สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน...

116
สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย โดย รอยตรีหญิง ภาณุมาศ เวหาด สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2559

Transcript of สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน...

Page 1: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหารสังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

โดยรอยตรีหญิง ภาณุมาศ เวหาด

สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2559

Page 2: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

Core Competency and Effectiveness Performanceon Intelligence of Division 6, Personal Armed Forces Security Center

BySub.Lt. Panumas Wahat

A Study Report Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Master of Public Administration

Faculty of Liberal ArtsKrirk University

2016

Page 3: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

(1)

หัวขอสารนิพนธ สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัยกองบัญชาการกองทัพไทย

ชื่อผูศึกษา รอยตรีหญิง ภาณุมาศ เวหาดหลักสูตร/คณะ/มหาวิทยาลัย รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต/ศิลปศาสตร/มหาวิทยาลัยเกริกอาจารยที่ปรึกษา ดร.เฉลิม เกิดโมลีปการศึกษา 2557

บทคัดยอ

สารนิพนธเรื่อง สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาว ของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา 1) สมรรถนะหลักของขาราชการทหารที่ปฏิบัติงานดานงานขาว สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย 2) ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย 3) อิทธิพลของสมรรถนะหลักที่มีตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย โดยมีแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูลดวยสถิติ เชิงพรรณนา ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ไดแก สัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน และทดสอบสมมติฐานใชการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression)

จากการศึกษาสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการทองทัพไทย ผลการศึกษาสมรรถนะหลักดานความเสียสละ ดานความมีคุณธรรม ดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน และดานการทํางานเปนทีม พบวา อยูในระดับมากที่สุด เชนเดียวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการทองทัพไทย ดานความรวดเร็ว/ทันเวลา ดานความถูกตอง/ความออนตัว และดานความปลอดภัย เมื่อทําการทดสอบสมมติฐาน พบวา สมรรถนะหลักมีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาว รอยละ 66.3 ซึ่งตัวแปรที่มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานและเปนไปในทิศทางเชิงบวก ไดแก ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน ดานการดํารงความถูกตอง และดานการทํางานเปนทีม สวนตัวแปรดานความเสียสละและดานความมีคุณธรรม ไมมีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาว ที่นัยสําคัญทางสถิติ .05

Page 4: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

(2)

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธ เรื่อง สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ฉบับนี้สําเร็จสมบูรณไดดวยความกรุณาอยางยิ่งจาก ดร.เฉลิม เกิดโมลี อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ที่ใหความกรุณาถายทอดความรู ประสิทธิ์ประสาทวิชา และใหคําปรึกษา แนะนํา ตลอดจนใหความเมตตาชวยเหลือ ปรับปรุงแกไขขอบกพรองตางๆ จนทําใหการทําสารนิพนธฉบับนี้ สําเร็จลุลวงตามวัตถุประสงค ผูศึกษาจึงขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูง

ขอขอบคุณขาราชการทหารทุกทาน ที่ใหความรวมมือในการกรอกแบบสอบถาม และใหขอมูลที่เปนประโยชน ตลอดจนอํานวยความสะดวกในการเก็บรวบรวมขอมูลอันเปนสวนสําคัญที่ทําใหสารนิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงดวยดี

ขอขอบพระคุณคุณแมทองริ้ว เวหาด เด็กชายภาณุวัชร เวหาด และทุกๆทาน ที่ไดมีสวนใหกําลังใจ สนับสนุน และผลักดันชวยเหลือใหผูศึกษาสามารถเรียนจนสําเร็จการศึกษาและทําใหสารนิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงดวยดี

ขอขอบพระคุณคณาจารยหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตทุกทาน ที่ไดประสิทธิ์ประสาทวิชาความรูใหแกผูศึกษา รวมถึงเจาหนาที่โครงการ รวมทั้งผูที่เกี่ยวของทุกทาน ที่ใหความชวยเหลือ และใหกําลังใจมาโดยตลอด จนทําใหสารนิพนธฉบับนี้ครบสมบูรณ และอาจจะเปนประโยชนกับสังคมไมมากก็นอย หรือตอผูที่ตองการศึกษาในเรื่องนี้ตอไป

ภาณุมาศ เวหาด มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2559

Page 5: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

(3)

สารบัญ

หนาบทคัดยอ (1)กิตติกรรมประกาศ (2)สารบัญตาราง (5)สารบัญแผนภาพ (7)

บทที่ 1 บทนํา 1 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1

1.2 วัตถุประสงคในการศึกษา 41.3 ขอบเขตของการศึกษา 41.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 5

บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ กรอบแนวคิด และสมมติฐานในการศึกษา 62.1 แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวกับสมรรถนะ 72.2 แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน 312.3 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 412.4 กรอบแนวคิดในการศึกษา 462.5 สมมติฐานในการศึกษา 47 2.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ 48

บทที่ 3 วิธีการศึกษา 513.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 513.2 เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล 513.3 การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 543.4 วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล 553.5 การวิเคราะหขอมูล 56

Page 6: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

(4)

สารบัญ (ตอ)หนา

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 574.1 ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง 574.2 ผลการวิเคราะหสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 59

ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการทองทัพไทย4.3 ผลการวิเคราะหประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร 65 สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการทองทัพไทย4.4 ผลการทดสอบสมมุติฐาน 69

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 765.1 สรุปผล 765.2 อภิปรายผล 785.3 ขอเสนอแนะ 90

บรรณานุกรม 93

ภาคผนวก 97ก. แบบสอบถาม 98

ประวัติผูศึกษา 105

Page 7: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

(5)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

1 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามเพศ 572 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับการศึกษา 583 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระยะเวลาในการรับราชการ 584 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับสมรรถนะหลักของ 59

ขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย5 แสดงคาระดับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 60

ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานความเสียสละ6 แสดงคาระดับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 61

ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานความมีคุณธรรม7 แสดงคาระดับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 62

ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ

8 แสดงระดับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 63ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน

9 แสดงระดับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 64ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานการทํางานเปนทีม

10 แสดงคาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของ 65ขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

11 แสดงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานการขาวของ 66ขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานความรวดเร็ว/ทันเวลา

12 แสดงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของ 67ขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานความถูกตอง/ความออนตัว

Page 8: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

(6)

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา

13 แสดงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของ 68ขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานความปลอดภัย

14 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางสมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน 6915 แสดงตัวแบบจําลองสมการถดถอยพหุคูณ 7016 แสดงการวิเคราะหความแปรปรวนสองทาง 7117 แสดงผลการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณดวยวิธี Stepwise 73

ตัวแปรที่ถูกนําเขาสมการ18 สรุปผลการทดสอบสมมุติฐาน 75

Page 9: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

(7)

สารบัญแผนภาพ

แผนภาพที่ หนา

1 แสดงโมเดลภูเขาน้ําแข็ง (Iceberg Model) 11 2 แสดงกรอบแนวคิดในการศึกษา 473 แสดงตัวแบบการถดถอยพหุคูณของสมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน 74

ดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัดกอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการ กองทัพไทย

Page 10: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

(4)

สารบัญ (ตอ)หนา

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 574.1 ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง 574.2 ผลการวิเคราะหสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 59

ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการทองทัพไทย4.3 ผลการวิเคราะหประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร 65 สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการทองทัพไทย4.4 ผลการทดสอบสมมุติฐาน 69

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 765.1 สรุปผล 765.2 อภิปรายผล 785.3 ขอเสนอแนะ 90

บรรณานุกรม 93

ภาคผนวก 97แบบสอบถาม 98

ประวัติผูศึกษา 105

Page 11: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

(6)

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา

13 แสดงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของ 68ขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานความปลอดภัย

14 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางสมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน 6915 แสดงตัวแบบจําลองสมการถดถอยพหุคูณ 7016 แสดงการวิเคราะหความแปรปรวนสองทาง 7117 แสดงผลการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณดวยวิธี Stepwise 73

ตัวแปรที่ถูกนําเขาสมการ18 สรุปผลการทดสอบสมมุติฐาน 75

Page 12: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

1

บทที่ 1บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหานับตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันประเทศไทยสวนใหญเปนสังคมทางดานเกษตรกรรม กอนหนา

นี้การอยูรวมกันเปนครอบครัวขนาดใหญ มีอะไรชวยเหลือเกื้อกูลกัน มีความเห็นอกเห็นใจกัน แตเมื่อมีความเจริญเขามาสูสังคมไทย มีการปฏิวัติรูปแบบสังคมมาสูระบบอุตสาหกรรม ประเทศไทยจึงตองมีการติดตอประเทศเพื่อนบานในการคาขาย การเปดพรมระหวางประเทศเพิ่มมากขึ้น ซึ่งการเปดพรมแดนนี้ ทําใหเราตองพบเจอประชาชนจากประเทศเพื่อนบานเพิ่มมากขึ้น มีความจําเปนที่เราจะตองเรียนรูถึงการเปนเจาบานที่ดี จะตองศึกษาถึงขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม อาหาร เสื้อผา ภาษาของแตละประเทศ ตลอดจนการผูกสัมพันธไมตรี เปนมิตรกับประเทศเพื่อนบาน เพื่อความสงบสุขของประชาชนประเทศเราและเพื่อนบาน

แตเมื่อคนหมูมากมาอยูรวมกันยอมจะเกิดปญหาขึ้นดังจะเห็นไดวาในปจจุบันปญหาทางสังคมของประเทศไทยมีอยูดวยกันในหลายๆ ดานซึ่งก็จะมีทั้งปญหาภายในประเทศ และปญหาภายนอกประเทศ โดยปญหาภายในประเทศไดแก ปญหาเศรษฐกิจ สังคม ปญหาดานการเมือง การปกครอง ปญหาการกอความไมสงบในประเทศ ที่เกิดจากความขัดแยงทางประชาธิปไตย ที่จะเห็นในการชุมนุมประทวง การนัดหยุดงาน การเรียกรองตางๆ จากรัฐบาล ตลอดจนปญหาการดึงสถาบันพระมหากษัตริยเขามามีสวนเกี่ยวของกับการเมือง รวมถึงปญหาการตอตานรัฐบาลภายในประเทศ ที่ยังคงมีอยูอยางตอเนื่อง โดยอาศัยจุดบกพรองตางๆ หรือเงื่อนไขจากการที่เจาหนาที่รัฐมีความออนแอ จึงเปนเหตุใหเปนสวนหนึ่งที่ทําใหเกิดการโฆษณาชวนเชื่อ ปลุกระดม นําไปสูการประทวง การบอนทําลาย กอนินาศกรรม ซึ่งกอใหเกิดความสุญเสียตอชีวิตและทรัพยสินถาปลอยไวนานๆ ก็จะเกิดผลกระทบตอความมั่นคงของชาติ นอกจากปญหาภายในประเทศแลวประเทศไทยยังประสบปญหาภายนอกประเทศ เชน ปญหาชนกลุมนอย ผูหลบหนีภัยจากการสูรบปญหาการคายาเสพติด การคาอาวุธสงคราม และแรงงานเถื่อน เปนตน

สถานการณในประเทศเอง โดยทั่วไปดูเหมือนวาจะสงบสุขแตแทจริงแลวสถานการณทั้งในประเทศและประเทศรอบบานยังคงเกิดขึ้นบอยๆ อาทิเชน ปญหาความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ที่มีความพยายามจะแยกตัวเพื่อเปนอิสระจากการปกครองของรัฐบาลไทย ดวยเหตุที่อยู

Page 13: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

2

ในพื้นที่หางไกลจากศูนยกลางทางอํานาจ และอยูติดกับประเทศเพื่อนบานที่มีความคลายคลึงกันทางดานภาษา วัฒนธรรมและประชาชนสวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม ความแตกตางดังกลาวรวมถึงการพัฒนาจากสวนกลางอาจจะไมไดรับการเอาใจใสเทาที่ควร ความไมเปนกลางของเจาหนาที่รัฐ การเอารัดเอาเปรียบจากผูมีอํานาจ ทําใหประชาชนในพื้นที่เกิดความไมพอใจจึงตองการแบงแยกพื้นที่ออกเปนอิสระ รวมถึงการไดรับการสนับสนุนจากประเทศรอบบาน

ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันประเทศไทยไดมีทหารไวปกปองประเทศใหพนจากภัยคุกคามดานตางๆ ดังที่กลาวมาแลว การปฏิบัติหนาที่ของขาราชการทหารนั้น มีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองรูความเคลื่อนไหว รูขอมูลของฝายตรงขาม ภายใตบริบทของกระแสการเปลี่ยนแปลง สภาวะแวดลอมดานความมั่นคงรูปแบบใหม รวมทั้งรัฐบาลกําหนดแนวทางการปฏิรูประบบราชการและการบริหารบานเมืองที่มุงเนนการดําเนินการโดยมีเปาหมายเพื่อประโยชนสุขของประชาชน และการรักษาไวซึ่งดินแดนที่เปนของประเทศไทย กอง 6 ศรภ.บก.ทท. (กอง 6 ศูนย รักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย) เปนหนวยงานของทางทหารที่มีภารกิจเกี่ยวกับการหาขาวสารมาผลิตเปนขาวกรอง การปฏิบัติตอขาวกรองและการตอตานขาวกรองทางทหารเพื่อความมั่นคงของประเทศ การรักษาความปลอดภัยทางทหาร ทางการขาวกรองและทางการสื่อสาร รวมทั้งการดําเนินการฝกศึกษาดานการขาวกรอง และปฏิบัติภารกิจอื่นๆ ตามที่ผูบังคับบัญชามอบหมาย ประเด็นทางยุทธศาสตรของกอง 6 ศรภ.บก.ทท. จะมุงเนนไปในการพัฒนาศักยภาพทางดานขาวกรองและตอตานขาวกรอง การเสริมสรางความเปนเลิศทางการขาวกรอง รวมถึง การสรางความสัมพันธที่ดีกับประเทศรอบบาน ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพขาวกรองทางการสื่อสารและรักษาความปลอดภัยทางการสื่อสาร จะเห็นไดวา ภารกิจ และประเด็นทางยุทธศาสตรของกอง 6 ศรภ.บก.ทท. มีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองรูความเคลื่อนไหว รูขอมูลของฝายตรงขามไดเราก็จะตองหาขาว แลวนําขาวนั้นมารายงานใหกับผูบังคับบัญชาทราบซึ่งก็เปนหนาที่ของนายทหารการขาว

สําหรับภารกิจของกอง 6 ศรภ.บก.ทท. นั้น ถือวามีความสําคัญเปนอยางมาก กอง 6 จะตองเปนหนวยที่สงเจาหนาที่เขาไปหาขาวกับชาวบานตามแนวชายแดน เพื่อหาขาวความเคลื่อนไหวของทหารฝายตรงขามตามพื้นที่รับผิดชอบ การติดตามสถานการณตางๆ ในพื้นที่ การสรางกระบวนการจิตวิทยากับชุมชน การศึกษาวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีของคนในพื้นที่เพื่อใหดูเปนพรรคพวกเดียวกัน ตลอดจนการฟงวิทยุกระจายเสียงในพื้นที่ การหาขาวความไมสงบในพื้นที่ตางๆ เพื่อรายงานใหกับผูบังคับบัญชาทราบ ซึ่งกอนหนานี้ การดําเนินการดานการขาวของทางหนวย จะเปนการปฏิบัติการเชิงรับ โดยการขอรับขาวขากแหลงขาวในพื้นที่เปนสวนใหญ แตขณะนี้ไดมีการปรับเปลี่ยน

Page 14: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

3

ยุทธวิธีในการทํางานจากเชิงรับมาเปนเชิงรุก โดยการดําเนินงานจะเปนไปในรูปแบบการมีสวนเขาไปรวมกับหนวยทหารในพื้นที่เพื่อดําเนินงานชุมชนและมวลชนสัมพันธ เพื่อสรางความเปนกันเองกับประชาชนในพื้นที่เพื่อมุงเนนใหประชาชนเปนหูเปนตาใหกับทางราชการตอไป

การศึกษาภารกิจของ กอง 6 ศรภ.บก.ทท. ผูศึกษาจะเนนในทางดานการหาขางและการดําเนินกรรมวิธีการการปฏิบัติตอขาวที่หามาได ตลอดจนการนําเสนอขาวใหกับผูบังคับบัญชาและหนวยที่เกี่ยวของ ในแตละปที่ กอง 6 ศรภ.บก.ทท. เปดรับสมัครบุคคลพลเรือนที่พอมีความรูความสามารถตามลักษณะงานที่ตองใชคนที่มีสมรรถนะมาฝกหัดเพื่อทดแทนคนที่เกษียณอายุราชการไปในแตละปนับวาเปนการยากที่จะฝกใหกําลังพลมีสมรรถนะในการหาขาว การสรางความคุนเคยและไดรับความไววางใจจากแหลงขาว นอกจากความรูทางวิชาการที่ไดศึกษามาตามคุณวุฒิการศึกษาทั่วไปแลวผูที่จะทําหนาที่ในการหาขาวไดจะตองมีคุณสมบัติอื่นๆ อาทิเชน การเรียนรูวัฒนธรรม ภาษาถิ่น ตลอดจนภาษาของแตละเปาหมายในการหาขาว ความเปนอยูของประชาชนในพื้นที่นั้นๆ ปฏิบัติการทางจิตวิทยา การสรางความเปนกันเอง ความรับผิดชอบตอหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย ตลอดจนปฏิภาณไหวพริบในดานตางๆ ที่มีความจําเปนสามารถที่จะเอาตัวรอดจากฝายตรงขามใหไดขาวของฝายตรงขามมาซึ่งนับวาเปนสมรรถนะที่สําคัญอยางหนึ่งของเจาหนาที่

จะเห็นไดวา กอง 6 ศรภ.บก.ทท. มีความสําคัญในการปฏิบัติงานในเชิงรุก ที่เอื้อประโยชนตอประเทศชาติเปนอยางยิ่ง อยางไรก็ตาม กอง 6 ตองกลับมาพิจารณาถึงปญหาและอุปสรรคตางๆ ที่เกิดขึ้น รวมถึงปจจัยตางๆ ที่มีผลกระทบตอประสิทธิผลในการดําเนินภารกิจ ทั้งในดานกําลังพลที่ตองสับเปลี่ยนตามวาระ และมาจากตางภูมิภาคที่มีความแตกตางกันทั้งในดานภาษา วัฒนธรรม ประเพณี สภาพความเปนอยู ยุทธวิธีในการปฏิบัติงาน การประสานงานกับหนวยขางเคียงหรือหนวยงานที่จะตองสนับสนุนซึ่งกันและกัน ตลอดจนประชาชนในพื้นที่ใกลเคียงใหความรวมมือมากนอยเพียงใด ดังนั้น การศึกษาตัวแปรสมรรถนะหลัก ที่สงผลประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานการขาว จึงเปนสิ่งที่สําคัญ

แตการจะพิจารณาวาบุคคลใดมีคุณภาพหรือศักยภาพในการปฏิบัติงานฝายกําลังพลไดใหความสําคัญกับสมรรถนะเพิ่มมากขึ้น โดยกําหนดใหแตละหนวยงานวัดความสามารถในการปฏิบัติงานของแตละบุคคล โดยสมรรถนะที่กําหนดขึ้นเพื่อใชในการวัดความสามารถจะตองสอดคลองกับยุทธศาสตร ภารกิจ ตลอดจนบทบาทตางๆ ที่เกี่ยวของ รวมถึงทิศทางและวัฒนธรรมขององคการ การพัฒนาบุคลากรใหเปนผูปฏิบัติงานที่มีทักษะ ความรู ความสามารถและศักยภาพสูงจึงมีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับองคการเสมอ ดังนั้นองคการจึงจําเปนที่จะตองมีความรูเรื่องสมรรถนะของบุคลากรวา

Page 15: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

4

มีความเหมาะสมที่จะทํางานใหออกมาอยางมีประสิทธิผลหรือไมและสมรรถนะนั้นจะตองสอดคลองกับภารกิจขององคการอยางแทจริง

ผูศึกษาจึงใหความสนใจที่จะศึกษาถึง สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศรภ.บก.ทท. เพื่อเปนแนวทางในการหาคําตอบในการศึกษาอันจะเปนประโยชนในการปรับปรุงและพัฒนาการทํางานดานงานขาวทางทหารตลอดจนการพัฒนาศักยภาพทางดานบุคลากรของหนวยเพื่อใหไดงานที่มีประสิทธิผล เพราะการรับทราบเกี่ยวกับสมรรถนะของขาราชการที่ปฏิบัติงานดานงานขาวจะเปนแนวทางที่จะใหทราบวาขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย มีระดับสมรรถนะหลักนอยเพียงใด และมีปจจัยใดเปนสาเหตุใหการทํางานมีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น เพื่อที่จะเปนแนวทางในการสรรหาและพัฒนาบุคลากรของหนวยใหมีความสามารถในการปฏิบัติงานไดมากยิ่งขึ้น และสามารถที่จะเปนกําลังที่สําคัญในการปกปองใหประเทศไทยใหอยูปลอดภัยจากภัยคุกคามและการเกิดปญหาตางๆจากทั้งภายในประเทศและตางประเทศ เพื่อใหเกิดความสงบรมเย็นตอไปในภายภาคหนา

1.2 วัตถุประสงคในการศึกษา1.2.1 เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความ

ปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย1.2.2 เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด

กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย1.2.3 เพื่อศึกษาอิทธิพลของสมรรถนะหลักที่มีตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงาน

ขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

1.3 ขอบเขตของการศึกษาการศึกษาครั้งนี้มีขอบเขตการศึกษาในเรื่อง สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการ

ปฏิบัติงานดานงานขาว ของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ระดับชั้นยศ ร.ต. – ร.อ. ที่ปฏิบัติงานในที่ตั้งปกติและปฏิบัติงานในที่ตั้งในตางจังหวัดจํานวน 112 นาย โดยจะใชระยะเวลาในการศึกษาตั้งแตเดือน พฤษภาคม ถึง เดือน สิงหาคม 2558 เปนระยะเวลา 4 เดือน

Page 16: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

5

1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1.4.1. เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะของขาราชการทหารในการปฏิบัติงานเพื่อ

ใหงานที่ปฏิบัตินั้นเกิดประสิทธิภาพสงผลใหการปฏิบัติงานของขาราชการทหารประสบผลสําเร็จตามเปาหมายในภารกิจที่ไดรับมอบนั้น

1.4.2. เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงการบริหารงานดานกําลังพลใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ไดบุคลากรที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการปฏิบัติงานตามภารกิจและวัตถุประสงคของหนวยที่กําหนดไว

Page 17: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

6

บทที่ 2วรรณกรรมที่เกี่ยวของ กรอบแนวคิด และสมมติฐานในการศึกษา

การศึกษาเรื่อง “สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย” ในครั้งนี้ ไดศึกษาคนควาเอกสารเพื่อนําเสนอสาระสําคัญ ดังนี้ สมรรถนะหลักในการทํางานกับประสิทธิผลที่ไดรับในการปฏิบัติงาน แนวคิดทฤษฏีที่เก่ียวของกับสมรรถนะในการปฏิบัติงาน และประสิทธิผลที่ไดจากการปฏิบัติงาน สรุปกําหนดแนวคิด ทฤษฏีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อใชเปนแนวทางในการศึกษาดังตอไปนี้

