานักงาน7 สถานที่ออกกําลังกายมีความสวยงาม8 มีสนาม สวนสุขภาพเพื่อใชในการ

ออกกําลังกาย วิ่ง/เดิน9 ระยะเวลาเดินทางไปออกกําลังกาย

Page 112: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

96

มีความสะดวก

ลําดับที่

ขอคําถามเห็นดวยอยางยิ่ง

เห็นดวยไมเห็น

ดวย

ไมเห็นดวยอยาง

ยิ่ง10 อุปกรณในการออกกําลังกายมี

คุณภาพอยูในเกณฑที่ใชได11 อุปกรณในการออกกําลังกายมีใช

พอเพียงกับความตองการของบุคลากร

12 อุปกรณในการออกกําลังกายมีสภาพเกาชํารุด

13 จัดใหมีผูฝกสอนเพื่อแนะนําการออกกําลังกายใหกับบุคลากร

14 ไดรับความสะดวกจากผูดูแลสถานที่ออกกําลังกาย

Page 113: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

97

สวนที่ 4 แบบสอบถามเกี่ยวกับปจจัยเสริมคําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความจริงของทานมากที่สุดเพียงขอเดียว

ในแตละขอความ โดยมีหลักเกณฑดังนี้

เห็นดวยอยางยิ่ง หมายถึง ขอความนั้นๆ ตรงกับความรูสึกหรือความคิดเห็นของทานมากที่สุด

เห็นดวย หมายถึง ขอความนั้นๆ ตรงกับความรูสึกหรือความคิดเห็นของทานเปนสวนมาก

ไมเห็นดวย หมายถึง ขอความนั้นๆ ไมตรงกับความรูสึกหรือความคิดเห็นของทานเพียงเล็กนอย

ไมเห็นดวยอยางยิ่ง หมายถึง ขอความนั้นๆ ไมตรงกับความรูสึกหรือความคิดเห็นของทานเลย

ลําดับที่

ขอคําถามเห็นดวยอยางยิ่ง

เห็นดวยไมเห็น

ดวย

ไมเห็นดวยอยาง

ยิ่ง

1 เสียงตามสายของสํานักงาน/ชุมชนชวยใหรับทราบขาวสารกิจกรรมการออกกําลังกาย

2 ปายประกาศเชิญชวนออกกําลังกาย ติดทั่วสํานักงาน/ชุมชน

3 มีการใชแผนพับการรณรงค ใหออกกําลังกาย

4 มีนิตยสารและวารสารสงเสริม การออกกําลังกาย

5 ครอบครัวสงเสริมและใหกําลังใจ ในการออกกําลังกาย

Page 114: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

98

ลําดับที่

ขอคําถามเห็นดวยอยางยิ่ง

เห็นดวยไมเห็น

ดวย

ไมเห็นดวยอยาง

ยิ่ง6 ครอบครัวสนับสนุนคาใชจาย

ในการออกกําลังกาย7 ปฏิบัติกิจกรรมการออกกําลังกาย

กับญาติพี่นองเปนประจํา8 เพื่อนๆ บานในชุมชนชวนใหไป

ออกกําลังกายอยูเสมอ9 เพื่อนบานสนับสนุน ใหออกกําลังกาย

สม่ําเสมอ10 เพื่อนบานตอบสนองรวมกัน

ออกกําลังกายอยางจริงจัง11 ผูนําชุมชนสนับสนุนใหออกกําลังกาย12 ผูนําชุมชนและเพื่อนบานปฏิบัติ

กิจกรรมการออกกําลังกายสม่ําเสมอ13 ผูนําชุมชนยอมรับนับถือทานที่มี

ความสามารถในการออกกําลังกายเปนประจํา

14 สังคมใหการยอมรับผูที่มีความสามารถในการออกกําลังกาย

Page 115: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

99

สวนที่ 5 แบบสอบถามพฤติกรรมการออกกําลังกายคําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับการปฏิบัติตนของทานมากที่สุดเพียงขอเดียวในแตละขอคําถาม โดยมีหลักเกณฑดังนี้