2.1 แนวคิด ทฤษฏีที่เกี่ยวกับสมรรถนะ2.1.1 ความเปนมาของสมรรถนะ2.1.2 ความหมายของสมรรถนะ2.1.3 องคประกอบของสมรรถนะ2.1.4 ประโยชนของสมรรถนะ2.1.5 ประเภทของสมรรถนะ2.1.6 ความสําคัญของสมรรถนะ2.1.7 สมรรถนะตนแบบของระบบราชการไทย2.1.8 สมรรถนะหลักของขาราชการทหาร

2.2 แนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน2.2.1 ความหมายของประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน2.2.2 ความสําคัญของประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน2.2.3 องคประกอบของประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน2.2.4 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวของ2.4 กรอบแนวคิดในการศึกษา2.5 สมมุติฐานในการศึกษา2.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ

Page 18: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

7

2.1 แนวคิด ทฤษฏีที่เกี่ยวกับสมรรถนะ2.1.1 ความเปนมาของสมรรถนะแนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะหรือความสามารถของบุคคลในองคการไดเริ่มขึ้นใน

ค.ศ.1970 จากการเสนอบทความทางวิชาการของ McClelland (1970 อางถึงในณรงวิทย แสนทอง, 2547:9) แหงมหาวิทยาลัยฮารวารด ไดพัฒนาบททดสอบขึ้นมาชุดหนึ่ง เพื่อใชวัดคาทัศนะคติและนิสัยอะไรบางที่ผูที่ประสบความสําเร็จมี และคนที่ไมประสบความสําเร็จไมมีและ McClelland (1970 อางถึงในเดชา เดชะวัฒนไพศาล, 2543: 11) ยังไดกลาวถึงความสัมพันธระหวางคุณลักษณะที่ดีของบุคลากรในองคการระดับทักษะ ความรูและความสามารถ เพื่อใหไดมาซึ่งคุณลักษณะที่ดีนั้นตอมาไดมีผูริเริ่มนําแนวคิดดังกลาวไปประยุกตกับการบริหารงานบุคคลของหนวยงานราชการในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยการกําหนดปจจัยพื้นฐานวา ในตําแหนงอื่นๆ นั้นจะตองมีพื้นฐาน ทักษะ ความรู และความสามารถหรือพฤติกรรมใดบาง และอยูในระดับที่เทาไรจึงจะทําใหบุคลากรผูนั้นมีคุณลักษณะที่ดีตอการปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพและไดผลการปฏิบัติงานตรงตามวัตถุประสงคขององคการ หลักจากนั้นไดมีการประยุกตแนวคิดดังกลาว และขยายผลมาสูภาคธุรกิจเอกชนมากยิ่งขึ้น ซึ่งแตละองคการก็ไดมีการขยายผลโดยไดมีการออกแบบ competency ใหมีความเหมาะสมกับองคการของตน

McClelland ไดแสดงแนวคิดของเขาเรื่อง Competency ไวในบทความชื่อ Testing for Competence Rather than for Intelligence วา “IQ (ประกอบดวยความถนัดหรือความเชี่ยวชาญทางวิชาการ ความรูและความมุงมั่นสูความสําเร็จ) ไมใชตัวชี้วัดที่ดีของผลงานและความสําเร็จโดยรวมแต Competency กลับเปนสิ่งที่สามารถทํานายความสําเร็จในงานไดดีกวา” ซึ่งสะทอนใหเห็นไดอยางชัดเจนวา “ผูที่ทํางานเกง” มิไดหมายถึง “ผูที่เรียนเกง” แตผูที่ประสบผลสําเร็จในการทํางานตองเปนผูที่มีความสามารถในการประยุกตใชหลักการหรือองคความรูที่มีอยูในตัวเองเพื่อกอใหเกิดประโยชนในงานที่ตนทํา ซึ่งบุคคลดังกลาวเรียกวาเปนผูมี Competency

จากจุดกําเนิด Competency ดังกลาวขางตน ทําใหนักศึกษาและนักวิชาการหลายสํานักไดนําวิธีการของ McClelland มาเปนแนวทางในการศึกษาเรื่อง Competency ในเวลาตอมา (สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ, 2547:11-13)

สําหรับในประเทศไดมีการนําแนวคิด Competency มาใชในองคกรที่เปนเครือขายบริษัทขามชาติชั้นนํากอนที่จะแพรหลายเขาไปสูบริษัทและองคกรชั้นนําของประเทศ เชน เครือปูนซีเมนตไทย การปโตเลียมแหงประเทศไทย เปนตน และเนื่องจากภาคเอกชนไดนําแนวคิดสมรรถนะไปใชและเกิดผลสําเร็จอยางเห็นไดชัด ดังเชนกรณีเครือของปูนซีเมนตไทยมีผลทําใหเกิดการตื่นตัวในวงราชการ โดยสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) ไดนําแนวคิดนี้มา

Page 19: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

8

ใชในการพัฒนาขาราชการพลเรือน ซึ่งในระยะแรกไดทดลองนําแนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษยที่ยึดหลักสมรรถนะมาใชในระบบสรรหาผูบริหารระดับสูงในระบบราชการไทยและกําหนดสมรรถนะของขาราชการที่จะสรรหาในอนาคต (สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน, 2547 อางถึงใน ณัฐพร แปรมศักดิ,์ 2557:43)

2.1.2 ความหมายของสมรรถนะสมรรถนะหรือสมรรถภาพ ตรงกับภาษาอังกฤษวา Competency โดยหมายถึง ความ

สามารถ (พจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542) เปนคุณภาพหรือสภาวะของการกระทําหนาที่ตามขอบเขตหนาที่ที่ตนเองไดรับมอบหมายหรือรับผิดชอบไดอยางเพียงพอหรือมีความรู การตัด สินใจ ทักษะ หรือความแข็งแรงเพียงพอ

ณรงควิทย แสนทอง (2547) กลาววา “สมรรถนะ” หมายถึงทักษะ ความรู และความสามารถหรือพฤติกรรมของบุคลากร ที่จําเปนในการปฏิบัติงานใดงานหนึ่ง กลาวคือ ในการทํางานหนึ่งๆเราตองรูอะไร เมื่อมีความรูหรือขอมูลแลวเราตองรูวาจะทํางานไดอยางประสบความสําเร็จ ซึ่งสิ่งเหลานี้จะชวยใหองคการทราบวา คุณสมบัติหรือคุณลักษณะที่ดี ในการทํางานของบุคลากรในองคการนั้นเปนอยางไร

Boyatzis (1982: 58) ไดใหคํานิยามวา สมรรถนะ หมายถึง สิ่งที่มีอยูในตัวบุคคลซึ่งถือเปนตัวกําหนดพฤติกรรมของบุคคลเพื่อใหบรรลุถึงความตองการของงานภายใตปจจัยสภาพแวดลอมขององคการ และทําใหบุคคลมุงมั่นสูผลลัพธที่ตองการ

Mitrani, Dalziel และ Fitt (1992: 11) กลาวถึงสมรรถนะวาเปนลักษณะเฉพาะของบุคคลที่มีความเชื่อมโยงกับประสิทธิผลหรือผลการปฏิบัติงานในการทํางาน ซึ่งสอดคลองกับการใหความหมายของ Spencer และSpencer (1993: 9) ที่ใหความหมายของสมรรถนะวาเปนคุณลักษณะของบุคคลที่มีความสัมพันธเชิงเหตุและผลตอความมีประสิทธิผลของเกณฑที่ใชและ /หรือการปฏิบัติงานที่ไดผลการทํางานที่ดีขึ้นกวาเดิม นอกจากนี้ Spencer และSpencer (1993: 11) ไดขยายความหมายของสมรรถนะวาเปนคุณลักษณะที่สําคัญของแตละบุคคล (Underlying characteristic) ที่มีความสัมพันธเชิงเหตุผลจากความมีประสิทธิผลของเกณฑที่ใช (Criterion reference) และ/หรือการปฏิบัติงานที่ไดผลงานสูงกวามาตรฐาน (Superior performance) ซึ่งประกอบดวยคุณลักษณะสําคัญดังนี้ 1. แรงจูงใจ (Motive) เปนสิ่งที่บุคคลคิดหรือตองการอยางแทจริง ซึ่งจะเปนแรงขับในการกําหนดทิศทางหรือการเลือกของบุคคลเพื่อแสดงออกถึงพฤติกรรม หรือการตอบสนองตอเปา หมายหรือการถอยออกไปจากสิ่งตางๆ เหลานั้น

Page 20: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

9

2. คุณลักษณะสวนบุคคล (Trait) เปนคุณลักษณะทางกายภาพของบุคคลและรวมถึงการตอบสนองของบุคคลตอขอมูลหรือสถานการณที่เผชิญ 3. แนวคิดของตนเอง (Self concept) เปนเรื่องเกี่ยวกับทัศนคติ (Attitude) คานิยม(Value) และภาพลักษณของบุคคลที่มีตอตนเอง (Self image) ซึ่งจะเปนแรงจูงใจที่ทําใหเกิดพฤติกรรมและทําใหสามารถทํานายพฤติกรรมของบุคคลที่มีตอสถานการณตางๆในชวงระยะสั้นๆ ได 4. ความรู (Knowledge) เปนขอบเขตของขอมูลหรือเนื้อหาเฉพาะดานที่บุคคลใดบุคคลหนึ่งครอบครองอยู 5. ทักษะ (Skill) เปนความสามารถในการปฏิบัติงานทั้งที่เกี่ยวของกับดานกายภาพ การใชความคิด และจิตใจของบุคคลในระดับที่สามารถคิด วิเคราะห ใชความรูกําหนดเหตุผลหรือการวางแผนในการจัดการ และในขณะเดียวกันก็ตระหนักถึงความซับซอนของขอมูลได คุณลักษณะของสมรรถนะทั้ง 5 คุณลักษณะนี้ สามารถนํามาจัดกลุมภายใตเกณฑของพฤติกรรมที่แสดงออกและสังเกตเห็นไดงายจํานวน 2 คุณลักษณะ ดังนี้ 1. สมรรถนะที่สังเกตไดหรือเห็นได (Visible) ไดแกความรู (Knowledge) ทักษะ (Skill)ซึ่งเปนสมรรถนะที่มีโอกาสพัฒนาไดโดยงาย 2. สมรรถนะที่อยูลึกลงไปหรือซอนอยูภายในตัวบุคคล (Hidden) ไดแก แรงจูงใจ(Motive) คุณลักษณะสวนบุคคล (Trait) ซึ่งเปนสมรรถนะที่ยากตอการวัดและพัฒนา นอกจากนี้ ยังมีสมรรถนะที่เรียกวา แนวคิดของตนเอง (Self concept) ไดแก ทัศนคติ และคานิยม ซึ่งเปนสมรรถนะที่ปรับเปลี่ยนไดแตตองใชระยะเวลานานและสามารถทําไดดวยการฝกอบรม การใชหลักจิตวิทยา หรือการสั่งสมประสบการณในการพัฒนาแตก็เปนสิ่งที่ทําไดคอนขางยากและตองใชเวลา Dale และ Hes (1995: 80) กลาวถึงสมรรถนะวาเปนการคนหาสิ่งที่ทําใหเกิดการปฏิบัติ งานที่เปนเลิศ (Excellence) หรือการปฏิบัติงานที่เหนือกวา (Superior performance) นอกจากนี้ยังไดใหความหมายของสมรรถนะในดานอาชีพ (Occupational competency) วาหมายถึง ความสามารถ(Ability) ในการทํากิจกรรมตางๆ ในสายอาชีพเพื่อใหเกิดการปฏิบัติงานเปนไปตามมาตรฐานที่ถูกคาดหวังไว คําวามาตรฐานในที่นี้หมายถึงองคประกอบของความสามารถรวมกับเกณฑการปฏิบัติ งานและคําอธิบายขอบเขตงาน วัฒนา พัฒนพงศ (2547: 33) กลาววา สมรรถนะ (Competency) หมายถึง ระดับของความสามารถในการปรับและใชกระบวนทัศน (Paradigm) ทัศนคติ พฤติกรรม ความรู และทักษะ เพื่อการปฏิบัติงานใหเกิดคุณภาพ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุดในการปฏิบัติหนาที่ของ

Page 21: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

10

บุคลากรในองคการ บุคลากรทุกคนควรมีความสามารถพื้นฐานในหนาที่ที่เหมือนกันครบถวนและเทาเทียมกัน และควรพัฒนาตนเองใหมีความสามารถพิเศษที่แตกตางกันออกไปนอกเหนือจากความสามารถของงานในหนาที่ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับศักยภาพ ระดับความสามารถทางอารมณ (Emotional quotient : EQ) และความสามารถทางสติปญญา (Intelligence quotient: IQ)

อานนท ศักดิ์วรวิชญ (2547) ไดสรุปคํานิยมของสมรรถนะไววา สมรรถนะคือ คุณลักษณะของบุคคล ซึ่งไดแก ความรู ทักษะ ความสามารถและคุณสมบัติตางๆ อันไดแก คานิยม จริยธรรม บุคลิกภาพ คุณลักษณะทางกายภาพและอื่นๆ ซึ่งจําเปนและสอดคลองกับความเหมาะสมกับองคการ โดยเฉพาะอยางยิ่งตองสามารถจําแนกไดวาผูที่ประสบความสําเร็จในการทํางานไดตองมีคุณลักษณะเดนๆ อะไร หรือลักษณะที่สําคัญๆอะไรบางหรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือสาเหตุที่ทํางานแลวไมประสบความสําเร็จเพราะขาดคุณลักษณะบางประการคืออะไร เปนตน

วิลัยภรณ แยมสวน (2552: 15) ไดใหความหมายของสมรรถนะไววา คือ ความรู ทักษะ และพฤตินิสัยที่จําเปนตอการทํางานของบุคคลใหประสบผลสําเร็จสูงกวามาตรฐานทั่วไป

เสนห จุยโต (2551: 221) ใหความหมายของสมรรถนะไววา สมรรถนะ หมายถึง คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่จําเปนของบุคลากร ที่สงผลใหทํางานในหนาที่ที่ไดรับมอบหมายประสบผลสําเร็จอยางดีเยี่ยม (Superior Performer) และแสดงบทบาท (Role) ไดอยางเหมาะสม ดังนั้นอาจสรุปไดวา สมรรถนะ (Competency) ตองมีลักษณะสําคัญ 4 ประการ ดังนี้

1. สมรรถนะประกอบดวย 2 สวนคือสวนที่มองเห็นไดชัด คือ ความรู (Knowledge) และทักษะ (Skills) อีกสวนที่มองเห็นไมชัด คือ ทัศนคติ (Attitude) คานิยม (Value) อุปนิสัย (Traits) และแรงผลักดันภายใน (Motives)

2. สมรรถนะแสดงออกเปนพฤติกรรม (Behavior)3. สมรรถนะตองแสดงใหเห็นถึงผลงาน และผลงานนั้นตองวัดคาได (Measureable)

โดยมีตัวชี้วัดผลงาน (Key Performance Indicator) 4. สมรรถนะตองสามารถเรียนรูและพัฒนาไดสรุป สมรรถนะ คือ พฤติกรรมการปฏิบัติงาน ที่ผูปฏิบัติแสดงออกในระหวางการ

ปฏิบัติงาน อันเปนผลจากแรงจูงใจหรือแรงผลักดันภายในจิตใจที่จะสงผลตอความสําเร็จในการปฏิบัติหนาที่ตามตําแหนงรับผิดชอบอยูใหสําเร็จลุลวงไปดวยดี ซึ่งคุณลักษณะและพฤติกรรมที่ดีเปนการแสดงออกของคน จะสะทอนใหเห็นถึงความรู (Knowledge) ทักษะ (Skill) และคุณลักษณะเฉพาะของแตละบุคคล (Personal Attributes) มากกวาเพื่อนรวมงานคนอื่นๆ ในสถานการณที่หลากหลายกวาและไดผลงานที่ดีกวาคนอื่น

Page 22: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

11

2.1.3 องคประกอบของสมรรถนะมีผูใหขอสังเกตเกี่ยวกับลักษณะรวมที่จัดเปนองคประกอบของสมรรถนะไวหลายทาน

MCclelland ไดอธิบายความหมายขององคประกอบหลัก 5 ประการดังนี้ (สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ,2549:15)

1. ความรู (Knowledge) คือ ความรูเฉพาะดานของบุคคลเชน ความรูภาษาอังกฤษความรูดานการบริหารตนทุน เปนตน

2. ทักษะ (Skill) คือ สิ่งที่บุคคลกระทําไดดีและฝกปฏิบัติเปนประจําจนเกิดความชํานาญ เชน ทักษะของหมอฟนในการอุดฟนโดยไมทําใหคนไขรูสึกเสียวเสนประสาทหรือเจ็บ เปนตน

3. ความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเอง (Self - concept) คือ ทัศนคติคานิยมและความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณของตนหรือสิ่งที่บุคคลเชื่อวาตนเองเปนเชน ความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพลักษณของคนที่มีความเช่ือมั่นในตนเองสูงจะเชื่อวาตนเองสามารถแกไขปญหาตางๆ ได เปนตน

4. บุคลิกลักษณะประจําตัวของบุคคล (Trait) เปนสิ่งที่อธิบายถึงบุคคลผูนั้น เชน เขาเปนคนที่นาเชื่อถือและไววางไวไดหรือเขามีลักษณะเปนผูนํา เปนตน

5. แรงจูงใจหรือแรงขับภายใน (Motive) ซึ่งทําใหบุคคลแสดงพฤติกรรมที่มุงไปสูเปาหมายหรือมุงสูความสําเร็จเชน บุคคลที่มุงผลสําเร็จมักชอบตั้งเปาหมายที่ทาทายและพยายามทํางานใหสําเร็จตามเปาหมายที่ตั้งไวตลอดจนพยายามปรับปรุงวิธีการทํางานของตนเองตลอดเวลา

แผนภาพที่ 1 แสดงโมเดลภูเขาน้ําแข็ง (Iceberg Model)

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน, 2549: 16

Page 23: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

12

สวนที่อยูเหนือน้ําสามารถสังเกตเห็นไดงาย1. ทักษะ (Skills) หมายถึง สิ่งที่บุคคลรูและสามารถทําไดเปนอยางดี เชน ทักษะ การ

อาน ทักษะการฟง ทักษะในการขับรถ เปนตน2. ความรู (Knowledge) หมายถึง สิ่งที่บุคคลรูและเขาใจในหลักการแนวคิดเฉพาะ ดาน

เชน มีความรูดานบัญชี มีความรูดานการตลาด การเมือง เปนตนสวนที่อยูใตน้ําสังเกตเห็นไดยาก3. บทบาททางสังคม (Social Image) หมายถึง สิ่งที่บุคคลตองการสิ่งใหบุคคลอื่นใน

สังคมเห็นวาเปนตัวเขามีบทบาทอีกอยางตอสังคมเชน ชอบชวยเหลือผูอื่น เปนตน4. ภาพพจนที่รับรูตัวเอง (Self Image) หมายถึง ภาพพจนที่บุคคลมองตัวเองวาเปน

อยางไร เชน เปนผูนําเปนผูเชี่ยวชาญ เปนศิลปน เปนตน5. อุปนิสัย (traits) หมายถึง ลักษณะนิสัยใจคอของบุคคลเปนพฤติกรรมถาวร เชน เปน

นักฟงที่ดี เปนคนใจเย็น เปนที่ออนนอมถอมตน เปนตน6. แรงกระตุน (Motive) หมายถึง พลังขับเคลื่อนที่เกิดจากภายในจิตใจของบุคคลที่จะ

สงผลกระทบตอการกระทําเชน เปนคนที่มีความอยากที่จะประสบความสําเร็จการกระทําสิ่งตางๆ จึงออกมาในลักษณะของการมุงไปสูความสําเร็จตลอดเวลา เปนตน

จะเห็นไดวาจากองคประกอบของ Competencies ที่กลาวมาทั้งหมดเรามักจะสังเกตเห็นไดเพียง 2 สวนที่อยูเหนือน้ําเทานั้นอีก 4 สวนที่อยูใตน้ํานั้นคอนขางจะเห็นเรื่องยุงยากที่จะรับรูเพราะอาจจะตองใชเวลานานและแตละคนมีความแตกตางกันอีกดังนั้นการเรียนรู เกี่ยวกับ Competencies จึงไมไดหมายถึงพฤติกรรมที่แสดงออกมาใหเห็นเทานั้นแตรวมถึงที่มาของพฤติกรรมนั้นดวยวาเกิดจากองคประกอบในเรื่องใด

จากแผนภาพที่ 1 สํานักคณะกรรมการขาราชการพลเรือนไดอธิบายถึงความแตกตางระหวางบุคคลเปรียบเทียบไดกับภูเขาน้ําแข็ง การที่บุคคลจะมีพฤติกรรมในการทํางานอยางใดอยางหนึ่งขึ้นอยูกับคุณลักษณะที่บุคคลมีอยูในตัวเอง ซึ่งอธิบายในรูปตัวแบบภูเขาน้ําแข็งไดวา สวนเล็กๆของภูเขาน้ําแข็งที่ลอยอยูเหนือน้ํานั้นจะสังเกตเห็นไดและสามารถที่จะวัดไดนํามาพัฒนาได ก็เปรียบเสมือนกับสวนขององคความรูและทักษะตางๆ ที่บุคคลมีอยูภายนอกซึ่งจะงายตอการที่จะพัฒนา แตสวนของภูเขาน้ําแข็งที่อยูใตน้ําที่เปนสวนใหญกวา เห็นไดยาก สังเกตไดยาก และวัดไดยากกวา แตเปนสวนที่มีความสําคัญและมีอิทธิพลตอการทํางานอยางมีประสิทธิภาพของบุคคลและซอนเรนอยูลึกๆ ภายในตัวบุคคล ซึ่งไดแกบทบาทที่แสดงออกตอสังคมภาพลักษณภายในแรงจูงใจ ลักษณะนิสัยแรงผลักดันเบื้องลึกสมรรถนะเหลานี้ จะยากตอการวัดและพัฒนาบางครั้งสมรรถนะที่

Page 24: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

13

อยูใตน้ํา สามารถเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาไดดวยการฝกอบรมการบําบัดทางจิตวิทยาและหรือพัฒนาโดยการใหประสบการณทางบวกแกบุคคล แตก็เปนสิ่งที่พัฒนาคอนขางยากและตองใชเวลานานและเนื่องจากมีการกลาววาสวนของภูเขาน้ําแข็งที่อยูใตน้ําหรือาจหมายถึงสวนลึกๆ ของจิตใจของบุคคลมีความสําคัญกวาสวนของความรูทักษะความสามารถ ทําใหบางครั้งโมเดลสมรรถนะไปเนนในสวนนี้มาก จนละเลยสวนของความรูทักษะความสามารถ แตในความเปนจริงแลวการที่บุคคลจะมีผลการปฏิบัติงานที่ดีได สิ่งแรกที่จําเปนตองมีและจะขาดเสียไมไดเลยนั้นคือ ความรูทักษะความสามารถที่จะทํางานหรือเปนปจจัยที่เรียกวา “Can do” หรือ ความสามารถที่จะทํางานนั้นๆไดสวนของภูเขาน้ําแข็งที่อยูใตน้ําหรือสวนลึกๆในจิตใจของบุคคลนั้นแตเดิมเคยเรียกวาเปนปจจัย “will do” คือเมื่อมีความรูความสามารถแลว แตจะตั้งใจทํางานหรือไม เปนอีกปจจัยหนึ่งซึ่งแยกออกมาตางหาก ถาบุคคลมีทั้งความสามารถและมีคุณลักษณะที่เหมาะสมกับงานก็จะทําใหทํางานไดดี

วิลัยภรณ แยมสวน (2552 : 15) ไดกลาวไววา องคประกอบหลักของสมรรถนะมี 3 ประการ ดังนี้

1. ความรู (Knowledge) คือสิ่งที่องคการตองการให “รู” เชน ความรู ความเขาใจในกฎหมายปกครอง

2. ทักษะ (skill) คือ สิ่งที่องคการตองการให “ทํา” เชนทักษะดาน ICT ทักษะดานเทคโนโลยีการบริหารสมัยใหม เปนสิ่งที่ตองผานการเรียนรู และฝกฝนเปนประจําจนเกิดเปนความชํานาญในการใชงาน

3. พฤตินิสัยที่พึงปรารถนา (attributes) คือสิ่งที่องคการตองการให “เปน” เชน ความใฝรู ความซื่อสัตย ความรักในองคการ และความมุงมั่นในความสําเร็จ สิ่งเหลานี้จะอยูลึกลงไปในจิตใจ ตองปลูกฝงสรางยากกวาความรูและทักษะ

ณรงควิทย แสนทอง (2547 : 10-11) ไดทําการแบงสมรรถนะออกเปน 3 ประเภท ไดแก 1. สมรรถนะหลัก (Core competency) หมายถึง บุคลิกลักษณะของคนที่สะทอนใหเห็นถึงความรู ทักษะ ทัศนคติ ความเชื่อ และอุปนิสัยของคนในองคการโดยรวมที่จะชวยสนับสนุนใหองคการบรรลุเปาหมายตามวิสัยทัศนได 2. สมรรถนะตามสายงาน (Job competency) หมายถึง บุคลิกลักษณะของคนที่สะทอนใหเห็นถึงความรู ทักษะ ทัศนคติ ความเชื่อ และอุปนิสัยที่จะชวยสงเสริมใหคนนั้นๆ สามารถสรางผลงานในการปฏิบัติงานตําแหนงนั้นๆ ไดสูงกวามาตรฐาน 3. สมรรถนะสวนบุคคล (Personal competency) หมายถึง บุคลิกลักษณะของคนที่สะทอนใหเห็นถึงความรู ทักษะ ทัศนคติ ความเชื่อ และอุปนิสัยที่ทําใหบุคคลนั้นมีความสามารถใน

Page 25: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

14

การทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งไดโดดเดนกวาคนทั่วไป เชน สามารถอาศัยอยูกับแมงปองหรืออสรพิษได เปนตน ซึ่งเรามักจะเรียกสมรรถนะสวนบุคคลวาความสามารถพิเศษสวนบุคคล จิรประภา อัครบวร (2549 : 68) ไดกลาวไววา สมรรถนะในตําแหนงหนึ่งๆ จะประกอบไปดวย 3 ประเภท ไดแก

1. สมรรถนะหลัก (Core competency) คือ พฤติกรรมที่ดีที่ทุกคนในองคการตองมี เพื่อแสดงถึงวัฒนธรรมและหลักนิยมขององคการ

2. สมรรถนะบริหาร (Professional competency) คือ คุณสมบัติความสามารถดานการบริหารที่บุคลากรในองคการทุกคนจําเปนตองมีในการทํางาน เพื่อใหงานสําเร็จ และสอดคลองกับแผนกลยุทธ วิสัยทัศน ขององคการ

3. สมรรถนะเชิงเทคนิค (Technical competency) คือ ทักษะดานวิชาชีพที่จําเปนในการนําไปปฏิบัติงานใหบรรลุผลสําเร็จ โดยจะแตกตางกันตามลักษณะงาน โดยสามารถจําแนกได 2 สวนยอย ไดแก สมรรถนะเชิงเทคนิคหลัก (Core technical competency) และสมรรถนะเชิงเทคนิคเฉพาะ (Specific technical competency)

ดนัย เทียนพุฒ (2543 : 9) ใหความเห็นวา สมรรถนะของคนเปนคุณลักษณะสวนบุคคลหรือคุณลักษณะที่แทจริงนี้จะสรางแรงขับใหคนทํางานไดดีกวาผลงานเฉลี่ยในปจจุบัน ก็คือ แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) ซึ่งจะนิยามได 5 ลักษณะดวยกัน

1. แรงจูงใจ (Motive) คือ แรงขับ ทิศทางและการเลือก เปนสิ่งที่คนทํางานคิดอยูตลอดเวลาหรือตองการเพื่อเปนเหตุผลของการปฏิบัติงานหรือดําเนินงาน

2. คุณลักษณะ (Traits) เปนคุณลักษณะที่กําหนดวิธีการประพฤติปฏิบัติหรือการตอบสนองอยางคงที่ (สม่ําเสมอ) ดวยลักษณะของความเชื่อมั่นในตนเอง การควบคุมตนเองและควบคุมความเครียด

3. แนวคิดเกี่ยวกับตนเอง (Self - Concept) เปนทัศนคติ คุณคา หรือความนึกคิดของตนเองที่ทําใหคิดและสนใจในสิ่งที่ทําอยู

4. ความรูในเนื้อหา (Content Knowledge) คือขอเท็จจริง หรือวิธีการดําเนินการ ซึ่งเปน สารสนเทศที่มีของเขตเฉพาะของแตละบุคคล อาจจะเปนดานเทคนิค หรือมนุษยสัมพันธ

5. ทักษะความรู ความคิดและพฤติกรรม (Cognitive & Behavioral Skills) คือ ความสามารถที่จะทํางานได ทั้งกายภายในและใชสติปญญา

ลักษณะทั้ง 5 ประการของแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ จะเปนองคประกอบสําคัญที่สรางใหคนเกิดสมรรถนะขึ้นมา

Page 26: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

15

อานนท ศักดิ์วรวิชญ (2547 : 58) ไดใหความเห็นไววาสมรรถนะไมนาจะแตกตางจาก KSAOs ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานแมขอแตกตางอื่นๆ เชน จุดมุงเนนคานิยมบุคลิกภาพหรือทักษะทางเทคนิคตางๆก็มีอยูใน KSAOs ครบถวนโดยเฉพาะ Other Characteristics แตสิ่งที่แตกตางคือสมรรถนะจะตองแยกระหวางคนที่ทํางานไดดีมากเปนพิเศษออกจากคนที่ทํางานไดโดยเฉลี่ยปกติ

จากขอความขางตนกลาวไดวาองคประกอบของสมรรถนะที่จะเปนในการปฏิบัติงานประกอบดวยความรูทักษะความสามารถและคุณลักษณะอื่นๆ ที่จําเปนในการปฏิบัติงานซึ่งเปนการจําแนกความแตกตางระหวางบุคคลที่มีผลการปฏิบัติงานสูงกวาบุคคลที่มีผลการปฏิบัติงานตามปกติ

ความหมายแตละองคประกอบของสมรรถนะหลักมีดังนี้1. ความรู (Knowledge) หมายถึง ขอมูลหรือสิ่ งที่ถูกสั่ งสมมาจากการศึกษาใน

สถาบันการศึกษาสถาบันฝกอบรม/สัมมนาหรือการศึกษาดวยตนเองรวมถึงขอมูลที่ไดรับจากการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณกับผูรูทั้งในสายวิชาชีพเดียวกับและตางสายวิชาชีพ (อาภรณ ภูวิทยพันธุ, 2548:22)

2. ทักษะ (Skills) หมายถึง สิ่งที่ตองพัฒนาและฝกฝนใหเกิดขึ้นโดยจะตองใชระยะเวลาเพื่อฝกปฏิบัติใหเกิดทักษะนั้นขึ้นมาทั้งนี้ทักษะจะถูกแบงออกเปน 2 ดานไดแก

2.1 ทักษะดานการบริหารงาน/จัดการงาน (Management Skills) หมายถึง ทักษะในการบริหารควบคุมงาน ซึ่งจะเกี่ยวของกับระบบความคิด และการจัดการในการบริหารงานใหมีประสิทธิภาพเชนทักษะในการมีวิสัยทัศนทางกลยุทธซึ่งทักษะดังกลาวจะแสดงออกถึงการจัดระบบความคิด เพื่อมองไปที่เปาหมายในอนาคตวาอยากจะทําหรือมีความตองการอะไรในอนาคต

2.2 ทักษะดานเทคนิคเฉพาะงาน (Technical Skills) หมายถึง ทักษะที่จําเปนในการทํางานตามสายงานหรือกลุมงานที่แตกตางกันไป เชน งานจัดซื้อจะมีหนาที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่แตกตางไปจากงานผลิตดังนั้นทักษะที่ตองการของคนที่ทํางานดานจัดซื้อไดนั้นจะตองแตกตางไปจากงานผลิตเชนเดียวกัน

3. ความสามารถ (Ability) หมายถึง ความสามารถเชิงปญญาที่จําเปนสําหรับการปฏิบัติงาน กลาวคือเปนความสามารถในการประยุกตความรูที่มีอยูไปในการปฏิบัติงาน เชน ความสามารถในการใหคําปรึกษาแนะนําแกผูใตบังคับบัญชา เปนตน (อางในมาฆมาส กาญจนากร, 2549:12)

4. คุณลักษณะอื่นๆ (Other Characteristics) ที่จะเปนในการปฏิบัติงานหมายถึง ลักษณะที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการแสดงออกของบุคคลนั้นๆ เชน อุปนิสัยทัศนคติแรงผลักดันเบื้องลึก

Page 27: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

16

คานิยม จริยธรรม บุคลิกภาพและคุณลักษณะทางกายภาพอื่นๆ เปนตน ซึ่งจําเปนและสอดคลองกับความเหมาะสมขององคการ (อางในมาฆมาส กาญจนากร,2549:12)

นอกจากนี้ สํานักงานกรุงเทพมหานคร (2559) ไดกําหนดสมรรถนะหลักของขาราชการกรุงเทพมหานคร ไวดังนี้ 1. คุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง การครองตนและการประพฤติปฏิบัติตนถูกตองตามหลักคุณธรรม จริยธรรม มีความสํานึก และรับผิดชอบตอตนเอง ตลอดจนวิชาชีพของตน เพื่อธํารงรักษาศักดิ์ศรีแหงอาชีพขาราชการ 2. การบริการที่ดี หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงถึงความตั้งใจ ความพยายาม ความพรอมในการใหบริการประชาชน และอุทิศเวลาที่ตอบสนองความตองการของผูรับบริการ 3. การมุงผลสัมฤทธิ์ หมายถึง ความมุงมั่นในการปฏิบัติราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานและคุณภาพงานที่กําหนด และหรือใหเกินจากมาตรฐานที่กําหนด 4. ทํางานเปนทีม หมายถึง การทํางานโดยมีพฤติกรรมที่สามารถทํางานรวมกับผูอื่นได สามารถรับฟงความคิดเห็นของสมาชิกในทีม เต็มใจเรียนรูจากผูอื่น และมีความสามารถในการสรางและรักษาความสัมพันธภาพกับสมาชิกในทีม 5. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ หมายถึง ความขวนขวาย สนใจใฝรูเพื่อพัฒนาศักยภาพ ความรู ความสามารถของตนในการปฏิบัติราชการ ดวยการศึกษาคนควาหาความรู พัฒนาตนเองอยางตอเนื่องอีกทั้งยังรูจักพัฒนา ปรับปรุงประยุกตใชความรู เชิงวิชาการและเทคโนโลยีตาง ๆ เขากับการปฏิบัติงานใหเกิดผลสัมฤทธิ์

2.1.4 ประโยชนของสมรรถนะประโยชนของสมรรถนะมี 3 ประการ ดังนี้ (ณรงควิทย แสนทอง, 2547: 11-16)1. ชวยสนับสนุนวิสัยทัศน ภารกิจ และกลยุทธขององคการ

Competency ที่เปนหลักหรือที่เรียกวา Core Competency นั้นจะชวยในการสรางกรอบแนวคิดพฤติกรรม ความเชื่อ ทัศนคติของคนในองคการใหเปนไปในทิศทางเดียวกันกับวิสัยทัศนภารกิจและกลยุทธขององคการและ Core Competency เปรียบเสมือนตัวเรงปฏิกิริยาใหเปาหมายตางๆ บรรลุเปาหมายไดดีและเร็วยิ่งขึ้น

2. การสรางวัฒนธรรมองคการ (Corporate Culture)ถามีที่ดินวางเปลาอยูผืนหนึ่งและเจาของที่ดินไมไดปลุกอะไรไว ไมนาน ที่ดินผืนนั้น

ก็จะเต็มไปดวยตนไมใบหญาที่มันเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ยิ่งปลอยไวนานเทาไหรโอกาสที่จะขุดถอนก็ยอมยากมากขึ้นเทานั้น โอกาสที่เราจะเขาไปปลูกตนไมพืชผักที่เปนประโยชนก็นอยลงเพราะตนไมที่ขึ้นอยูเดิมไดหยั่งรากลึกเกินไป

Page 28: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

17

เชนเดียวกันกับองคการ ถาองคการใดไมไดออกแบบวัฒนธรรมโดยรวมขององคการไวอยูไปนานๆ พนักงานหรือบุคลากรจะสรางวัฒนธรรมองคการขึ้นมาเองโดยธรรมชาติซึ่งวัฒนธรรมองคการที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาตินี้ อาจจะมีบางอยางสนับสนุนหรือเอื้อตอการดําเนินธุรกิจขององคการ แตวัฒนธรรมบางอยางอาจจะเปนปญหาอุปสรรคตอการเติบโตขององคการ

ดังนั้น Competency จึงมีประโยชนตอการกําหนดวัฒนธรรมองคการดังนี้- ชวยสรางกรอบการแสดงออกทางพฤติกรรมของคนในองคการโดยรวมใหเปนไปใน

ทิศทางเดียวกัน- ชวยสนับสนุนการดําเนินงานองคการใหบรรลุเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพมาก

ขึ้น- ชวยใหเห็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากรในภาพรวมขององคการไดชัดเจนมากยิ่งข้ึน- ชวยปองกันไมใหเกิดวัฒนธรรมองคการตามธรรมชาติที่ไมพึงประสงคได3. เปนเครื่องมือในการบริหารงานดานทรัพยากรมนุษย

3.1 การคัดเลือกบุคลากร (Recruitment)Competency มีประโยชนในการคัดเลือกบุคลากรดังนี้- ชวยใหการคัดเลือกคนเขาทํางานถูกตองมากขึ้น เพราะคนบางคนเกงมีความรู

ความสามารถสูง ประสบการณดีแตอาจจะไมเหมาะสมกับลักษณะการทํางานในตําแหนงนั้นๆหรือไมเหมาะสมกับลักษณะของวัฒนธรรมองคการก็ได

- นําไปใชในการออกแบบคําถามหรือแบบทดสอบ- ลดการสูญเสียเวลาและทรัพยากรในการพัฒนาฝกอบรมพนักงานใหมที่มี

ความสามารถไมสอดคลองกับความตองการของตําแหนงงาน- ปองกันความผิดพลาดในการคัดเลือก เพราะหลายครั้งที่ผูทําหนาที่คัดเลือกมี

ประสบการณนอย ตามผูสมัครไมทัน พูดงายๆ ก็คือโดยผูสมัครหลอกนั้นเอง3.2 การพัฒนาและฝกอบรม (Training & Development) Competency มีประโยชน

ในการพัฒนาและฝกอบรมดังนี้- นํามาใชในการจัดทําเสนทางความกาวหนาในการพัฒนาและฝกอบรม (Training

Road Map) - ชวยใหทราบวาผูดํารงตําแหนงนั้นๆ จะตองมีความสามารถเรื่องอะไรบาง และ

ชองวาง (Training Gap) ระหวางความสามารถที่ตําแหนงตองการกับความสามารถที่เขามีจริงหางกันมากนอยเพียงใด เพื่อนําไปใชในการจัดทําแผนพัฒนาความสามารถสวนบุคคล (Individual Development Plan) ตอไป

Page 29: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

18

- ชวยในการวางแผนการพัฒนาผูดํารงตําแหนงใหสอดคลองกับเสนทางความกาวหนาในอาชีพดวยการนําเอา Competency ของตําแหนงงานที่สูงขึ้นไปมาพัฒนาบุคลากรในขณะที่เขายังดํารงตําแหนงงานที่ต่ํากวา

3.3 การเลื่อนระดับปรับตําแหนง (Promotion) Competency มีประโยชนในการเลื่อนระดับและปรับตําแหนงดังนี้

- ใชในการพิจารณาความเหมาะสมในการดํารงตําแหนง หรือระดับที่สูงขึ้นไป โดยพิจารณาทั้งในเรื่องของความสามารถในงาน (Technical Competencies) เชน ดานการบริหารจัดการ ดานการทํางานรวมกับผูอื่น ดานระบบการคิด

- ชวยปองกันความผิดพลาดในการเลื่อนระดับปรับตําแหนงเหมือนอดีตที่ผานมาดังคํากลาวที่วา “ไดหัวหนาแยๆ มาหนึ่งคน และสูญเสียผูปฏิบัติงานเกงๆ ไปอีกหนึ่งคน” ซึ่งหมายถึง การที่องคการพิจารณาเลื่อนตําแหนงคน จากคุณสมบัติที่วาคนๆนั้นทํางานเกงในตําแหนงเดิมอยูมานาน ผลงานดีตลอด ซื่อสัตยสุจริต แลวตอบแทนเขาโดยการเลื่อนตําแหนงงานใหสูงขึ้น ทั้งๆที่ในความเปนจริงผูที่ไดรับการเลื่อนตําแหนงน้ันเขาไมมีความสามารถในการปกครองคนเลย

3.4 การโยกยายตําแหนงหนาที่ (Rotation)Competency มีประโยชนในการโยกยายตําแหนงหนาที่ดังนี้- ชวยใหทราบวาตําแหนงที่จะยายไปนั้น จําเปนตองมี Competency อะไรบาง

แลวผูที่ยายไปมีหรือไมมี Competency อะไรบาง- ชวยลดความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน เพราะถายายคนที่มีCompetencyไมเหมาะสม

ไปอาจจะทําใหเสียทั้งงานและกําลังใจของผูปฏิบัติงาน3.5 การประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Appraisal)

Competency มีประโยชนในการประเมินผลการปฏิบัติงานดังนี้- ชวยใหทราบวา Competency เรื่องใดที่จะชวยใหผูปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงาน

ไดสูงกวาผลงานมาตรฐานทั่วไป- ชวยในการกําหนดแผนพัฒนาความสามารถสวนบุคคล

3.6 การบริหารผลตอบแทน (Compensation)Competency มีประโยชนในการบริหารผลตอบแทนดังนี้- ชวยในการกําหนดอัตราวาจางพนักงานใหมวาควรจะไดรับผลตอบแทนที่

เหมาะสมกับระดับความสามารถ ไมใชกําหนดอัตราจางเริ่มตนดวยวุฒิการศึกษาเหมือนที่ผานมา- ชวยในการจายผลตอบแทนตามระดับความสามารถที่ เพิ่มขึ้น ไมใชจาย

ผลตอบแทนตามอายุงานหรือจํานวนปที่ทํางานที่เพิ่มขึ้นเหมือนสมัยกอน

Page 30: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

19

ประโยชนของสมรรถนะ มีประโยชนในหลายระดับที่แตกตางกัน สรุปได 4 เปาหมาย คือ (Rylatt & Lohan,1995: 56-58, อางถึงใน กีรติ ยศยิ่งยง, 2550: 25-28)

1. ประโยชนตอพนังงาน1.1 มีความชัดเจนในการเชื่อมโยงลําดับชั้นของการเรียนรูการถายโอนทักษะในการ

ปฏิบัติงาน และการปรับตัวตอการทํางานเพื่อคุณคาและศักยภาพในการทํางานที่จะแสดงใหเห็นตอความกาวหนาในอาชีพตอไป

1.2 เพิ่มความสามารถไดรูถึงพนักงานในการที่จะสามารถถายโอนทักษะและฝกใหเปนทักษะที่จําเปนตอความตองการของตลาด

1.3 พนักงานสามารถรูถึงขีดความสามารถที่แทจริงของตนเองที่ไดรับจากการประเมินรวมกันระหวางองคการ และพนักงานทําใหรูถึงขีดความสามารถที่ตองการในองคการหรือใชเปรียบเทียบภายนอกองคการได

1.4 องคการที่ยึดหลักการใชประโยชนจากขีดความสามารถแสดงใหเห็นวาองคการนั้นมีทัศนคติและคานิยมที่ชัดเจนตอการเรียนรู และความกาวหนาในอาชีพของพนักงาน

1.5 มีการประเมินวัตถุประสงคในการปฏิบัติงานมากขึ้น และมีการใหขอมูลยอน กลับที่ชัดเจน เนื่องจากมีการประเมินที่สามารถเทียบกับมาตรฐานที่ตั้งขึ้นเปนการเตรียมการที่จะกระตุน หรือจูงพนักงานใหพยายามฝกฝนตนเองใหเขากับมาตรฐาน

2. ประโยชนตอองคกร2.1 ทําใหองคการสามารถที่จะมุงฝกฝนอบรมเพื่อลดชองวางทางทักษะ ความรูและ

ทัศนคติ ดวยการฝกอบรมเฉพาะและมีเปาหมายที่ชัดเจนเปนที่ตองการตามลักษณะงาน2.2 ชวยในการปรับปรุงประสิทธิภาพในการรับสมัครงานดวยการเปรียบเทียบขีด

ความสามารถที่ตองใชในงานกับขีดความสามารถที่ผูสมัครงานแตละคนมีอยู2.3 เกิดความคุมคาในการฝกอบรมที่จะขึ้นอยูกับความจําเปนในการเพิ่มผลิตผลและ

การเพิ่มความสามารถทางการแขงขัน2.4 สรางความเชื่อมั่นมากขึ้นแกองคการในการตัดสินใจวาทรัพยากรมนุษยของตน

นั้นมีความมุงมั่นที่จะตองฝกอบรมเพื่อใหเกิดทักษะอยางแทจริง2.5 ชวยในการประเมินทั้งการประเมินผลกิจกรรมการพัฒนาทรัพยากร ประเมินผล