ปฏิบัติมาก หมายถึง ทานปฏิบัติเปนประจําสม่ําเสมอตั้งแต 3 ครั้ง ขึ้นไปใน 1 สัปดาห

ปฏิบัติคอนขางมาก หมายถึง ทานปฏิบัติเปนสวนใหญไมสม่ําเสมอ 2 ครั้งใน 1 สัปดาห

ปฏิบัติคอนขางนอย หมายถึง ทานปฏิบัติเปนครั้งคราว นานๆ ครั้ง หรือ 1 ครั้ง ใน 1 สัปดาห

ปฏิบัตินอย หมายถึง ทานปฏิบัตินอยครั้ง หรือไมออกกําลังกายเลย

ลําดับที่

ขอคําถามปฏิบัติมาก

ปฏิบัติคอนขางมาก

ปฏิบัติคอนขาง

นอย

ปฏิบัตินอย

1 ทานออกกําลังกายสม่ําเสมอ

2 ทานออกกําลังกายสัปดาหละ 3 ครั้ง

3 ทุกครั้งกอนออกกําลังกาย ทานมีการอบอุนรางกาย

4 ทานออกกําลังกายแตละครั้งใชเวลามากกวา 30 นาที

5 ทานออกกําลังกายในชวงเย็น

6 ทานออกกําลังกายที่สวนสุขภาพ/สถานที่ของชุมชนจัดให/ที่ออกกําลังกายของหนวยงาน

Page 116: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

100

ลําดับที่

ขอคําถามปฏิบัติมาก

ปฏิบัติคอนขางมาก

ปฏิบัติคอนขาง

นอยปฏิบัตินอย

7 หลังออกกําลังกายทานทําการผอนคลายกลามเนื้อ

8 ทานออกกําลังกายกับเพื่อนๆ9 ทานออกกําลังกายที่ตองใช

อุปกรณ10 ทานออกกําลังกายคนเดียว11 ทานออกกําลังกายจนเหนื่อยและ

มีเหงื่อออก12 ทานเปลี่ยนรูปแบบของการออก

กําลังกายเพื่อไมใหเกิดความเบื่อหนาย เชน วิ่ง เดิน วายน้ํา เตนแอโรบิค

13 ทานสวมใสเสื้อผาที่เหมาะสมกับการออกกําลังกาย

14 ทานสวมเครื่องปองกัน การบาดเจ็บขณะออกกําลังกาย

15 ทานหลีกเลี่ยงการออกกําลังกายในขณะที่มีอากาศรอนจัด

16 ทานเลือกการออกกําลังกาย ที่เหมาะสมกับตนเอง

Page 117: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

101

ลําดับที่

ขอคําถามปฏิบัติมาก

ปฏิบัติคอนขางมาก

ปฏิบัติคอนขาง

นอยปฏิบัตินอย

17 ขณะออกกําลังกายทานสวมรองเทาและเสื้อผาตามใจชอบ

18 ทานสังเกตอาการผิดปกติ ของตนเองขณะออกกําลังกาย

19 ทานมีการวางแผนหรือจัดสรรชวงเวลาในการออกกําลังกาย

20 ทานไมรับประทานอาหารกอนออกกําลังกาย

Page 118: ป จจัยที่มีความสัมพันธ กับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/SAS/2559/F_Ratkamphonchai... · 2017-01-12 · ป จจัยที่มีความสัมพันธ

102

ประวัติผูศึกษาและการทํางาน

ชื่อ นายรัตนกัมพลชัย อิ้วสวัสดิ์วันเดือนปเกิด 21 สิงหาคม 2514

ประวัติการศึกษา สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ปการศึกษา 2550รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปการศึกษา 2542รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยสยาม ปการศึกษา 2546

ตําแหนงงานปจจุบัน ผูอํานวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอมสถานที่ทํางาน เทศบาลตําบลหวยพลู ตําบลหวยพลู อําเภอนครชัยศรี

จังหวัดนครปฐม

(102)