การปฏิบัติงาน และประเมินผลงานของหนวยงาน2.6 ชวยใหการเปลี่ยนแปลงของหนวยงานและองคการมีความคลองตัว เพราะ

สามารถกําหนดขีดความสามารถไปยังผูเก่ียวของไดโดยตรง

Page 31: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

20

3. ประโยชนตออุตสาหกรรม3.1 สามารถกําหนด และระบุถึงทักษะที่จะเปน และตรงกับความตองการของงาน

ดานอุตสาหกรรมไดดียิ่งขึ้น3.2 ชวยใหการจัดฝกอบรมในภาครัฐ และภาคอุตสาหกรรมตองเกี่ยวของและเชื่อม

โยงกับมาตรฐานอุตสาหกรรมในระดับสากล3.3 ชวยทําใหการไปสูผลสําเร็จมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดวยการลดความซ้ําซอนที่

เกิดขึ้นจากการฝกอบรม3.4 ชวยสงเสริมใหมีการพัฒนาทักษะ ความชํานาญในเชิงกวางที่เปนประโยชนและ

เชื่อมโยงกับการพัฒนาในอนาคต4. ประโยชนตอเศรษฐกิจระดับประเทศ

4.1 ทําใหมีการพัฒนารูปแบบของขีดความสามารถที่จะแขงขันไดในตลาดโลก4.2 เปนการสงเสริมใหมีการลงทุนภาคอุตสาหกรรมในระดับสากลโดยพิจารณาจาก

แรงงานที่มีทักษะเปนสําคัญ4.3 เปนการประเมินในระดับประเทศเมื่อเทียบกับความเกี่ยวของกับมาตรฐานสากล

ในปจจุบัน4.4 สงเสริมใหบุคคลไดรับรูถึงขีดความสามารถที่อุตสาหกรรมตองการอยาง เทา

เทียมโดยมีการจัดลําดับของการเรียนรูเทียบกับมาตรฐานที่กําหนดไวกลาวโดยสรุปไดวา ประโยชนของสมรรถนะนั้น ณรงควิทย แสนทอง (2547) ได

อธิบายประโยชนในมิติที่ 1 เปนกระบวนการที่ใชเปนเครื่องมือการจัดการหรือการบริหารทรัพยากรมนุษยเพราะการที่จะบริหารทรัพยากรมนุษยไดดีนั้น สิ่งสําคัญก็คือเครื่องมือในการบริหาร ซึ่งสมรรถนะก็เปนเครื่องมือชนิดหนึ่งที่จะทําใหเขาไปแกไข สนับสนุนการบริหารทรัพยากรมนุษยใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เชน การรับคนเขาทํางาน การพัฒนาการฝกอบรม การปรับเลื่อนตําแหนง คาตอบแทน ซึ่งสิ่งเหลานี้ถาไมมีการนําสมรรถนะมาใช ความสูญเสียทรัพยากรมนุษยก็จะเกิดขึ้นโดยงาย ทําใหเปาหมายขององคกรไมสามารถบรรลุได อีกทั้งยังจะทําใหเกิดตนทุนคาใชจายที่มากขึ้นในมิติที่ 2 เปนเครื่องมือในการสรางวัฒนธรรมที่พึงประสงค กลาวคือการกําหนดสมรรถนะหลักและสมรรถนะในหนาที่ จะเปนการสรางกรอบการทํางาน เมื่อทุกคนยอมรับและปฏิบัติตามสิ่งที่เกิดขึ้นตอมาก็คือ วัฒนธรรมองคกร เชนสมรรถนะกําหนดวาจะตองเปนผูที่มีจริยธรรม มีความรูความสามารถ มีภาวะผูนํา บุคคลที่เขามาสูองคกรตองปฏิบัติตาม เพราะสิ่งเหลานี้ไดปฏิบัติมาจนเปนวัฒนธรรมองคกร ซึ่งใครไมทําตามก็ไมสามารถที่จะอยูในองคกรนี้ตอไปได ในมิติที่ 3 เปนการสรางสมรรถนะโดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน ภารกิจ และกลยุทธขององคกรในมิตินี้ประโยชนคือ จะ

Page 32: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

21

เปนการกําหนดสมรรถนะที่ตรงตามวิสัยทัศน พันธกิจ และกลยุทธองคกร เปนการกําหนดสมรรถนะที่มีทิศทางชัดเจนซึ่งจะทําใหเปาหมายขององคกรนั้นบรรลุเปาหมาย

2.1.5 ประเภทของสมรรถนะ (Competency)ณรงควิทย แสนทอง (2547) ไดจัดแบงสมรรถนะเปน 3 ประเภท คือ1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) หมายถึง บุคลิกลักษณะของคนที่สะทอนใหเห็น

ถึงความรู ทักษะ ทัศนคติ ความเชื่อ และอุปนิสัยของคนโดยรวมที่จะชวยสนับสนุนใหองคการบรรลุเปาหมายตามวิสัยทัศน

2. สมรรถนะในหนาที่ (Job Competency) หมายถึงบุคลิกลักษณะของคนสะทอนใหเห็นความรู ทักษะ ทัศนคติ ความเชื่อ และอุปนิสัย ที่จะชวยสงเสริมใหคนนั้นๆ สามารถสรางผลงานในการปฏิบัติงานตําแหนงนั้นๆ ไดสูงกวามาตรฐาน

3. สมรรถนะสวนบุคคล (Personal Competency) หมายถึง บุคลิกลักษณะของคนที่สะทอนใหเห็นความรู ทักษะ ทัศนคติ ความเชื่อ และอุปนิสัยที่ทําใหบุคคลนั้นมีความสามารถในการทําสิ่ งใดไดโดดเดนกวาคนอื่นๆ เชน พวกที่สามารถอาศัยกับแมลงได หรือเรี ยกว า ความสามารถพิเศษสวนบุคคล

สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) และบริษัทเฮยกรุป ไดกําหนดสมรรถนะในระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนที่ปรับปรุงใหมมีความเกี่ยวของกับกลุมงาน (Job Family) 18 กลุมงาน สําหรับขาราชการพลเรือน ซึ่งไดแก กลุมงานสนับสนุนทั่วไป กลุมงานสนับสนุนหลักทางเทคนิคเฉพาะดาน กลุมงานใหคําปรึกษา กลุมงานบริหาร กลุมงานนโยบายและ การวางแผน กลุมงานศึกษาวิจัยและพัฒนา กลุมงานขาวกรองและสอบสวน กลุมงานออกแบบเพื่อพัฒนา กลุมงานความสัมพันธระหวางประเทศ กลุมงานบังคับใชกฎหมายฯลฯ โดยทั้ง 18 กลุมงานจะตองมีสมรรถนะประกอบดวย 2 สวนคือ

1. สมรรถนะหลักสําหรับขาราชการพลเรือนทุกคน สมรรถนะหลัก คือ คุณลักษณะรวมของขาราชการพลเรือนไทยทั้งระบบเพื่อหลอ

หลอมคานิยม และพฤติกรรมที่พึงประสงครวมกันประกอบดวย 5 สมรรถนะ คือ1.1 การมุงผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation)เปนความมุงมั่นที่จะปฏิบัติงานใหไดมาตรฐานหรือเกินกวามาตรฐานที่กําหนดไว

รวมทั้งสามารถสรางสรรคผลงานหรือกระบวนการปฏิบัติงานใหไดตามเปาหมาย อยางมีประสิทธิภาพเพื่อสรางความเขาใจใหดียิ่งขึ้นจึงใหความมุงผลสัมฤทธิ์โดยแยกเปนรายละเอียด ดังนี้

- การประสิทธิภาพและประสิทธิผล- การวางแผน

Page 33: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

22

1.2 การบริการที่ดี (Service Mind)งานบริการ คือ หนาที่หลักของภาคราชการเกือบรอยเปอรเซ็นต การบริการประชาชน

อยางมีคุณภาพจึงเปนหัวใจสําคัญของภาคราชการในยุคตอจากนี้ไป เนื่องจากประชาชนมีความคาดหวังจากการบริหารของภาครัฐ งานบริหารจึงมีความสําคัญมากในการทํางานของระบบราชการ

ลักษณะของผูที่ทํางานบริการไดดีสมิต สัชณุกร (2542: 23-27) ไดกลาวถึงคุณลักษณะที่จะทํางานบริการไดดี ดังนี้

- มีใจรักในงานบริการ- มีความรูในงานที่จะบริการ- มีความรูในตัวสินคาและบริการ- มีความรับผิดชอบตอการปฏิบัติตน

- มีความรับผิดชอบตองานในหนาที่- มีความรับผิดชอบตอลูกคาหรือผูใชบริการ- มีวิจารณญาณไตรตรองใหรอบคอบ- มีความสามารถในการวิเคราะหปญหา

1.3 การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise)เปนการใฝหาความรูเพื่อพัฒนาศักยภาพในการทํางานใหดียิ่งขึ้น สรางการเรียนรูดวย

ตนเอง และสามารถปรับปรุงแกไขใหเจริญงอกงามทั้งทางดานประสิทธิภาพในการทํางานดวยปญญาและความสามารถ การพัฒนาตนเองใหทันตอการเปลี่ยนแปลงจึงเปนสิ่งที่มีความจําเปนในปจจุบันเปนอยางมากเพื่อใหเขาใจการพัฒนาตนเอง

1.4 จริยธรรม (Integrity) การปฏิบัติที่แสดงออกทั้งทางกาย ทางวาจา และทางใจ ตามกฎเกณฑที่ดีงามสังคมซึ่ง

สะทอนคุณธรรมและศีลธรรมในตัวบุคคล เพื่อกอใหเกิดความสุขแกตนเองและสังคม1.5 ความรวมแรงรวมใจ (Teamwork)เปนความตั้งใจที่จะทํางานรวมกับผูอื่น เปนสวนหนึ่ งของงาน สามารถสราง

ความสัมพันธอันดีระหวางผูปฏิบัติงาน ใหสามารถสรางสัมพันธภาพนการปฏิบัติงานรวมกัน ซึ่งมีความจําเปนสําหรับการปฏิบัติงานในปจจุบัน

2. สมรรถนะประจํากลุมงานสมรรถนะประจํากลุมงาน คือ สมรรถนะที่กําหนดเฉพาะสําหรับกลุมงานเพื่อสนับสนุน

ใหขาราชการแสดงพฤติกรรมที่ เหมาะสมแกหนาที่และสงเสริมใหแตละกลุมงานมีสมรรถนะ

Page 34: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

23

ประจํากลุมงาน งานละ 3 สมรรถนะ (ยกเวนกลุมงานนักบริหารระดับสูงมี 5 สมรรถนะ) สมรรถนะประจํากลุมงานมีทั้งหมด 20 สมรรถนะดวยกัน คือ

- การคิดวิเคราะห (Analytical Thinking)- การมองภาพรวม (Conceptual Thinking)- การพัฒนาศักยภาพคน (Caring & Developing Others)- การสั่งการตามอํานาจหนาที่ (Holding People Accountable)- ความเขาใจขอแตกตางระหวางวัฒนธรรม (Cultural Sensivity)- ความเขาใจผูอื่น (Interpersonal Understanding)- ความเขาใจองคการและระบบราชการ (Organization Awareness)- การดําเนินการเชิงรุก (Proactive ness)- ความถูกตองของงาน (Concern for Order)- ความมั่นใจตนเอง (Self Confidence)- ความยืดหยุนผอนปรน (Flexibililty)- สภาวะผูนํา (Leadership)- สุนทรียภาพทางศิลปะ (Aesthetic Quality)- วิสัยทัศน (Vision)- การวางกลยุทธภาครัฐ (Strategic Orientation)- ศักยภาพเพื่อนําการเปลี่ยนแปลง (Chang Leadership)- การควบคุมตนเอง (Self Control)- การใหอํานาจแกผูอื่น (Empowering Others)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (2559) ไดแบงประเภทของสมรรถนะใน

การทํางาน(Competency Model) ออกเปน 4 กลุมดวยกันคือ1. สมรรถนะหลัก (Core Competency: CC) หมายถึงทักษะ และคุณลักษณะที่ทุกคนใน

องคกรจําเปนตองมี เปนพื้นฐานที่จะนําองคกรไปสูวิสัยทัศนที่กําหนดไว ซึ่งสมรรถนะหลักประกอบไปดวย

1.1 การมุงผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation-ACH)1.2 บริการที่ดี (Service Mind-SERV)1.3 ความรวมแรงรวมใจ (Teamwork-TW)1.4 จริยธรรม (Integrity-ING)1.5 การสั่งสมความชํานาญในงานอาชีพ (Expertise-EXP)

Page 35: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

24

2. สมรรถนะตามบทบาทหนาที่ (Functional Competency: FC) หมายถึง ความรู ทักษะและ คุณลักษณะที่บุคลากรจําเปนตองมี เพื่อใชในการปฏิบัติหนาที่ใหบรรลุเปาหมายที่ วางไว สมรรถนะตามบทบาทหนาที่ ประกอบไปดวย

2.1 การคิดวิเคราะห (Analytical Thinking-AT)2.2 การมองภาพองครวม (Conceptual Thinking-CT)2.3 การสืบเสาะหาขอมูล (Information Seeking-INF)2.4 ความเขาใจขอแตกตางทางวัฒนธรรม (Cultural Sensitivity-CS)2.5 ความเขาใจผูอื่น (Interpersonal Understanding-IU)2.6 การดําเนินการเชิงรุก (Proactiveness-PROAC)2.7 ความถูกตองของงาน (Concern for Order-CO)2.8 ความมั่นใจของตนเอง (Self Confidence-SCF)2.9 ความยืดหยุนผอนปรน (Flexibility-FLX)2.10 ศิลปะการสื่อสารจูงใจ (Communication & Influencing-CI)2.11 สุนทรียภาพทางศิลปะ (Aesthetic Quality-AQ)2.12 การประสานงาน (Coordination-COOR)2.13 การวางแผน (Planning-PLAN)2.14 การติดตามงาน (Follow up-FO)2.15 การเจรจาตอรอง (Negotiation-NE)2.16 การแกปญหา (Problem Solving-PS)2.17 การใหคําปรึกษา (Consultation-CONSULT)2.18 การบริหารงานวิจัย (Research Management-RM)2.19 การบริหารโครงการ (Project Management-PM)2.20 การบริหารงบประมาณ (Budget Management-BM)2.21 ความสามารถในการใชภาษาอังกฤษ (English Literacy-ENG)2.22 ความสามารถในการใชอุปกรณ IT (IT Literacy-IT)2.23 ความสามารถในการจัดทําเอกสาร (Writing Literacy-WRITE)

3. สมรรถนะดานการบริหาร (Management Competency: MC) หมายถึง ความรู ทักษะและ คุณลักษณะดานการบริหารจัดการที่จําเปนสําหรับพนักงานที่มีหนาที่ในระดับ จัดการ เพื่อใหบรรลุเปาหมายวางไว ซึ่งสมรรถนะดานการบริหาร ประกอบไปดวย

3.1 วิสัยทัศน (Visioning-VI)

Page 36: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

25

3.2 การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management-CM)3.3 การใหอํานาจผูอื่น (Empowerment-EM)3.4 การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management-PM)3.5 การพัฒนาศักยภาพคน (Caring & Developing Others-DEV)

4. ความรูตามสายงาน (Job Competency: JC) หมายถึง ความรูเฉพาะสายงานที่ จําเปนในการปฏิบัติหนาที่ ใหบรรลุเปาหมายวางไว ซึ่งความรูตามสายงาน ประกอบไปดวย

4.1 ความรูดานงานทรัพยากรบุคคล (Human Resources Knowledge)4.2 การบริหารดานงานสารสนเทศ (Information Technology Management)4.3 ความรูดานงานบัญชี (Accounting Knowledge)4.4 ความรูในดานงานคลังพัสดุและจัดซื้อ (Store and Purchasing Knowledge)

2.1.6 ความสําคัญของสมรรถนะฐิติพัฒน พิชญาธาดาพงษ (2549 : 31 -32) ไดกลาวถึงสมรรถนะวา สมรรถนะเปน

เครื่องมือชนิดหนึ่งที่กําลังไดรับความนิยมและทวีความสําคัญตอการบริหารทรัพยากรมากขึ้นเรื่อยๆ ในวงการบริหารทรัพยากรบุคคล องคการชั้นนําตางไดนําเอาระบบสมรรถนะมาเปนพื้นฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคลคลอยางเปนระบบ ตอเนื่อง สามารถใชทรัพยากรไดอยางถูกทิศทางและคุมคากับการลงทุน นอกจากนี้ยังเปนการสรางมูลคาเพิ่มใหแกบุคลากรในองคการอีกแนวทางหนึ่งอีกดวย ดังนั้น สมรรถนะจึงมีความสําคัญตอการบริหารทรัพยากรบุคคลขององคการดังนี้

1. เปนเครื่องมือชวยในการแปลงวิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค วัฒนธรรมองคการและยุทธศาสตรตางๆ ขององคการมาสูกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล

2. เปนเครื่องมือในการพัฒนาความสามารถของบุคลากรในองคการอยางมีระบบตอ เนื่องและสอดคลองกับวิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค วัฒนธรรมขององคการและยุทธศาสตรขององคการ

3. เปนพื้นฐานสําคัญของระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลในดานตางๆ ขององคการ เชน การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร การพัฒนาบุคลากร การประเมินผลการปฏิบัติงาน การพัฒนาความกาวหนาทางอาชีพ การวางแผนการสืบทอดตําแหนง การจายผลตอบแทน เปนตน

2.1.7 สมรรถนะตนแบบ (Competency Model) ของระบบราชการไทยสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน รวมกับบริษัทเฮยกรุป ไดจัดทํา

Competency Model ของระบบราชการไทยจากขอมูลหลายแหลงดวยกัน กลาวคือ1. ขอมูลจากแบบสรุปลักษณะงาน (Role Profile) เปนแบบสอบถามที่ใหผูตอบบรรยาย

ลักษณะงานแบบยอที่ระบุลักษณะงานโดยเนนการมุงผลสัมฤทธิ์ประจําตําแหนงซึ่งประกอบดวย

Page 37: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

26

หนาที่ความรับผิดชอบหลักคุณวุฒิที่จําเปนความรูทักษะประสบการณและสมรรถนะที่จําเปนของตําแหนงงาน

2. การจัดทํา Competency Expert Panel Workshops จํานวน 16 ครั้ง โดยผูเชี่ยวชาญในแตละกลุมงานไดมารวมประชุมและใหความเห็นเกี่ยวกับ Competency ที่จําเปนในแตละกลุมงานนอกจากนี้ ยังมีการเก็บขอมูลจากประสบการณจริงในการทํางานจริงของขาราชการแตละทานที่เขารวมประชุมในครั้งนั้นดวยการใชเทคนิคการวิเคราะหงานที่เรียกวา Critical Incident

3. ขอมูลจาก Hay’s Worldwide Competency Database ของบริษัทเฮยกรุปซึ่งเปนขอมูลCompetency Best Practice ขององคการภาครัฐในตางประเทศ

ขอมูลทั้งสามสวนนี้เปนที่มาของตนแบบสมรรถนะหรือ Competency Model สําหรับระบบราชการพลเรือนไทยประกอบไปดวยสมรรถนะ 2 สวน คือ 1)สมรรถนะหลักสําหรับขาราชการพลเรือนทุกคน 2)สมรรถนะประจํากลุมงานสําหรับแตละกลุมงานอธิบายไดดังนี้

1 สมรรถนะหลัก (Core Competency)สมรรถนะหลัก คือ คุณลักษณะรวมของขาราชการพลเรือนทุกตําแหนงทั้งระบบ

กําหนดขึ้นเพื่อหลอหลอมคานิยมและพฤติกรรมที่พึงประสงครวมกันประกอบดวยสมรรถนะ 5 สมรรถนะ คือ

1. การมุงผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation)2. การบริหารที่ดี (Service Mind)3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise)4. จริยธรรม (Integrity)5. ความรวมแรงรวมใจ (Teamwork)2. สมรรถนะประจํากลุมงาน (Functional Competency)สมรรถนะประจํากลุมงานคือ สมรรถนะที่กําหนดเฉพาะสําหรับแตละกลุมงานเพื่อ

สนับสนุนใหขาราชการแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมแกหนาที่และสงเสริมใหสามารถปฏิบัติภารกิจในหนาที่ไดดียิ่งขึ้นโดยโมเดลสมรรถนะกําหนดใหแตละกลุมงานมีสมรรถนะประจํากลุมงานละ 3 สมรรถนะ (ยกเวนกลุมงานนักบริหารระดับสูงมี 5 สมรรถนะ) มีคําใหมที่เกี่ยวของเพิ่มขึ้นมาอีกหนึ่งคําคือกลุมงาน (Job Family) ในระบบจําแนกตําแหนงและคาตอบแทนใหมที่มีการจัดตําแหนงงานทึกตําแหนงใหอยูในกลุมงานตางๆ มีทั้งหมด 18 กลุมงานการจัดกลุมงานเปน วิธีการจําแนกประเภทของงานโดยการจัดงานที่มีลักษณะคลายคลึงกันเขาไวในกลุมเดียวกันโดยพิจารณาจากเกณฑดังตอไปนี้คือ

Page 38: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

27

1. กลุมลูกคา/ผูมีสวนไดสวนเสียของตําแหนงนั้นเปนใครเปนกลุมลูกคาภายในหรือภายนอกภาคราชการ

2. ตําแหนงงานนั้นมุงผลลัพธ/ผลสัมฤทธิ์ตามภารกิจหลักของภาครัฐดานใดดังนั้นงานที่จัดอยูในกลุมงานเดียวกันจึงควรมีวัตถุประสงคของงานและผลสัมฤทธิ์ของ

งานที่คลายคลึงกันดวยเหตุนี้ผูดํารงตําแหนงในกลุมงานเดียวกันไมวาจะเปนตําแหนงใดก็ควรจะมีสมรรถนะ (คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมประจํางาน) เชนเดียวกันเพื่อใหไดผลการปฏิบัติงานที่ดีเลิศมุงไปในทิศทางเดียวกัน

กลุมงานในระบบราชการพลเรือนไทยมี 18 กลุมงาน คือ 1. กลุมงานสนับสนุนทั่วไป (General Support) 2. กลุมงานสนับสนุนงานหลักทางเทคนิคเฉพาะดาน (Technical Support) 3. กลุมงานใหคําปรึกษา (Advisory) 4. กลุมงานบริหาร (Executive) 5. กลุมงานนโยบายและการวางแผน (Policy and Planning) 6. กลุมงานศึกษาวิจัยและพัฒนา (Study and Research) 7. กลุมงานขาวกรองและสืบสวน (Intelligence and Investigation) 8. กลุมงานออกแบบเพื่อพัฒนา (Development Design) 9. กลุมงานความสัมพันธระหวางประเทศ (International Relations) 10. กลุมงานบังคับใชกฎหมาย (Law Enforcement) 11. กลุมงานเผยแพรประชาสัมพันธ (Public Communication and Promotion) 12. กลุมงานสงเสริมความรู (Public Education and Development) 13. กลุมงานบริการประชาชนดานสุขภาพและสวัสดิภาพ (Caring Services) 14. กลุมงานบริการประชาชนทางศิลปวัฒนธรรม (Cultural and Artistic Vocational

Skill Services) 15. กลุมงานบริการประชาชนทางเทคนิคเฉพาะดาน (Technical Services) 16. กลุมงานเอกสารราชการและทะเบียน (Registration and Record) 17. กลุมงานการปกครอง (Public Governance) 18. กลุมงานอนุรักษ (Conservation) แตละกลุมงานจะมีสมรรถนะประจํากลุมงานละ 3 ดาน เมื่อรวมกับสมรรถนะหลักแลว

ขาราชการแตละคนจะตองมุงพัฒนาสมรรถนะรวม 8 ดานดวยกันสําหรับสมรรถนะประจํากลุมงานมีทั้งหมด 20 ดานประกอบดวย

Page 39: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

28

1.การคิดวิเคราะห (Analytical Thinking)2. การมองภาพองครวม (Conceptual Thinking)3. การพัฒนาศักยภาพคน (Caring & Developing Others)4. การสั่งการตามอํานาจหนาที่ (Holding People Accountable)5. การสืบเสาะหาขอมูล (Information Seeking)6. ความเขาใจขอแตกตางทางวัฒนธรรม (Cultural Sensitivity)7. ความเขาใจผูอื่น (Interpersonal Understanding)8. ความเขาใจองคกรและระบบราชการ (Organizational Awareness)9. การดําเนินการเชิงรุก (Proactiveness)10. ความถูกตองของงาน ( Concern for Order)11. ความมั่นใจในตนเอง (Self Confidence)12. ความยืดหยุนผอนปรน (Flexibility)13. ศิลปะการสื่อสารจูงใจ (Communication & Influencing)14. สภาวะผูนํา (Leadership)15. สุนทรียภาพทางศิลปะ (Aesthetic Quality)16. วิสัยทัศน (Visioning)17. การวางกลยุทธภาครัฐ (Strategic Orientation)18. ศักยภาพเพื่อนําการปรับเปลี่ยน (Chang Leadership)19. การควบคุมตนเอง (Self Control)20. การใหอํานาจแกผูอื่น (Empowering Others)2.1.8 สมรรถนะหลักของขาราชการทหารสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร (Core Competency) คือ คุณลักษณะรวมที่กําลังพล

ทุกนายตองมี เพื่อหลอหลอมคานิยมและพฤติกรรมที่พึงประสงครวมกัน ใหสอดคลองกับความตองการขององคการ ซึ่งประกอบดวยสมรรถนะ 5 ดาน โดยสมรรถนะดังกลาว ถูกกําหนดโดยระดับชั้นยศ 5 ระดับ ประกอบดวย ระดับ 1 (เริ่มตน) ส.ต./จ.ต.-ส.อ./จ.อ. ระดับ 2 (เรียนรู) จ.ส.ต./พ.จ.ต./พ.ต.อ.-จ.ส.อ.(พ.)/พ.อ.อ.(พ.) ระดับ 3 (พัฒนา) ร.ต.-ร.อ. ระดับ 4 (กาวหนา) พ.ต./น.ต.-พ.อ./น.อ. และระดับ 5 (เชี่ยวชาญ) พ.อ.(พ.)/น.อ.(พ.) (อางอิงจากกองธุรการกําลังพลกอง 6 ศรภ.บก.ทท.) สําหรับการศึกษาในครั้งนี้ผูศึกษาไดศึกษาระดับ 3 (พัฒนา) ที่มีระดับชั้นยศ ร.ต.-ร.อ. โดยมีสมรรถนะหลัก 5 ดาน ดังตอไปนี้

1. สมรรถนะดานความเสียสละ (Sacrifice)

Page 40: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

29

หมายถึง ทุมเททํางานใหบรรลุผลสําเร็จอยางเต็มกําลังความสามารถ พรอมและเต็มใจที่จะเสียสละประโยชนสวนตนเพื่อประโยชนสวนใหญของสวนรวม โดยไมยอทอตอความยาก ลําบากไมวาภารกิจนั้น จะเปนสิ่งที่ยากเสี่ยงอันตราย หรือไมมีผลประโยชนตอบแทน รวมถึงการแสดงพฤติกรรมพรอมทํางานที่ไดรัยมอบหมายทุกกรณีอยางเต็มกําลังความสามารถ เพื่อใหงานบรรลุผลสําเร็จ ตามเปาหมายอยางดีที่สุด หากมีปญหาก็มักจะเปนคนแกไขปญหาเหลานั้นใหลุลวง ตลอดจนการไมแสดงพฤติกรรมปฏิเสธงานหรือหลีกเลี่ยงงานยากหรืองานที่เสี่ยงอันตรายหรืองานที่มอบหมายอื่นๆ

นอกจากนี้ อมรรัตน ทิพยเลิศ (2548) ยังกลาววา สมรรถนะหลัก จําเปนตองมีคุณสมบัติในเรื่องความเสียสละเปนประการแรก ปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดีแกผูใตบังคับบัญชา ซึ่งเปนลักษณะของผูนําอยางหน่ึงที่จะทําใหผูใตบังคับบัญชาเชื่อมั่นและปฏิบัติตามอยางเต็มใจ

2. สมรรถนะดานคุณธรรม (Moral)หมายถึง ปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตย ตรงไปตรงมา ซื่อตรงตอหนาที่มีสัจจะรักษา

คําพูด ไววางใจไดประพฤติปฏิบัติตนอยูในกรอบของ กฎ ระเบียบ แบบธรรมเนียม และจรรยาบรรณของการเปนทหารอาชีพ มุงมั่นรักษาผลประโยชนของราชการทหาร จงรักภักดี ตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย รวมทั้งกลายืนหยัดในสิ่งที่ถูกตอง มีจิตสํานึกและความภาคภูมิใจแหงอาชีพทหาร รวมถึง การแสดงพฤติกรรมเชื่อใจวางใจในทุกสถานการณ มีสัจจะรักษาคําพูดรวมทั้งกลายืนหยัดในสิ่งที่ถูกตอง โดยสามารถชี้แจงในสิ่งที่ถูกตองในงานตอผูบังคับบัญชาได และรักษาคํามั่นสัญญาที่ใหไวกับผูบังคับบัญชา และปกครองผูไดบังคับบัญชาบนพื้นฐานความถูกตองและเปนธรรม ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นอยางเปดเผย

ชุลีพร ใชปญญา (2550) ที่กลาววา สมรรถนะหลักดานคุณธรรมและจริยธรรม เปนสมรรถนะหลักที่มีการปฏิบัติมากกวาสมรรถนะหลักดานอ่ืนๆ ทั้งนี้ นาจะเปนผลสืบเนื่องมาจากทุกองคการตางพยายามสงเสริม สนับสนุนใหบุคลากรปฏิบัติงานตามมาตรฐานและกฎหมายทางวิชาชีพ เพื่อใหการปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพตอองคการตอตนเองและตอสังคม

3. สมรรถนะดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ (Accountability)หมายถึง มั่งมั่นรับผิดชอบตอการปฏิบัติหนาที่ราชการใหมีความถูกตองตามระเบียบ

แบบแผนและหลักการดวยความโปรงใส โดยคํานึงถึงประโยชนของทางราชการ และพรอมรับผิดชอบตอผลที่เกิดขึ้นจากการกระทํา และการตัดสินใจชองตนเองทั้งทางบวกและทางลบ พรอมและยินดีใหตรวจสอบการกระทําหรือผลงานของตนเอง รวมถึงการสงมอบงาน ที่มีความถูกตองแมนยํา สามารถชี้แจงเหตุแหงความผิดพลาดตอบังคับบัญชาได ภายใตการมีขอมูลที่ถูกตอง

Page 41: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

30

สนับสนุนอยางชัดเจนเพียงพอ ซึ่งอางอิงและเชื่อถือได ตลอดจนการกลาแสดงความคิดเห็นที่แตกตางจากผูบังคับบัญชาโดยสามารถอางอิงขอมูลที่เชื่อถือถูกตองตามระเบียบหรือหลักการ

4. สมรรถนะดานการมุงในผลสัมฤทธิ์ (Resulf oriedted)หมายถึง เขาใจถึงเปาหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน พรอมมุงมั่นปฏิบัติราชการใหเกิดผล

สําเร็จอยางดีที่สุด โดยพยายามพัฒนาตนเองใหมีความรู ความสามารถเพื่อสรางสรรค พัฒนากระบวนการทํางานใหเกิดผลงาน บรรลุผลสําเร็จยิ่งกวาเปาหมายหรือมาตรฐานที่กําหนด รวมถึงอธิบายถึงเปาหมาย ผลสัมฤทธิ์ของหนวยงานไดอยางถูกตอง รวมถึงสามารถเชื่อมโยงเปาหมายผลสัมฤทธิ์ของงานของตนเองกับหนวยงานแตละระดับได และสามารถกําหนดหรือพัฒนาแนวทางการทํางานเพื่อสนับสนุนการบรรลุเปาหมาย ผลสัมฤทธิ์ของหนวยงาน ตลอดจนการปฏิบัติงานมีการปรับปรุงและพัฒนาใหดีขึ้นกวาเดิม

5. สมรรถนะดานการรวมคิดทํางานเปนทีม (Teamwork)หมายถึง ความสามารถในการทํางานรวมกับผูอื่น โดยปฏิบัติตนไดสอดคลองตาม

บทบาทหนาที่ของการเปนสมาชิกที่ดีของทีม ยอมรับฟงความคิดเห็นหรือคําวิจารณและวิธีการทํางานที่หลากหลาย สามารถประสานการทํางานในระหวางสมาชิกในทีมไดเปนอยางดีพรอมมีสวนรวมในทีมอยางเต็มความสามารถ เพื่อใหผลงานของทีมบรรลุเปาหมายไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึงการแสดงพฤติกรรมในการประสานความรวมมือระหวางสมาชิกของทีม ยอมรับวิธีการทํางานที่แตกตางหลากหลายเพื่อมุงสูเปาหมายของทีม พรอมนําเสนอแนวทางหรือการมีสวนรวมในการตัดสินใจ ตามบทบาทหนาที่อยางเหมาะสมกับประสบการณ เพื่อใหทีมสามารถกําหนดแนวทางในการบรรลุเปาหมาย การแสดงบทบาทของผูนําและผูตามที่ดี การรูจักใหกําลังใจ ใหเกียรติ ยกยอง ชมเชยผูอื่น ตลอดจนการไมเกิดขอขัดแยงจนทําใหงานของทีมไมบรรลุเปาหมายที่กําหนด เนื่องจากไมรับฟงความคิดเห็นของสมาชิกในทีม

บุษยมาศ แสงเงิน (2559) ไดใหความหมายของสมรรถนะดานการทํางานเปนทีมหมายถึง ความตั้งใจอยางแทจริง (Genuine Intention) ที่จะรวมมือทํางานกับผูอื่น เปนสวนหนึ่งของทีมและทํางานรวมกัน

ดังนั้น การทํางานเปนทีมจึงหมายถึง ความตั้งใจที่จะทํางานรวมกับผูอื่น เปนสวนหนึ่งของทีม หนวยงานหรือสวนราชการ โดยผูปฏิบัติมีฐานะเปนสมาชิก ไมจําเปนตองมีฐานะหัวหนาทีม รวมทั้งความสามารถในการสรางและรักษาสัมพันธภาพกับสมาชิกในทีม

คําวา “ทีม” อาจไมจําเปนตองเปนทีมที่ตั้งอยางเปนทางการ แตเปนบุคคลที่มีระดับตําแหนงแตกตางกันและมาจากสวนงานตาง ๆ ที่มาทํางานรวมกันเพื่อแกไขปญหาหรือทํางานโครงการดวยกัน

Page 42: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

31

บทบาทของการทํางานเปนทีมไมจําเปนตองเปนหัวหนาทีมหรือผูที่มีอํานาจหนาที่อยางเปนทางการ แมแตคนที่มีอํานาจอยางเปนทางการแตรวมมือทํางาน หรือทําหนาที่เปนผูประสานทีม (Group Facilitator) ก็แสดงสมรรถนะการทํางานเปนทีม ผูบริหารที่เกง ๆ จะแสดงทั้งสมรรถนะการทํางานเปนทีมและสภาวะผูนํา

2.2 แนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน2.2.1 ความหมายของประสิทธิผลในการปฏิบัติงานประสิทธิผลในการปฏิบัติงานนั้น คือ ผลสําเร็จอันเปนผลเนื่องมาจากการปฏิบัติงาน

ตามโครงการ หรือแผนงานนั้นตามวัตถุประสงคขององคการที่ไดตั้งไว หรือไดคาดหวังไว โดยหากนํามาศึกษาแลวจะพบวาประสิทธิผลนั้น หมายถึง ผลสําเร็จที่เกิดขึ้นแลวตัวเราคิดหรือวางแผนที่จะประกอบกิจการใดแลวสามารถทํากิจการนั้นใหสําเร็จไดตามที่คิดหรือวางไว เรียกวา การทํางานนั้นมีประสิทธิภาพ แนวความคิดสมัยใหมในการจัดกิจการงานจะเริ่มตนที่การตั้งจุดสําเร็จของงาน นั่นคือ ในการวางแผนงานนั้น ณ จุดเริ่มตนของงานจะมีการตั้งเปาหมายหรือวัตถุประสงคกันวาผลสําเร็จที่เราตองการนั้นคืออะไร ประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง การที่ดําเนินโครงการหรืองานอยางหนึ่ง อยางใดแลวและปรากฏวาผลเกิดขึ้น (Outcomes) หรือผลผลิตที่เกิดขึ้น (Output) ณ ระดับหนึ่งระดับใดที่เปนเปาหมายหรือวัตถุประสงคที่กําหนดไวมีการใชทรัพยากร (Resources) หรือปจจัยนําเขา (Inputs) มากนอยเพียงใด ถาใชทรัพยากรหรือปจจัยนําเขามาดําเนินการในโครงการหรืองานใดนอยที่สุด และผลที่เกิดขึ้นสอดคลองกับวัตถุประสงคหรือเปาหมายที่กําหนดไว การดําเนินโครงการนั้นจะมีประสิทธิผลสูงชุด (ทั้งนี้โดยการเปรียบเทียบโครงการแตละโครงการที่สามารถดําเนินการแลวบรรลุวัตถุประสงคหรือเปาหมายที่กําหนดไดเหมือนกัน) ในทางตรงกันขามโครงการใดแมวาจะสามารถดําเนินการบรรลุวัตถุประสงค หรือเปาหมายที่กําหนดไวเหมือนกันก็ตามแตใชทรัพยากรหรือปจจัยนําเขามากกวาโครงการอื่นๆ โครงการนั้นก็จะไมใชโครงการที่มีประสิทธิผลสูงสุด (จินดาลักษณ วัฒนสินธุ, 2551) นอกจากนี้ยังมีนักวิชาการใหความหมายของประสิทธิผลไวหลายทาน เพื่อใหเกิดความเขาใจอยางถูกตองผูวิจัยขอนําเสนอตามลําดับ ดังน้ี

วิทยา ดานธํารงกูล ( 2546 : 27) ไดใหความหมายของประสิทธิผลในการปฏิบัติงานวา เปนความสามารถของบุคลากรในการเลือกเปาหมายที่ เหมาะสมและบรรลุเปาหมายนั้นๆ ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานจึงวัดกันที่วาบุคคลจะสามารถตอบสนอง ตามเปาหมายขององคการไดหรือไมและสามารถบรรลุในสิ่งที่พยายามจะทํามากนอยเพียงใด

Page 43: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

32

เฟดเลอร (1967: 11 อางถึงใน ชมพูนุช วรรณคนาพล, 2545: 32) กลาววา ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการปฏิบัติงานรวมกันเพื่อบรรลุเปาหมายของงานที่วางไว ซึ่งรวมถึงพฤติกรรมการวางตนในการปฏิบัติงานและบรรยากาศการปฏิบัติงานในกลุมนี้ที่เอื้อตอการบรรลุเปาหมาย

ดรัคเคอร (1964: 5 อางถึงใน มะลิวรรณ ตัณติสันติส, 2542: 26) ไดใหความหมายของประสิทธิผล วา เปนการทําสิ่งตางๆใหถูกตอง กลาวคือ ความสามารถในการเลือกวัตถุประสงคไดอยางเหมาะสม

ธงชัย สันติวงษ (2537: 22) กลาววา ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน เปนการทํางานที่ไดผลโดยสามารถบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคที่ตองการ การวัดผลที่ทําไดเทียบกับเปาหมาย หากสามารถทําไดตามเปาหมายที่ตั้งไวก็แสดงวาการทํางานมีประสิทธิผลสูง

สมพงษ เกษมสิน (2521: 31) กลาววา ประสิทธิผล หมายถึง การพิจารณาผลของการทํางานที่สําเร็จลุลวงดังวัตถุประสงคหรือที่คาดหวังไวเปนหลัก และความสําเร็จอยางมีประสิทธิผลนี้อาจเกิดจากการปฏิบัติงานที่ประหยัด หรือมีประสิทธิภาพก็ได เพราะประสิทธิภาพเปนเรื่องของการทํางานใหไดผลสูงสุด สวนประสิทธิผลเปนเรื่องของการนําเอาผลงานที่สําเร็จดังที่คาดหวังไวมาพิจารณา

สรุปไดวา ประสิทธิผล หมายถึงความสามารถของบุคคลหรือองคกรโดยการใชประโยชนจากทรัพยากรและหนทางที่มีใหองคกร ใหบรรลุเปาหมายและพัฒนาใหองคกรอยูรอดไดในสภาวะที่เกิดความวิกฤตที่มากระทบ ประสิทธิ์ผลจึงเปนเรื่องความสําเร็จของบุคลากรและองคการในการกระทําสิ่งตางๆตามที่ไดตั้งเปาหมายเอาไว

2.2.2 ความสําคัญของประสิทธิผลในการปฏิบัติงานบุญเลิศ ไพรินทร (2548: 446 – 460) การพัฒนาองคกรตองมุงเนนที่การสรางทีมงาน

และบุคลากรที่มีประสิทธิผล โดยเบลค เมาทัน เชปปารด โฮโรวิทย และแมกเกรเกอร ซึ่งผูที่มีความสําคัญในการพัฒนาองคกร ซึ่งมีแนวคิดที่สําคัญดังนี้

1. ความสําเร็จขององคกรประเภทตางๆทุกประเภทในโลกปจจุบันมีผลสืบเนื่องจากประสิทธิผลของทีมงานและบุคลากรขององคกรนั้น

2. วัฒนธรรมของทีมงานและบุคลากรมีอิทธิพลอยางสูงตอพฤติกรรมของปจเจกชน3. การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม กระบวนการ วิธีการทํางานของกลุมตลอดจน

ความสัมพันธภายในทีมงานและระหวางกลุมทีมงานจะเปนวิธีการเพิ่มประสิทธิผลขององคกรอยางถาวร

Page 44: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

33

ธงชัย สันติวงษ (2537) การบริหารองคกรจะประสบความสําเร็จหรือไมเพียงใด องคกรจะอยูรอดและมีความมั่นคงเพียงใดยอมขึ้นอยูกับประสิทธิผล ดังนั้นประสิทธิผลมีความสําคัญตอองคกรดังนี้

1. ชวยตรวจสอบวัตถุประสงคของการจัดตั้งองคกร ซึ่งการจัดตั้งองคกรยอมกําหนดวัตถุประสงค

และเปาหมายไวอยางชัดเจน2. การประเมินผลงานตามแผนงานที่กําหนด ซึ่งการดําเนินงานในแตละกิจกรรมยอม

จะตองมีการวางแผน กําหนดหนาที่และความรับผิดชอบ การจัดสรรทรัพยากร การใชอํานาจหนาที่ในการบริหารการปฏิบัติงาน ทั้งนี้เพื่อใหเกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพที่ตามมา

3. ประเมินผลสําเร็จโดยเทียบกับวัตถุประสงค โดยการเปรียบเทียบผลการดําเนินงานที่ไดกับวัตถุประสงคที่คาดหวังไว หากบรรลุผลตามวัตถุประสงคและความคาดหวังขององคกรแสดงวาองคกรมีประสิทธิผล ซึ่งประสิทธิผลสามารถแบงออกเปน 2 ระดับ ดังนี้

1) ประสิทธิผลระดับบุคคล คือลักษณะของบุคคลที่มีความสามารถปฏิบัติงานหรือกิจกรรมใดๆแลวประสบผลสําเร็จ ซึ่งทําใหเกิดผล ครบถวนตามวัตถุประสงค ผลที่เกิดขึ้นมีลักษณะคุณภาพ เชนความถูกตอง ความมีคุณคาเหมาะสมกับงาน ตรงกับความคาดหวังและความตองการของหมูคณะ สังคมและผูที่จะนําผลที่ไดรับไปปฏิบัติอยางมีประสิทธิผล

2) ประสิทธิผลขององคกร คือการเนนไปที่ผลรวมขององคกร ซึ่งกิ๊บสันและคณะ อธิบายถึงเกณฑของความมีประสิทธิผลโดยมีตัวบงชี้ 5 ตัว คือ การผลิต ประสิทธิผล ความพึงพอใจ การปรับเปลี่ยนและการพัฒนา

สรุปไดวา กลุมหรือทีมงานเปนองคประกอบยอยขององคกร หากองคประกอบยอยขององคกรมีประสิทธิผล ยอมทําใหภาพรวมขององคกรมีความสําเร็จตามวัตถุประสงคอยางสูงสุด อาจกลาวไดวาการพัฒนาองคกรจึงควรมุงเนนหาเทคนิคและวิธีการเขามาสอดแทรกในการพัฒนาบุคคลหรือทีมงาน

2.2.3 องคประกอบของประสิทธิผลในการปฏิบัติงานประภาวดี ประจักษศุภนิติ (2530: 72) กลาววา ตัวบุคลากรในหนวยงานนั้นๆ มีสวน

สัมพันธกับความสําเร็จและความมีประสิทธิภาพของหนวยงานหรือองคกรเปนอยางมาก โดยเฉพาะในสวนของความรูความสามารถ และทักษะในการปฏิบัติงาน และในสวนที่เกี่ยวกับปริมาณของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน กรณีนี้หากพิจารณาในเชิงเศรษฐศาสตรกําลังคน จะพบวา ความตองการกําลังคนที่มีความรูความสามารถตรงกับความประสงคของหนวยงานมีจํานวนไมไดสัดสวนกัน

Page 45: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

34

ดังนั้น ถาองคกรมีคนไมตรงตามจํานวนที่ตองการ ไมสามารถใชงานไดหรือใชประโยชนอยางเต็มที่และสูงสุดแลว หนวยงานนั้นยอมประสบปญหาในการปฏิบัติงาน

Miltion (อางถึงใน นงลักษณ เรือนทอง, 2550)ไดเสนอองคประกอบการบริหารองคกรที่มีประสิทธิภาพไว 3 ประเภทใหญๆ คือ

1. ลักษณะเฉพาะบุคลากร (Individual Characteristics) ซึ่งประกอบดวย ความสนใจเจตคติ ความสามารถในการปฏิบัติงาน ความตองการ ทักษะความชํานาญ

2. ลักษณะของงาน (Characteristics of the job) ประกอบดวย ความหลากหลายของงานขอมูลยอนกลับรางวัลความชัดเจนของบทบาท

3. ลักษณะสิ่งแวดลอมของงาน (Characteristics of work environment) ประกอบดวยสิ่งแวดลอมปจจุบันและบรรยากาศองคกร

Gibson (2000: 55) ไดใหความหมายของคําวาประสิทธิผล (Effectiveness) วามาจากคําวา Effect ที่ใชในบริบทของความสัมพันธระหวางเหตุและผล (Cause and Effect) โดยอธิบายถึงประสิทธิผลวามี 3 ระดับ ไดแก ระดับบุคคล ระดับกลุม และระดับองคกร ซึ่งในแตละระดับของประสิทธิผลจะมีปจจัยที่เปนเหตุผลแตกตางกันดังน้ี

1. ประสิทธิผลระดับบุคคล (Individual Effectiveness) เปนการเนนผลการปฏิบัติงานเฉพาะบุคคลหรือสมาชิกในองคกรที่ทํางานตามหนาที่และตําแหนงในองคกร ซึ่งโดยทั่วไปผูบังคับบัญชาประเมินประสิทธิผลระดับบุคคล โดยใชกระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อพิจารณาการขึ้นคาตอบแทนหรือการใหรางวัลตอบแทนเปนปจจัยที่เปนเหตุใหเกิดประสิทธิผลระดับบุคคลอันไดแก ความสามารถ (Ability) ทักษะ (Skills) ความรู (Knowledge) เจตคติ (Attitude) แรงจูงใจ (Motivation) และความเครียด (Stress)

2. ประสิทธิผลระดับกลุม (Group Effectiveness) เปนภาพรวมของกลุมบุคคลที่เปนสมาชิกในองคกรที่ทํางานตามหนาที่และตําแหนงในองคกรเปนปจจัยที่เปนเหตุใหเกิดประสิทธิผลระดับกลุมอันไดแกความสามัคคี (Cohesiveness) ภาวะผูนํา (Leadership)โครงสราง (Structure) สถานภาพ (Status) บทบาท (Roles) และบรรทัดฐาน (Norms)

3. ประสิทธิผลระดับองคกร (Organizational Effectiveness) คือภาพรวมของประสิทธิผลระดับบุคคลและระดับกลุม เปนปจจัยที่ เปนเหตุใหเกิดประสิทธิผลระดับองคกรอันไดแก สภาพแวดลอม (Environment) เทคโนโลยี (Technology) กลยุทธ (Strategy Choices) โครงสราง (Structure) กระบวนการตางๆ (Process) และวัฒนธรรม (Culture) โดยที่ประสิทธิผลองคกรทั้ง 3 ระดับมีความสัมพันธกันซึ่งประสิทธิผลองคกรขึ้นอยูกับประสิทธิผลของบุคคลและกลุมนั้นเอง

Page 46: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

35

นอกจากนี้ยังขึ้นอยูกับปจจัยอื่นอีกหลายประการ เชน ชนิดขององคกรงานที่องคกรทําและเทคโนโลยีที่ใชในการทํางานขององคกร

สรุปไดวา การประเมินประสิทธิผลภายในองคกรจะตองประเมินจากประสิทธิผลระดับบุคคลซึ่งจะเนนผลการปฏิบัติงานเฉพาะบุคคลหรือสมาชิกที่ทํางานตามหนาที่และตําแหนงในองคกรแก ความสามารถ ทักษะ ความรู เจตคติ แรงจูงใจ และความเครียด ประสิทธิผลระดับกลุมเปนภาพรวมของกลุมบุคคลที่ เปนสมาชิกในองคกรที่ทํางานตามหนาที่และตําแหนงในองคกรไดแก ความสามัคคี ภาวะผูนํา โครงสราง สถานภาพ บทบาท และบรรทัดฐาน และประสิทธิผลระดับองคกรไดแก ภาวะผูนํา สภาพแวดลอมเทคโนโลยี กลยุทธ โครงสรางวัฒนธรรม กระบวน การบริหารซึ่งประสิทธิผลองคกรทั้ง 3 ระดับมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน

2.2.4 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานSteers (1977: 40) ไดเสนอปจจัยการบริหารซึ่งเปนตัวกําหนดประสิทธิผลขององคกร

และประสิทธิผลในการปฏิบัติงานไว 4 ประการ คือ1. โครงสรางขององคกร พิจารณาไดจากการกระจายอํานาจ การแบงงานตามความ

ชํานาญพิเศษ ความเปนทางการ ชวงการบังคับบัญชา ขนาดขององคกร ขนาดของหนวยงาน และเทคโนโลยีขององคกร ซึ่งพิจารณาไดจากการปฏิบัติงาน วัสดุอุปกรณ และความรู

2. ลักษณะของสภาพแวดลอม ซึ่งพิจารณาไดจากสิ่งแวดลอภายนอก ซึ่งตัวบงชี้คือ ความสลับซับซอน ความมั่นคง ความไมแนนอน และสิ่งแวดลอมภายในหรือบรรยากาศขององคกร ตัวบงชี้คือ แนวโนมของความสําเร็จ ความเอาใจใสตอพนักงาน แนวทางการใหรางวัลและการลงโทษ ความมั่นคง ความเสี่ยง การเปดเผย การปกปด

3. ลักษณะของบุคลากร พิจารณาจากความผูกพันตอองคกรและการปฏิบัติงาน โดยตัวบงชี้ถึงความผูกพันตอองคกรพิจารณาจากการดํารงรักษาไว การผูกมัดใจ ตัวบงชี้ของการปฏิบัติ งาน คือ การจูงใจ เปาหมาย ความตองการ ความสามารถในการทํางาน ความชัดเจนของบทบาทพนักงาน

4. นโยบายการบริหารและการปฏิบัติ ซึ่งพิจารณาจากการวางเปาหมายที่แนนอน การจัดหาและการใชทรัพยากร การสรางสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงาน กระบวนการติดตอสื่อสารภาวะผูนําและการตัดสินใจ การปรับตัวขององคกร

สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (2552: 2) ไดสรุปปจจัยที่เปนตัวกําหนดประสิทธิผลในการปฏิบัติงานมีดังนี้

1. ความถูกตองในการทํางาน

Page 47: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

36

ความถูกตองในการทํางาน หมายถึง ความพยายามที่จะปฏิบัติงานใหถูกตองครบถวนตลอดจนลดขอบกพรองที่อาจจะเกิดขึ้น รวมทั้งพยายามใหเกิดความชัดเจนขึ้นในบทบาทหนาที่ กฎหมาย ระเบียบการขอบังคับขั้นตอนปฏิบัติตางๆ ซึ่งมีหลักและวิธีปฏิบัติเพื่อเกิดความถูกตองในการทํางาน ดังนี้

1.1 ทํางานใหถูกตองและชัดเจน รักษาระเบียบ1) ตั้งใจทํางานใหถูกตอง สะอาดเรียบรอย

2) ดูแลใหเกิดความเปนระเบียบเรียบรอยในสภาพแวดลอมตามหลัก 5ส. 3) ปฏิบัติตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน กฎ ระเบียบที่วางไว

1.2 ตรวจทานความถูกตองของงานที่ตนรับผิดชอบ 1) ตรวจทานความถูกตองของงานอยางละเอียดรอบคอบเพื่อใหงานมีคุณภาพดี

2) ตองการทราบมาตรฐานของผลงานในรายละเอียดเพื่อจะไดปฏิบัติไดถูกตอง3) ตระหนักถึงผลเสียที่อาจจะเกิดขึ้นกับตนเองหรือหนวยงาน จากความ

ผิดพลาดในการปฏิบัติงานของตน1.3 ดูแลความถูกตองของงานทั้งของตนและของผูอื่น

1) ตรวจสอบความถูกตองโดยรวมของงานของตนเอง2) ตรวจสอบความถูกตองโดยรวมของงานผูอื่น โดยอิงมาตรฐานการปฏิบัติ

งานหรือกฎหมาย ขอบังคับ กฎระเบียบที่เกี่ยวของกัน1.4 ตรวจสอบขั้นตอนการปฏิบัติงาน

1) ตรวจสอบวาผูอื่นปฏิบัติตามขั้นตอนการทํางานที่วางไวหรือไม2) ใหความเห็นและชี้แนะใหผูอื่นปฏิบัติตามขั้นตอนการทํางานที่วางไวเพื่อ

ความถูกตองของงาน 1.5 กํากับตรวจสอบความถูกตองและคุณภาพของขอมูลหรือโครงการ และการ

ปฏิบัติงานโดยละเอียด1) ตรวจสอบความกาวหนาของโครงการตามกําหนดเวลาที่วางไว2) ตรวจสอบความถูกตองและคุณภาพของขอมูล หรือการปฏิบัติงานโดย

ละเอียด3) ระบุขอบกพรองหรือขอมูลที่หายไป และกํากับดูแลใหหาขอมูลเพิ่มเติมให

ไดผลลัพธหรือผลงานที่มีคุณภาพตามหลักเกณฑที่กําหนดดังนั้นหากพนักงานในองคกรสามารถทํางานที่ไดรับมอบหมายไดอยางถูกตองตาม

หลักเกณฑระเบียบ ขอบังคับขององคกร จะทําใหเกิดประสิทธิผลในการทํางาน ซึ่งถาพนักงาน

Page 48: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

37

ทํางานอยางมีความถูกตองในการทํางาน จะสามารถทํางานใหเปนไปตามเปาหมายที่กําหนดไว และทําใหองคกรประสบความสําเร็จตามแผนที่กําหนด

2. การบรรลุวัตถุประสงคในการทํางาน การกําหนดวัตถุประสงคในการทํางาน ถือเปนหัวใจสําคัญของการบริหารงาน เพราะ

การบริหารงานใดๆ ก็ตาม จะเนนที่ความสําเร็จตามที่กําหนดไว การที่จะทําใหสามารถบริหารงานจนบรรลุวัตถุประสงคไดนั้น จําเปนตองมีการกําหนดทิศทางในการทํางานของผูเกี่ยวของใหสอดรับหรือสนับสนุนวัตถุประสงค ดังนั้นการกําหนดวัตถุประสงคในการทํางานของบุคลากรทุกคน ทุกสวนงานจึงเปนสิ่งสําคัญ เพราะจะมุงวัตถุประสงคหลักในการบริหารขององคกรในภาพรวมในทางตรงขามถาเปาหมายของบุคคลากรแตละคนไมมุงไปสูวัตถุประสงคหลักการบริหารงานขององคกรจะไมประสบความสําเร็จ นอกจากนั้นวัตถุประสงคที่กําหนดสามารถนํามาใชเปนเครื่องมือในการควบคุมการปฏิบัติงานของผูบังคับบัญชา รวมทั้งใชเปนเครื่องนําทางในการปฏิบัติงาน การกําหนดวัตถุประสงคอยางถูกตองกอใหเกิดประสิทธิผลนั้น จําเปนจะตองทําความเขาใจในหลักการตางๆ ในการกําหนดตัวชี้วัดและวัตถุประสงคเสียกอน จึงจะสามารถกําหนดวัตถุประสงคไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

นอกจากนี้การบริหารงานเพื่อทําใหเกิดการบรรลุวัตถุประสงคในการทํางานตามกําหนดไวมีขอดีคือ ชวยใหการบริหารงานดีขึ้นทําใหเกิดความชัดเจน เกิดความผูกพันขึ้นในการปฏิบัติงานระหวางสมาชิกภายในหนวยงาน นอกจากนี้ยังในการควบคุมการดําเนินงานขององคกรอยางมีประสิทธิผล ในขณะเดียวกันยอมกอใหเกิดผลเสียไดหากขาดการชี้แนะใหเขาใจถึงปรัชญาการทํางานของการบริหารงานโดยวัตถุประสงคอยางชัดเจน สืบเนื่องจากฝายบริหารจะเขาใจอยูฝายเดียว ในขณะที่ผูปฎิบัติขาดความเขาใจในระบบทั้งหมด ขาดแนวทางที่จะใหผูกําหนดเปาหมายเพราะปราศจากความรูและขอมูลที่แทจริง เปาหมายยากแกการกําหนดเนื่องจากเปาหมายลักษณะเปนเปาหมายระยะ และระยะเวลาในการดําเนินงานไมเกิน 1 ป ขาดความยืดหยุน ซึ่งอาจทําใหผูบริหารไมกลาที่จะเปลี่ยนแปลงเปาหมายหรือวัตถุประสงคในขณะดําเนินงาน

สรุปไดวาการบริหารตามวัตถุประสงคเปนระบบบริหารงานโดยผูบริหารกับผูรวมงานกําหนดวัตถุประสงค เพื่อใหดําเนินงานไปสูเปาหมายที่วางไวรวมกัน มีทิศทางการทํางานที่แนนอนทําใหบุคคลในองคกรทํางานรวมกันไดอยางมีประสิทธิผล

3. ความสําเร็จตรงเวลาในการทํางาน ความสามารถในการบริหารเวลาของแตละบุคคลจะสามารถบริหารเวลาไดดีจะตองมี

ความรู ความเขาใจและความสามารถในการจัดลําดับความสําคัญเกี่ยวกับภารกิจที่ตองปฏิบัติไดอยางเหมาะสมเม่ือพิจารณาถึงภารกิจที่เรงดวนสามารถแบงออก 4 ประเภท ดังนี้

Page 49: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

38

3.1 ภารกิจที่มีความเรงดวนและมีความสําคัญคือ ภารกิจที่ตองตัดสินใจและถูกจํากัดดวยระยะเวลาและมีความสําคัญ ไดแก ประชุมดวน ปญหาเรงดวน กําหนดการสงงานหรือโครงการ

3.2 ภารกิจที่มีความเรงดวนแตไมสําคัญ คือ ภารกิจที่ถูกจํากัดดวยระยะเวลา แตไมมีความสําคัญเปนงานเฉพาะหนา ที่ไมมีความสําคัญ ไดแก การรับโทรศัพท เปนตน

3.3 ภารกิจที่ไมมีความเรงดวนแตมีความสําคัญคือ ภารกิจที่ไมถูกจํากัดดวยระยะ เวลาแตเปนสิ่งสําคัญ เปนสิ่งที่ทําประจํา ไดแก งานตามบทบาทหนาที่ ที่ไมตองรับผิดชอบ ที่ทําเปนประจํา

3.4 ภารกิจที่ไมเรงดวนและไมสําคัญคือ ภารกิจที่ไมถูกจํากัดดวยเวลาและไมมีความสําคัญ ไมตองตัดสินใจเรงดวน เปนภารกิจที่สามารถรอได หรือเปนภารกิจที่ไมใชหนาที่ในความรับผิดชอบโดยตรง ไดแก การจัดการเกี่ยวกับเอกสาร

นอกจากนี้ประโยชนตอการทํางานหากจัดระบบบริหารเวลาใหเกิดสมดุล ทําใหเพิ่มเวลาวางและ ลดความเครียด การตัดสินใจดีขึ้น งานงายขึ้น ลดความเสี่ยง มีประสิทธิผลและผลผลิตที่ดีขึ้น มีความสุขกับการทํางาน เวลาเปนทรัพยากรที่มีคาสําหรับทุกคน มนุษยจึงมีขอจํากัดในเรื่องของเวลาดังนั้นบุคลทุกคนควรใชเวลาใหเกิดคุณคาตอชีวิตและสังคม การทํางานใหมีความสุขควรรูจักวิธีใชเวลา ใหเกิดคุณคาตอชีวิตและผลงาน ดวยวิธีดังนี้

1. การตรงตอเวลา เวลาเปนเครื่องมือวัดความสําเร็จหรือความลมเหลวของการมาทํางานตรงเวลา การทํางานเสร็จตามเวลาที่กําหนดเปนสิ่งที่ปรารถนาของทุกหนวยงาน ซึ่งบุคคลที่ประสบความสําเร็จจะตองเปนบุคคลที่ตรงตอเวลา การฝกฝนตนเองใหเปนคนตรงตอเวลา จึงเปนสิ่งจําเปน และมีคาตอชีวิตจึงควรสํารวจตนเองอยูเสมอ จัดตารางการทํางาน บันทึกการนัดหมายงาน สรางสัญญาณและสิ่งเตือนใจและมอบใหคนอื่นจัดการสําหรับบุคคลที่มีงานมากตองใหผูอื่นชวยเหลือดังนั้นการใชเวลาใหเกิดประโยชนโดยเฉพาะเมื่อมีเวลาคอนขางนอยในการปฏิบัติงาน ซึ่งการใชเวลาใหเกิดประโยชนตอชีวิตและผลงานจึงถือเปนความสําเร็จที่สําคัญในการทํางาน ควรใชเวลาใหเกิดประโยชนดังนี้ใชเวลาใหเกิดประโยชนตองานและอาชีพของตนเองถือเปนสิ่งที่สําคัญที่สุด เพราะเกี่ยวพันกับการครองชีพในสังคม ดังนั้นบุคคลที่ประสบความสําเร็จในชีวิตและการงานจะเปนผูที่อุทิศเวลาใหกับงาน อาชีพของตนมากที่สุด

2. การประหยัดเวลาเปนการจัดการเกี่ยวกับเวลาโดยมิใหเวลาเสียไปโดยไรประโยชน เนื่องจากมีบุคคลหลายคนตองเสียเวลากับเรื่องที่ไรสาระ จึงควรใชวิธีการประหยัดเวลาโดยการลดขั้นตอนของการทํางานลง เลือกทําเฉพาะกิจกรรมที่เปนสาระสําคัญของงาน การกระจายงานหรือการแบงงานหรือมอบความรับผิดชอบใหผูอื่นซึ่งจะชวยประหยัดเวลาไดดี การควบคุมงานหรือการ

Page 50: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

39

กํากับดูแลและประสานงานใหการทํางานดําเนินไปตามระยะเวลาที่กําหนด รวมทั้งการใชเครื่องมือเทคโนโลยีสมัยใหมเพื่อทดแทนแทนแรงงานคนและสัตวก็จะชวยประหยัดเวลาไดมาก

สรุปไดวาการบริหารเวลาที่ดี นอกจากสามารถทํางานของตนเองใหสําเร็จลุลวงไปไดดวยดีแลว ยังสามารถทํางานเพื่อผูอื่นไดดวยและยังไดรับความสุขจากการมีเวลาวางของตนเอง ซึ่งเทคนิคบริหารเวลาใหมีประสิทธิผลและเคล็ดลับในการทํางานใหเสร็จทันเวลา ดังนี้

1. การเริ่มตนที่ดีความสําเร็จเกินกวาครึ่ง ถาการเริ่มตนของวันใหมมีความสดชื่น แจมใส จึงควรคนหาสิ่งที่ตนเองชื่นชอบสักอยาง

2. พิจารณาใหแนนอนวาอะไรสําคัญที่สุด เพื่อปองกันไมใหคนอื่นปลนเวลาหรือปลนสิ่งสําคัญๆในชีวิตไป และจงกลาที่จะตอบปฏิเสธเพียงกลาวคําวา “ไม” สั้นๆ งายๆ

3. ตั้งเปาหมาย การมีเปาหมายอาจมีไดหลายเปาหมาย ทั้งเรื่องสวนตัวและเรื่องงาน การเขียนเปาหมายเหลานั่นออกมาจะชวยใหจุดประสงคของมันชัดเจนขึ้น และชวยกําหนดทิศทาง การใชเวลาในแตละสัปดาห เดือน ป ทศวรรษ และชั่วชีวิตได

4. กําหนดเกณฑ ในการใชเวลาในการทํากิจกรรมแตละอยาง เชนการโทรศัพท การคุยกับลูกคา การรับประทานอาหาร ตลอดจนเรื่องใชจายตางๆ ควรกําหนดไวลวงหนาวาจะใชเวลาเทาไหร

5. การวางแผนประจําวัน ควรเขียนกิจกรรมตางๆ ออกมาอยางชัดเจน วางแผนการจัดทําเพื่อใหบรรลุผล โดยจัดลําดับความสําคัญ

6. ใชชีวิตอยางสมดุล ทั้งในการพักผอนนอนหลับใหเพียงพอ มีเวลาหยอนใจพอควรเวลาใหกับตนเองและการพัฒนาจิตวิญญาณตลอดจนเรื่องท่ีสนใจ

7. จัดลําดับความสําคัญของงานใหชัดเจน โดยพิจารณาวางานใดเรงดวนที่ตองดําเนิน การโดยดวน งานใดที่สามารถทําภายหลังได ไมตองใชสมองและไมตองเวลามากนัก ก็ทําภายหลังได

8. ลงมือทํางานที่ยากที่สุด เมื่อทํางานที่ยากสําเร็จแลว จะชวยใหเกิดความโลงใจและชวยใหเกิดความสําเร็จในการทํางาน

9. มอบหมายงาน โดยพิจารณาวาใครที่พอจะชวยไดเพื่อชวยใหมีเวลาเพิ่มข้ึน10. ทํางานใหสําเร็จเปนชิ้นเปนอัน อยาทํางานดวยความยืดยาด11. ออกกําลังกาย เพื่อใหรางกายกระฉับกระเฉง กระปรี้กระเปรา12. ตรวจสอบสิ่งที่ทํา วามีความสําคัญหรือจําเปนเพียงใดหรือเปนเพียงความเคยชิน

สํารวจดูวาถาตัดออกจะชวยใหมีเวลามากขึ้นหรือไม

Page 51: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

40

13. วางแผนฉลองความสําเร็จ เชน ถางานชิ้นนี้เสร็จแลวควรจะใหอะไรเปนรางวัลใหสําหรับตนเอง ซึ่งอาจจะเปนสิ่งเล็กๆ นอยๆ ก็ไดเพื่อใหเปนขวัญและกําลังใจตัวเอง

14. ใชความจําจะชวยประหยัดเวลาในการทํางานสูง จึงควรจดจําสิ่งตางๆจากสาระสําคัญของการใชเวลาใหเกิดคุณคาตอชีวิต ทุกคนควรมีการบริหารจัดการเวลา เพื่อใหเกิดความสําเร็จตรงเวลาในการทํางาน หากรูจักจัดการเวลาใหเกิดคุณคาตอชีวิตและสังคมใหมากที่สุด โดยการตรงตอเวลา การใชเวลาใหเกิดประโยชนและการรูจักจัดการเวลา จะทําใหทุกคนเกิดความสุขในการดําเนินชีวิตและการทํางาน

4. การใชทรัพยากรอยางคุมคาการจัดสรรทรัพยากร เปนการสรรหา หรือจัดแบงทรัพยากรใหหนวยงานตางๆ

เพื่อใหหนวยงานหรือบุคลากรไดใชทรัพยากรที่เหมาะสม เพื่อการดําเนินงานสูเปาหมายขององคกร การใชทรัพยากรที่ใหงานดานการบริการ แบงเปน ทรัพยากรบุคคล หรือทรัพยากรมนุษย ซึ่งเปนบุคคลที่ปฏิบัติงานในองคกรทุกคน และทรัพยากรดานเทคโนโลยี เครื่องจักร อุปกรณสํานักงานหรือสิ่งอํานวยความสะดวก หรือสิ่งที่สนับสนุนใหการทํางานเกิดประสิทธิผล การพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหเกิดประสิทธิผลเกิดจากการนําแนวคิด ปรัชญา และทฤษฎีตางๆ มาประกอบกันเพื่อใหเกิดหลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษยอยางมีประสิทธิผลขึ้น

นอกจากนี้ สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (2552) ยังไดกําหนดหลักเกณฑและวิธีการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของขาราชการพลเรือนในแตละสวนราชการ ซึ่งมีแนวทางการประเมินดังน้ี

1. พนักงานราชการทั่วไป แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานสําหรับพนักงานราชการในกลุมงานบริการ

กลุมงานเทคนิค กลุมงานบริหารทั่วไป กลุมงานวิชาชีพเฉพาะและกลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ มีดังนี้1.1 ผูประเมิน ไดแก ผูบังคับบัญชาชั้นตน ที่เปนผูมอบหมายงานและหรือผูกํากับดูแล

พนักงานราชการ โดยมีผูบังคับบัญชาเหนือขึ้นไปอีก 1 ระดับ หรือ 2 ระดับเปนผูกลั่นกรองผลการประเมินของผูบังคับบัญชาชั้นตน

1.2 คณะกรรมการกลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติงาน มีหนาที่ในการกลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติงานใหเกิดความเปนธรรมจากการใชดุลยพินิจของผูบังคับบัญชาประกอบดวย หัวหนาสวนราชการหรือผูที่ไดรับมอบหมายเปนประธาน หัวหนาหนวยงานที่มีพนักงานราชการปฏิบัติงานอยูหรือผูที่ไดรับมอบหมายเปนกรรมการ และผูปฏิบัติงานดานการเจาหนาที่เปนกรรมการและเลขานุการ

Page 52: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

41

1.3 ระยะเวลาการประเมิน ปละ 2 ครั้งตามปงบประมาณ ไดแก ครั้งที่ 1 (1 ตุลาคม ถึง 31 มีนาคม) และ ครั้งที่ 2 (1 เมษายน ถึง 30 กันยายน)

1.4 องคประกอบในการประเมิน ประกอบดวย ผลงาน และคุณลักษณะในการปฏิบัติงาน โดยพิจารณาใหสอดคลองกับหนาที่ความรับผิดชอบหรือผลผลิตที่กําหนดในสัญญาจาง

1.5 สัดสวนของผลงานและคุณลักษณะ มีสัดสวนของผลงานไมนอยกวารอยละ 702. พนักงานราชการพิเศษ

แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานสําหรับพนักงานราชการพิเศษ มีดังนี้1.1 ผูประเมิน ไดแก ผูรับผิดชอบงานหรือโครงการ และหัวหนาสวนราชการ1.2 องคประกอบในการประเมิน ประกอบดวย ผลการปฏิบัติงานตามเปาหมายและ

คุณลักษณะในการปฏิบัติงาน โดยไดกําหนดสัดสวนของผลงานไมนอยกวารอยละ 801.3 ระยะเวลาการประเมิน สวนราชการเปนผูกําหนดวาจะประเมินผลการปฏิบัติงาน

ของพนักงานราชการพิเศษอยางไร เชน ประเมินเปนระยะๆ เดือนละครั้งหรือสองเดือนครั้ง เปนตนศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ (2545: 22) กลาวถึง การจัดการวาเปนปจจัยกําหนด

ประสิทธิผลและประสิทธิภาพขององคกร ผูบริหารจึงมีความจําเปนอยางมากที่ตองเขาใจภาระหนาที่และความรับผิดชอบดานการบริหารจัดการทั้งตอตนเอง ตอกลุม ตอสังคม จุดมุงหมายของการจัดการ คือ การใชความพยายามทุกกรณีโดยการกําหนดงานและความสําคัญของอํานาจหนาที่การพิจารณาถึงสิ่งที่ตองการทําและผูที่จะทํารายงานมีตัวอยางในประวัติศาสตรของธุรกิจที่มีการจัดองคการที่ดีสามารถประสบความสําเร็จในการแขงขันและสามารถเอาชนะคูแขงขันได ธุรกิจที่มีการจัดองคการที่ดีสามารถจูงใจผูบริหารและพนักงานใหมองเห็นความสําคัญของความสําเร็จขององคกร

2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวของศศิธร จิมากรณ (2556) ไดทําการศึกษาเรื่อง “สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการ

ปฏิบัติงานของเลขานุการสํานักงานศาลยุติธรรม” ผลการศึกษาพบวา สมรรถนะหลักสามารถพยากรณประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของเลขานุการ ไดรอยละ 47.4 ซึ่งถือวามีอิทธิพลตอการพยากรณในระดับที่กําหนดไว โดยตัวแปรมีอํานาจในการพยากรณประสิทธิผลการปฏิบัติงานไดแก การมุงเนนผลสัมฤทธิ์ (Beta = .395) จิตสํานึกดานการใหบริการ (Beta = .318) การพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง (Beta = .303) ตามลําดับ โดย 3 ตัวแปร สามารถรวมกันพยากรณประสิทธิผลการปฏิบัติงานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีคาสัมประสิทธิ์ความถดถอยมาตรฐาน (Beta)

Page 53: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

42

เปนบวก แสดงใหเห็นวามีความสัมพันธกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานในทิศทางบวก คือ เมื่อตัวแปรพยากรณมีระดับเพิ่มขึ้น ตัวแปรตามก็จะมีระดับเพิ่มขึ้นตามไปดวย

วันเพ็ญ นิลนารถ (2553) ศึกษาเรื่อง สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะหลัก ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน และสหสัมพันธระหวางสมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน โดยแจกแบบสอบถามกับกลุมตัวอยาง จํานวนทั้งสิ้น 170 คน วิเคราะหขอมูลดวยสถิติคาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานสวนการทดสอบสมมติฐานใชการวิ เคราะหสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน ( Pearson’s Correlation Coefficient) ซึ่งผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิงมีอายุ 31 -40 ป ศึกษาระดับปริญญาตรี มีสถานภาพสมรส ปฏิบัติงานตําแหนงประเภททั่วไป และมีอายุราชการ 5 – 10 ป สําหรับผลการศึกษาประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน พบวา อยูในระดับปานกลาง ( = 2.67) ทั้งในมิติคุณลักษณะในการปฏิบัติงาน และมิติดานผลงานโดยมิติคุณลักษณะในการปฏิบัติงาน มีคาเฉลี่ยสูงกวามิติดานผลงาน ( = 2.83 และ 2.38) ตามลําดับ สวนสมรรถนะหลัก พบวา อยูในระดับมาก ( = 3.74) โดยมิติการมุงเนนผลสัมฤทธิ์ มีคาเฉลี่ยระดับมากที่สุด สวนมิติจิตสํานึกดานการให บริการ มิติคุณธรรมและจริยธรรม มิติการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง มิติการทํางานเปนทีม มิติความรูดานแรงงาน และมิติภาวะผูนํา มีคาเฉลี่ยระดับมาก ขณะที่มิติดานความรูเทคโนโลยีสารสนเทศ มีคาเฉลี่ระดับปานกลาง ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา สมรรถนะหลักและสมรรถนะรายมิติของขาราชการกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน มีสหสัมพันธเชิงบวกกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.01 การศึกษาครั้งนี้จึงเสนอวา กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานควรใหขาราชการทุกคนทราบและเขาใจถึงระดับสมรรถนะหลักของตนเอง เพื่อสรางความพรอมในการพัฒนาขีดความสามารถและศักยภาพของตนเอง ใหกาวไปสูการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามแนวทางการบริหารภาครัฐยุคใหมที่ทํางานโดยยึดผลลัพธ ความคุมคา ความรับผิดชอบ และตอบสนองตอความตองการของสังคมและประชาชนผูรับบริการ

ศุภมิตร พินิจการ (2552) ไดทําการศึกษาเรื่อง ความสัมพันธระหวางสมรรถนะหลักกับประสิทธิภาพการทํางานของนักบัญชีกรมสรรพสามิต พบวา 1. สมรรถนะหลักดานการมุงผลสัมฤทธิ์มีความสัมพันธและผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการทํางานโดยรวม ดานการบรรลุเปาหมายความสําเร็จ ดานการจัดหาและใชปจจัยทรัพยากร และดานความพอใจของทุกฝาย 2. สมรรถนะหลัก ดานการทํางานเปนทีม มีความสัมพันธและผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการทํางาน ดานความพอใจของทุกฝาย 3. สมรรถนะหลัก ดานบริการที่ดี มีความสัมพันธและ

Page 54: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

43

ผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการทํางาน ดานการบรรลุเปาหมายความสําเร็จและดานกระบวนการปฏิบัติงาน 4. สมรรถนะหลักดานความใฝรูอยางตอเนื่อง มีความสัมพันธและผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการทํางาน ดานการจัดหาและใชปจจัยทรัพยากร 5. สมรรถนะหลักดานจริยธรรม มีความสัมพันธและผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการทํางาน ดานการบรรลุเปาหมายความสําเร็จ ดานการจัดหาและใชปจจัยทรัพยากรและดานกระบวนการปฏิบัติงาน 6. สมรรถนะหลักดานความรู เกี่ยวกับวิชาชีพ มีความสัมพันธและผลกระทบในเชิงบวกกับประสิทธิภาพการทํางาน ดานกระบวนการปฏิบัติงานและดานความพอใจของทุกฝาย

ชอทิพย วรรณมาศ (2552) ศึกษาเรื่อง สมรรถนะหลักของขาราชการทหาร กรมยุทธบริการทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย ผลการศึกษาพบวา ระดับสมรรถนะหลักของขาราชการทหารโดยรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยเปนดานโดยเรียงลําดับจากมากไปหานอย ไดแก ความรวมมือรวมใจ และความมีวินัยและเสียสละ การสั่งสมความเชี่ยวชาญในอาชีพจริยธรรม และการมุงผลสัมฤทธิ์ ทั้งยังพบวาขาราชการสวยใหญมีการรับรูเกี่ยวกับการจัดการเชิงยุทธศาสตรในระดับสูง สวนบรรยากาศองคการ มีการรับรูในระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.81 และ 3.58 ตามลําดับ เมื่อทําการทดสอบสมมุติฐานปรากฏวา ลักษณะสวนบุคคลของขาราชการทหารที่ประกอบดวย กองที่สังกัด การไดรับการอบรม บรรยากาศองคการ และการจัดการเชิงยุทธศาสตรแตกตางกันมีสมรรถนะที่แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยตัวชี้วัดของการรับรูบรรยากาศองคการที่มี (F) สูงที่สุด ไดแก แรงจูงใจในการทํางาน การติดตอสื่อสารภายในองคการการคํานึงถึงผูปฏิบัติงาน การมีสวนรวมในการตัดสินใจ เทคนิคและวิทยาการที่ใชในหนวยงานและการใชอํานาจและอิทธิพลในหนวยงาน และดานการจัดการเชิงยุทธศาสตร ตัวชี้วัดทีมีคา (F) สูงที่สุด ไดแก การวางแผน การนําแผนไปปฏิบัติ และการติดตามและประเมินผล ขณะที่ขาราชการที่มีวุฒิการศึกษา อายุราชการ ความรูความเขาใจแตกตางกันมีสมรรถนะที่แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ .05

นันทา สืบวงษนาท (2552) ศึกษาเรื่อง สมรรถนะหลักของขาราชการสวนทะเบียนรถยนต สํานักงานมาตรฐานงานทะเบียนและ๓ษี กรมขนสงทางบก กรุงเทพฯ ผลการศึกษาพบวาความคิดของขาราชการตอปจจัยองคการ โดยรวม มีระดับความคิดเห็นปานกลาง เมื่อพิจารณา เปนรายดาน พบวา ขาราชการมีความคิดเห็นตอ ลักษณะงานมากที่สุด รองลงมาคือ นโยบายและการบริหารงานสภาพแวดลอมการทํางาน และความสัมพันธระหวาง บุคคล ตามลําดับ สวนการปฏิบัติงานตามสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร ปรากฏวา ขาราชการทหารมีสมรรถนะหลักในดานจริยธรรมมากที่สุด รองลงมาคือ ความรวมมือรวมใจ การบริการที่ดี การมุงในผลสัมฤทธิ์ และการสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ สวนการทดสอบสมมติฐานพบวา ระยะเวลา ตําแหนง และ

Page 55: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

44

ลักษณะงานทีความสัมพันธ กับสมรรถนะหลักในการทํางาน ขณะที่สถานภาพ ระดับการศึกษา นโยบายและการบริหารงาน ความสัมพันธระหวางบุคคล และสภาพแวดลอมการทํางาน ไมมีความสัมพันธกับสมรรถนะหลักในการทํางาน ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05

เสาวลักษณ มธุรพร (2551) ศึกษาเรื่อง ปจจัยที่สงผลกระทบตอสมรรถนะในการปฏิบัติงานของกลุมงานเลขานุการและเจาหนาที่ธุรการของ บริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) เพื่อเปรียบเทียบความแตกตางระหวางปจจัยดานบุคคลและปจจัยดานองคการกับสมรรถนะในการปฏิบัติงานของกลุมเลขานุการและเจาหนาที่ธุรการ บริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) โดยใชแบบสํารวจความคิดเห็นเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลจากแระชากรจํานวน 118 คน สถิติที่ใชไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สวนการทดสอบสมมติฐานสถิติ One-Way Anova (F-test) และ สถิติ t-test ซึ่งพบวา สมรรถนะในการปฏิบัติงานของกลุมเลขานุการและเจาหนาที่ธุรการ มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.09 เมื่อทําการทดสอบสมมติฐานปรากฏวา ปจจัยดานบุคคลไดแก อายุ ลักษณะหนวยงาน และปจจัยดานองคการ ไดแก การไดรับการยอมรับนับถือ ความสัมพันธระหวางบุคคล เทคนิคการบังคับบัญชาที่แตกตางสงผลใหสมรรถนะในการปฏิบัติงานแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ขณะที่ปจจัยดานบุคคลอื่นๆ ไดแก สาขาการศึกษา อายุการทํางาน รายได คางาน/ระดับงาน และลักษณะการจางงานที่แตกตางกัน มีผลใหสมรรถนะในการปฏิบัติงานแตกตางกัน อยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การศึกษาครั้งนี้จึงเสนอแนะวา บริษัทควรวางแผนพัฒนาเจาหนาที่อยางจริงจังและตอเนื่อง รวมถึงใหความสําคัญกับปจจัยดานองคการเพิ่มขึ้น ทั้งควรกําหนดแนวทางหรือเกณฑในการพิจารณาคัดเลือกเจาหนาที่ตําแหนงงานดังกลาว โดยใหความสําคัญกับสมรรถนะมากขึ้นเพื่อใหบุคลากรที่มีความสามารถตรงกับตําแหนงมากที่สุด และหากเปนไปไดควรพิจารณารับบุคลที่จบการศึกษาในสาขาวิชาดานเลขานุการโดยตรง เพื่อไมตองสูญเสียทรัพยากรในการฝกอบรมเพิ่มเติม รวมถึงการพิจารณาทบทวนปจจัยดานบุคคลบางประการ เชน รายได ระดับงาน ลักษณะการจางงาน เพื่อสรางแรงจูงใจใหเจาหนาที่ดังกลาวพัฒนาทักษะแบะสมรรถนะการปฏิบัติงานของตนเองใหสูงขึ้นตอไป

พิสมัย พวงคํา (2551) ศึกษาเรื่อง สมรรถนะของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ พบวาสมรรถนะหลักของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยขอนแกนมี 11 ดาน โดยเรียงลําดับความคิดเห็นที่สอดคลองกับของกลุมผูเชี่ยวชาญจากมากไปหานอย 1) ดานการทํางานใหบรรลุผลสัมฤทธิ์ 2) ดานมุงเนนผลการใหบริการ 3) ดานคุณธรรมและจริยธรรม 4) ดานการทํางานเปนทีม 5) ดานทักษะการใชความคิด 6) ดานการใชทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศ 7)

Page 56: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

45

ดานภาวะผูนํา 8) ดานความสามารถวิชาการ 9) ดานทักษะการสื่อสาร 10) ดานความสามารถการแกปญหา และ 11) ดานการบริหารทรัพยากรอยางคุมคา

อนันต ประสงคใจ (2551) การศึกษาสมรรถนะของตํารวจชุมชนสัมพันธกับประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ศึกษากรณีกองบัญชาการตํารวจนครบาล ผลการศึกษา พบวา สมรรถนะของตํารวจชุมชนสัมพันธอยูในระดับมาก โดยสมรรถนะการมีอุดมการณและความประพฤติ การมีมนุษยสัมพันธ การมีภาวะผูนํา การมีไหวพริบปฏิภาณ การมีความรูความสามารถเหมาะสมอยูในระดับมาก และมีความสามารถพิเศษอยูในระดับปานกลาง สําหรับประสิทธิผลการปฏิบัติงานสวนใหญอยูในระดับมากเพื่อทดสอบสมมติฐานปรากฏวา สมรรถนะรวมมีความสัมพันธกับประสิทธิผล อยางมีความสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แตเมื่อทดสอบสมมติฐานในแตละดาน พบวา การมีอุดมการณและความประพฤติ การมีมนุษยสัมพันธ การมีภาวะผูนํา และการมีไหวพริบปฏิภาณ ไมมีความสัมพันธกับประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ซึ่งไมเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว ขณะที่สมรรถนะดานความรูความสามารถ และความสามารถพิเศษมีความสัมพันธกับประสิทธิผลการปฏิบัติงาน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ตามลําดับเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว การศึกษาครั้งนี้เสนอแนะวา เพื่อเปนการพัฒนาใหตํารวจชุมชนสัมพันธปฏิบัติตามสมรรถนะมากขึ้น ควรจัดการฝกอบรมทบทวนงานชุมชนสัมพันธใหกับตํารวจชุมชนสัมพันธ ขณะเดียวกันตองใหความสําคัญกับสมรรถนะดวยการศึกษาหาความรู เพิ่มเติม มีการพัฒนาทักษะดานตางๆ ที่เกี่ยวของกับงานของตํารวจชุมชนสัมพันธ รวมถึงการพัฒนารางกายและจิตใจ ใหมีความเขมแข็ง นอกจากนั้น ผูบังคับบัญชาควรใหการสนับสนุนดานประสิทธิผลการปฏิบัติงานโดยเฉพาะในเรื่องของการสนับสนุนงบประมาณที่จะตองแสวงหาจากความรวมมือจากภาคเอกชนและภาครัฐในพื้นที่ เพื่อนํามาใชในงานชุมชนสัมพันธ

พรจิต ถนอมกิตติ (2548) ไดทําการศึกษา เรื่อง สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องคที่ 17 จังหวัดสุพรรณบุรี พบวา สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องคที่ 17 จังหวัดสุพรรณบุรี โดยรวมอยูในระดับสูง เมื่อพิจารณาตามรายดาน พบวา สมรรถนะดานการปฏิบัติงานพยาบาลอยางมีจริยธรรมตามมาตรฐานและกฎหมายวิชาชีพการพยาบาลและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ ดานการสงเสริมสุขภาพและครอบครัวดานการสอนและใหคําปรึกษาบุคคลและครอบครัว ดานการติดตอสื่อสารกับบุคคลและครอบครัวดานการแสดงภาวะผูนําและการบริหารจัดการตนเองและงานที่รับผิดชอบ ดานการตระหนักในความสําคัญของงานวิจัย ดานการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง ดานการพัฒนาวิชาชีพใหมีความเจริญ กาวหนาและมีศักด์ิศรี มีสมรรถนะอยูในระดับสูง สวนสมรรถนะดานการใชเทคโนโลยี สารสนเทศ

Page 57: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

46

อยูในระดับปานกลาง และพยาบาลวิชาชีพที่มีอายุ ระดับการศึกษา ประสบการณในการปฏิบัติงานและการอบรมเพิ่มเติมทางการพยาบาลตางกันมีสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพแตกตางกัน

ปยวัฒน บัวขาว (2547) ไดทําการศึกษาเรื่อง สมรรถนะของเจาหนาที่ตํารวจตอการเจรจาตอรองแกไขภาวะวิกฤต จํานวน 378 นาย ผลการวิจัยพบวา เจาหนาที่ตํารวจสังกัดกองบัญชา การตํารวจนครบาลมีสมรรถนะในการเจรจาตอรองแกไขภาวะวิกฤต ในระดับปานกลางจากการทดสอบสมมติฐานวา อายุ ยศ ตําแหนง ระดับการศึกษา และรายได ไมมีผลตอสมรรถนะในการเจรจาตอรองแกไขภาวะวิกฤต สวนผลการศึกษาเรื่องประสบการณ ความรูความเขาใจ และการฝก อบรมในเรื่องการเจรจาตอรองแกไขภาวะวิกฤต พบวา มีความสัมพันธกับสมรรถนะในการเจรจาตอรองแกไขภาวะวิกฤตของเจาหนาที่ตํารวจในทิศทางเดียวกัน คือ เมื่อระดับประสบการณ ความรู ความเขาใจ และฝกอบรมเพิ่มความสูงขึ้น จะมีระดับสมรรถนะเพิ่มสูงขึ้นดวย

2.4 กรอบแนวคิดในการศึกษาสําหรับการศึกษา สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานการขาว

ของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ครั้งนี้ ผูศึกษาไดทบทวนวรรณกรรม แนวคิด ปละผลงานวิจัยเกี่ยวของ เพื่อนํามาเปนแนวทางในการสรางกรอบแนวคิดในการศึกษา ดังนี้

ตัวแปรตน (Independent Variable) นําสมรรถนะหลักในการจัดทําตัวชี้วัดสําหรับขาราชการทหาร สังกัดกองบัญชาการกองทัพไทย (ขอมูลจาก กรมกําลังพลทหาร) มาเปนแนวทางในการศึกษา ประกอบดวย

1. ความเสียสละ2. ความมีคุณธรรม3. ดํารงความถูกตองมีความรับผิดชอบ4. การมุงในผลสัมฤทธิ์5. การรวมคิดทํางานเปนทีมสําหรับตัวแปรตาม (Dependent Variable) ไดนําหลักประสิทธิผลในการปฏิบัติตอขาว

กรอง ซึ่งเปนผลลัพธของการปฏิบัติงานดานการขาวทางทหาร ทั้ง 3 เหลาทัพ และกองบัญชาการ

กองทัพไทย มาทําการศึกษาประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ซึ่งประกอบไปดวย 3 หลัก ดังนี้

1. ความรวดเร็ว/ทันเวลา2. ความถูกตอง/ออนตัวได3. ความปลอดภัย

Page 58: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

47

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม (Independent Variable) (Dependent Variable)

แผนภาพที่ 2 แสดงกรอบแนวคิดในการศึกษา

2.5 สมมติฐานในการศึกษาสมมุติฐานที่ 1 สมรรถนะหลัก มีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานดานงานขาวของ

ขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทยสมมุติฐานที่ 2 สมรรถนะหลักดานความเสียสละ มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการ

ปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

สมมุติฐานที่ 3 สมรรถนะหลักดานความมีคุณธรรม มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

สมมุติฐานที่ 4 สมรรถนะหลักดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

สมมุติฐานที่ 5 สมรรถนะหลักดานการมุงในผลสัมฤทธิ์ของงาน มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

สมมุติฐานที่ 6 สมรรถนะหลักดานการทํางานเปนทีม มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

องคประกอบของสมรรถนะ- ความเสียสละ- ความมีคุณธรรม- ดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ- การมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน- รวมคิดทํางานเปนทีม

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานการขาว

- ความรวดเร็ว/ทันเวลา- ความถูกตอง/ออนตัวได- ความปลอดภัย

Page 59: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

48

2.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ

1. สมรรถนะ หมายถึง คุณลักษณะของบุคคล ซึ่งไดแก ความรู ทักษะ ความสามารถและคุณสมบัติตางๆ อันไดแก คานิยม จริยธรรม บุคลิกภาพ คุณลักษณะทางกายภาพและอื่นๆ ซึ่งจําเปนและสอดคลองกับความเหมาะสมกับองคการ โดยเฉพาะอยางยิ่งตองสามารถจําแนกไดวาผูที่ประสบความสําเร็จในการทํางานไดตองมีคุณลักษณะเดนๆ อะไร หรือลักษณะที่สําคัญ อะไรบางหรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือสาเหตุที่ทํางานแลวไมประสบความสําเร็จเพราะขาดคุณลักษณะบางประการคืออะไร ซึ่งสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัดกองบัญชาการกองทัพไทย ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบไปดวย (อานนท ศักดิ์วรวิชญ, 2547)

1.1 ความเสียสละ (Sacrifice) หมายถึง ทุมเททํางานใหบรรลุผลสําเร็จอยางเต็มกําลังความสามารถพรอมและเต็มใจที่จะสละประโยชนสวนตนเอประโยชนสวนรวม โดยไมยอทอตอความยากลําบาก ไมวาภารกิจน้ัน จะเปนสิ่งที่เสี่ยงอันตราย หรือไมมีผลประโยชนตอบแทน รวมถึงการแสดงพฤติกรรมพรอมทํางานที่ไดรับมอบหมายทุกกรณีอยางเต็มกําลังความสามารถ เพื่อใหงานบรรลุผลสําเร็จ ตามเปาหมายอยางดีที่สุด และการไมแสดงพฤติกรรมปฏิเสธงานหรือหลีกเลี่ยงงานยากหรืองานที่เสียงอันตรายหรืองานที่มอบหมายอื่นๆ

1.2 ดานคุณธรรม (Moral) หมายถึง ปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตย ตรงไปตรงมา ซื่อตรงตอหนาที่มีสัจจะรักษาคําพูด ไววางใจไดประพฤติปฏิบัติตนอยูในกรอบของกฎ ระเบียบ แบบธรรมเนียม และจรรยาบรรณของการเปนทหารอาชีพ มุงมั่นรักษาผลประโยชนของทางราชการ จงรักภักดี ตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย รวมทั้งกลายืนหยัดในสิ่งที่ถูกตอง รวมถึง การแสดงพฤติกรรมเชื่อถือไววางใจไดในทุกสถานการณ มีสัจจะรักษาคําพูด รวมทั้งกลายืนหยัดในสิ่งที่ถูกตอง โดยสามารถชี้แจงในสิ่งที่ถูกตองในงานตอผูบังคับบัญชาได และรักษาคํามั่นสัญญาที่ใหไวกับผูบังคับบัญชา

1.3 การดํารงความถูกตอง (Accountability) หมายถึง มีความรับผิดชอบ มุงมั่นรับผิดชอบตอการปฏิบัติหนาที่ราชการใหมีความถูกตองตามระเบียบแบบแผนและหลักการดวยความโปรงใส โดยคํานึงถึงประโยชนของทางราชการ และพรอมรับผิดชอบตอผลที่เกิดขึ้นจากการกระทํา และการตัดสินใจของตนเองทั้งทางบวกและทางลบ พรอมและยินดีใหตรวจสอบการกระทําหรือผลงานของตนเอง รวมถึง การสงมอบผลงาน ที่มีความถูกตองแมนยํา สามารถชี้แจงเหตุผลแหงความผิดพลาดตอผูบังคับบัญชาได ภายใตการมีขอมูลที่ถูกตองสนับสนุนอยางชัดเจนเพียงพอ ซึ่งอางอิงและเชื่อถือไดและจํานวนครั้งกลาแสดงความคิดเห็นที่แตกตางจากผูบังคับบัญชาโดยสามารถอางอิงขอมูลที่เชื่อถือถูกตองตามระเบียบหรือหลักการ

Page 60: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

49

1.4 การมุงในผลสัมฤทธิ์ (Resulf oriedted) หมายถึง เขาใจถึงเปาหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน พรอมมุงมั่นปฏิบัติราชการใหเกิดผลสําเร็จอยางดีที่สุด โดยพยายามพัฒนาตนเองใหมีความรูความสามารถเพื่อสรางสรรค พัฒนากระบวนการทํางานใหเกิดผลงาน บรรลุผลสําเร็จยิ่งกวาเปาหมายหรือมาตรฐานที่กําหนด รวมถึง อธิบายเปาหมาย ผลสัมฤทธิ์ของหนวยงานไดอยางถูกตอง รวมถึงสามารถเชื่อมโยงเปาหมาย ผลสัมฤทธิ์ของงานของตนกับหนวยงานแตละระดับไดและสามารถกําหนดหรือพัฒนาแนวทางการทํางานเพื่อสนับสนุนการบรรลุเปาหมาย ผลสัมฤทธิ์ของหนวยงาน และจํานวนงานที่ปฏิบัติมีการปรับปรุงและพัฒนาใหดีขึ้นกวาเดิม

1.5 การรวมคิดทํางานเปนทีม (Teamwork) หมายถึง ความสามารถในการทํางานรวมกับผูอื่น โดยปฏิบัติตนไดสอดคลองตามบทบาทหนาที่ของการเปนสมาชิกที่ดีของทีม ยอมรับฟงความคิดเห็นหรือคําวิจารณและวิธีทํางานที่หลากหลาย สามารถประสานการทํางานในระหวางสมาชิกในทีมไดเปนอยางดี พรอมมีสวนในทีมอยางเต็มความสามารถ เพื่อใหผลงานของทีมบรรลุเปาหมายไปในทิศทางเดียวกัน รวมถึง การแสดงพฤติกรรมในการประสานความรวมมือระหวางสมาชิกของทีม ยอมรับวิธีการทํางานที่แตกตางหลากหลายเพื่อมุงสูเปาหมายของทีม พรอมนําเสนอแนวทางหรือการมีสวนรวมในการตัดสินใจ ตามบทบาทหนาที่อยางเหมาะสมกับสถานการณ เพื่อใหทีมสามารถกําหนดแนวทางในการบรรลุเปาหมาย และจํานวนครั้งที่เกิดขอขัดแยงจนทําใหงานของทีมไมบรรลุเปาหมายที่กําหนด เนื่องจากไมรับฟงความคิดเห็นของสมาชิกในทีม

2. ประสิทธิผล หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการปฏิบัติงานของตนไดสอดคลองกับบทบาทขององคกร บรรลุวัตถุประสงคที่วางไว ในการปฏิบัติงานใหบรรลุประสิทธิผลจําเปน ตองอาศัยปจจัยตางๆท่ีมีผลตอการปฏิบัติงาน เชน คุณภาพผลงาน ปริมาณผลงาน ความตรงตอเวลา ซึ่งเปนเกณฑในการวัดประสิทธิผลการปฏิบัติงานของผูปฏิบัติงานโดยทั่วไป ซึ่งประสิทธิผลใน การปฏิบัติงานดานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย มีดังนี้

2.1 ความรวดเร็ว/ทันเวลา หมายถึง การกระจายขาวกรองที่ผานกรรมวิธีแลว ไปยังผูบังคับบัญชาหรือหนวยงานที่มีคําสั่ง คําขอ หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ ซึ่งตองการใชขาวกรองนั้น ไดอยางรวดเร็วและทันตอเวลาการใชประโยชน หรือทันตอสถานการณดวยเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสมตรงตามภารกิจ การใชขาวกรองที่สอดคลองกับสถานการณนั้นจะมีคุณคามากที่สุดหากนํามาใชไดทันเวลา บางขาวกรองนั้นถาหากลวงเวลาไปแลวคุณคาก็จะลดนอยลงตามลําดับ ขาวกรองนั้นอาจจะมีความสําคัญนอยหรืออาจจะไมมีเลย

2.2 ความถูกตอง/ความออนตัว หมายถึง ขาวจริงที่ไดมาจะตองเปนขาวจริง เที่ยงตรง แมนยํา สามารถเปนสวนหนึ่งในการตัดสินใจของผูบังคับบัญชาได ชวยให ผูบังคับบัญชาการมี

Page 61: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

50

ความชัดเจนกับเหตุการณตางๆ ที่ไดจากขาวกรองนั้นได แตความถูกตองนั้นก็จะตองมีลักษณะออนตัวเนื่องจากงานขาวกรองยอมขึ้นอยูกับเหตุผล และการวินิจฉัย การกําหนกดวิธีการดําเนินงาน ใหสอดคลองและสามารถเปลี่ยนแปลงแกไขใหใชกับสถานการณที่เกิดขึ้นโดยไมคาดการณได จะตองสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณไดตลอดเวลาและดีที่สุด

2.3 ความปลอดภัย หมายถึง ตองมีมาตรการในการรักษาความปลอดภัยอยางเขมงวดและตอเนื่องมีการปฏิบัติอยางเขมงวด ทั้งหนวยขาวกรองและบุคคล หรือหนวยที่ใชขาวกรอง เพื่อมิใหขาวสารรั่วไหลไปถึงขาศึกฝายตรงขามซึ่งจะเปนผลเสียและจะเปนอันตรายตอฝายเรา การปฏิบัติงานขาวกรองตองไมแจงใหเจาหนาที่หรือบุคคลที่ไมเกี่ยวของทราบเรื่องที่เกี่ยวกับเปาหมาย แหลงขาว และขาวกรองที่ผลิตไว แตใหทราบเทาที่จําเปน ทั้งยังสามารถแลกเปลี่ยนขาวสารกันได

Page 62: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

51

บทที่ 3วิธีการศึกษา

การศึกษา เรื่อง สมรรถนะหลัก กับประสิทธิผลในการปฏิบัติ งานดานงานขาว ของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย เปนการศึกษาเชิงพรรณนา (Descriptive Method) มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสมรรถนะหลักของขาราชการทหารที่มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานการขาว โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลในการศึกษาไดคนควาวิชาความรูจากเอกสารแนวคิดทฤษฎี รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อใชแนวทางในการศึกษา ดังนี้

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง3.2 เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล3.3 การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ3.4 วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล3.5 การวิเคราะหขอมูล

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยางขาราชการทหารชั้นสูงสัญญาบัตร ที่ปฏิบัติงานดานงานขาว ทั้งในที่ตั้งปกติ และออก

ปฏิบัติงานนอกที่ตั้งตามตางจังหวัด ระดับชั้นยศระหวาง ร.ต. – ร.อ. สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย มีจํานวนประชากรทั้งสิ้น จํานวน 112 นาย ผูศึกษาใชประชากรทั้งหมดในการศึกษาครั้งนี้

3.2 เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลการศึกษาครั้งนี้ไดใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล โดยสรางจาก

การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสารเกี่ยวกับสมรรถนะหลักของขาราชการทหารกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน รวมทั้งศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวของ ซึ่งประกอบดวยแบบสอบถามปลายปด ไดแก คําถามเลือกตอบ (Cheek List) แบบมาตราสวนประเมินคา (Rating Scale) และแบบสอบถามปลายเปด (Open – Ended) โดยแบงเปน 4 สวน ดังนี้

Page 63: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

52

สวนที่ 1 แบบสอบถามที่เกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก ขาราชการทหารระดับชั้นยศ ร.ต. – ร.อ. ของ กอง 6 ศรภ.บก.ทท. มีทั้งสิ้น 3 ขอ ไดแก เพศ ระดับการศึกษา อายุราชการในการทํางาน

สวนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย แบงเปน 5 ดาน รวมคําถามทั้งสิ้น 25 ขอ จําแนกตามดานตางๆ ได ดังนี้

1. ความเสียสละ จํานวน 5 ขอ2. ความมีคุณธรรม จํานวน 5 ขอ3. ดํารงความถูกตอง/มีความรับผิดชอบ จํานวน 5 ขอ4. การมุงผลสัมฤทธิ์ในงาน จํานวน 5 ขอ5. การทํางานเปนทีม จํานวน 5 ขอ

โดยใชแบบสอบถามแบบ Likert Scale ซึ่งจะใชคําถามที่แสดงระดับการวัดขอมูลประเภท

อันตรภาคแบงเปน 5 ระดับ ซึ่งมีหลักเกณฑในการใหคะแนนแตละระดับ ดังนี้

ระดับสมรรถนะ คะแนนมีสมรรถนะหลักมากกวา 81% ให 5 คะแนนมีสมรรถนะหลัก 71% - 80% ให 4 คะแนนมีสมรรถนะหลัก 61% - 70% ให 3 คะแนนมีสมรรถนะหลัก 51% - 60% ให 2 คะแนนมีสมรรถนะหลักนอยกวา 50% ให 1 คะแนน

สวนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร กอง 6 ศรภ.บก.ทท. จํานวนทั้งสิ้น 3 ดาน รวมคําถามทั้งสิ้น 12 ขอ จําแนกตามดานตางๆ ได ดังนี้

1. ความรวดเร็ว/ทันเวลา จํานวน 4 ขอ2. ความถูกตอง/ความออนตัว จํานวน 4 ขอ3. ความปลอดภัย จํานวน 4 ขอ

Page 64: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

53

โดยใชแบบสอบถามแบบ Likert Scale ซึ่งจะใชคําถามที่แสดงระดับการวัดขอมูลประเภทอันตรภาค แบงเปน 5 ระดับ อางถึง (เยาวเรศ จําจด,2551:136) ซึ่งมีหลักเกณฑในการใหคะแนนแตละระดับ ดังนี้

ชวงคะแนน = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ําสุด = 5-1 = 0.80 จํานวนชั้น 5

โดยนําคะแนนที่ไดมาวิเคราะหหาคาเฉลี่ย การแปลความหมายของระดับคะแนนเฉลี่ยโดยยึดเกณฑตามคาที่ไดจากสูตรคํานวณของระดับชั้น = 0.80 ดังนี้

จากหลักเกณฑ ดังกลาว จะไดเกณฑการวัดระดับคะแนนแบงเปนชวง 5 ชวง สําหรับใชแปลคาเฉลี่ยของระดับสมรรถนะของขาราชการทหาร ศูนยรักษาความปลอดภัยดานตางๆ ดังนี้

ระดับคะแนน ความหมายระดับ 5 คาคะแนนระหวาง 4.21 – 5.00 มากที่สุดระดับ 4 คาคะแนนระหวาง 3.41 – 4.20 มากระดับ 3 คาคะแนนระหวาง 2.61 – 3.40 ปานกลางระดับ 2 คาคะแนนระหวาง 1.81 – 2.60 นอยระดับ 1 คาคะแนนระหวาง 1.00 – 1.80 นอยที่สุด

สวนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะ เกี่ยวกับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย และประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน เปนคําถามปลายเปด

การสรางเครื่องมือผูศึกษาไดดําเนินการสรางเครื่องมือเพื่อใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ตามลําดับ ดังนี้1. ศึกษาเอกสารวิทยานิพนธ สารนิพนธ บทความ งานวิจัย สิ่งพิมพตางๆ และอื่นๆที่

เกี่ยวของกับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัดกองบัญชาการกองทัพไทย กับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน รวมทั้งการศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวของ เพื่อนํามากําหนดกรอบและขอบเขตเนื้อหาในการสรางแบบสอบถาม

2. กําหนดนิยามศัพทเฉพาะเพื่อใชเปนกรอบในการรางคําถามในแบบสอบถาม

Page 65: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

54

3. การจัดทําแบบสอบถามใหสอดคลองกับประเด็นสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กองบัญชาการกองทัพไทย กับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาว ในแตละดานใหเหมาะสมกับเนื้องานโดยพิจารณาจากเอกสารวิทยานิพนธ สารนิพนธ บทความ สิ่งพิมพและอื่นๆ

4. นําแบบสอบถามที่สรางขึ้นมาตามกรอบแนวคิดที่กําหนด นําเสนออาจารยที่ปรึกษาเพื่อพิจารณาความครบถวน ความถูกตอง และครอบคลุมเนื้อหาของการศึกษา เพื่อนํามาปรับปรุงแกไขตามอาจารยที่ปรึกษาแนะนําเพิ่มเติม

5. ปรับปรุงแกไขเนื้อหาสอบถามตามขอเสนอแนะที่อาจารยที่ปรึกษาไดใหคําแนะนําตรวจสอบความถูกตอง และครอบคลุมเนื้อหาของการศึกษา

3.3 การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ3.3.1 นําแบบสอบถามที่ผานการพิจารณาจากอาจารยที่ปรึกษาตรวจสอบไปทดลองใชใน

การทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) หลังจากผานการทดสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือแลว ผูศึกษาไดนําแบบสอบถามไปแจกใหกับกลุมตัวอยาง ของขาราชการทหาร กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย เพื่อทําการทดสอบความเชื่อมั่น จํานวน 30 คน จากนั้นนําแบบสอบถามมาวิเคราะห (Analysis) เพื่อหาสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น โดยการคํานวณคาสัมประสิทธิ์อัลฟา (Alpha Coeffcient) ตามวิธีของ Cronbach (Cronbach’s Reliability Coeffcient Alpha)

ผลการวิเคราะหหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) ของสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย 5 ดาน พบวา

1. ดานความเสียสละ มีคาความเชื่อมั่น = .76222. ดานความมีคุณธรรม มีคาความเชื่อมั่น = .70133. ดานความถูกตอง/มีความรับผิดชอบ มีคาความเชื่อมั่น = .81994. ดานการมุงผลสัมฤทธิ์ในงาน มีคาความเชื่อมั่น = .74375. ดานการทํางานเปนทีม มีคาความเชื่อมั่น = .6783

ผลการวิเคราะหหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) ของประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย 3 ดาน พบวา

Page 66: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

55

1. ดานความรวดเร็ว/ทันเวลา มีคาความเชื่อมั่น = .81582. ดานความถูกตอง/ออนตัว มีคาความเชื่อมั่น = .77663. ดานความปลอดภัย มีคาความเชื่อมั่น = .7591

3.3.2 หลังจากนั้นนําแบบสอบถามที่ผานกระบวนการทดสอบเครื่องมือแลวมาจัดพิมพเพื่อดําเนินการเก็บขอมูล

3.4 วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล3.4.1 รางแบบสอบถามใหสอดคลองกับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร กองบัญชาการ

กองทัพไทย ในแตละดานใหเหมาะสมกับเนื้องาน โดยพิจารณาจากเอกสาร ตํารา บทความ และหลักการทางวิชาการ

3.4.2 นําแบบสอบถามที่สรางขึ้นมาตามแบบแนวคิดที่กําหนด นําเสนออาจารยที่ปรึกษาเพื่อพิจารณาความครบถวน ความถูกตอง และครอบคลุมเนื้อหาของการศึกษา เพื่อนํามาปรับปรุง แกไขตามที่อาจารยที่ปรึกษาแนะนําเพิ่มเติม

3.4.3 ปรับปรุงแกไขเนื้อหาแบบสอบถามตามขอเสนอแนะที่อาจารยที่ปรึกษาใหคําแนะนําตรวจสอบความถูกตอง และครอบคลุมเนื้อหาในการศึกษา

3.4.4 แจกแบบสอบถามดวยตนเองกับหัวหนางานที่อยูในที่ตั้งปกติเพื่อใหประเมินผูใตบังคับบัญชาในระดับชั้นยศระหวาง ร.ต. – ร.อ. ที่เปนกลุมตัวอยาง

3.4.5 ฝากแบบสอบถามใหกับหัวหนาสถานีขาวประจําฐานตางจังหวัด สําหรับขาราชการทหารที่อยูในหนวยงานตางจังหวัด ที่มีผูใตบังคับบัญชาระดับชั้นยศระหวาง ร.ต. – ร.อ. ที่เปนกลุมตัวอยาง

3.4.6 ผูศึกษาติดตามจัดเก็บแบบสอบถามคืนดวยตนเองภายหลังที่ไดสงแบบสอบถามไปแลว ประมาณ 2 อาทิตย การเก็บรวบรวมขอมูล คือ เดือน พฤษภาคม – สิงหาคม 2558

3.4.7 ผูศึกษานําแบบสอบถามที่เก็บรวบรวมมาไดตรวจสอบความสมบูรณของการตอบแบบสอบถามเพื่อนําไปใชในการวิเคราะหขอมูลตอไป

Page 67: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

56

3.5 การวิเคราะหขอมูล3.5.1 การพรรณนาขอมูล

3.5.1.1 คารอยละ ใชวิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ ระดับการศึกษา ระยะเวลาในการรับราชการ เปนตน

3.5.1.2 คาเฉลี่ย/มัฌชิมเลขคณิต คือ คาคะแนนตัวหนึ่งซึ่งเกิดจากการเอาคาคะแนนทุกตัวรวมกันแลวหารดวยจํานวนของคะแนนทั้งหมด ใชวิเคราะหระดับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทยกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ กอง 6 ศรภ.บก.ทท.

3.5.1.3 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ คารากที่สองของผลรวมของความแตกตางระหวางขอมูลดิบกับคาเฉลี่ยกําลังสองหารดวยจํานวนขอมูลทั้งหมด ใชวิเคราะหคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศรภ.บก.ทท. กับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของ กอง 6 ศรภ.บก.ทท

3.5.2 การทดสอบสมมุติฐานการทดสอบสมมุติฐานใชการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression)

โดยการหาคาสัมประสิทธิ์การพยากรณแบบพหูคูณ เพื่อวิเคราะหหาอิทธิพลของตัวแปรตนตอตัวแปรตาม โดยคาของความแข็งแกรงหรือขนาดของอิทธิพลจะใชการกําหนดคาของ Cohen (1988) ที่ไดอธิบายถึงความแข็งแกรงของระดับอิทธิพลของตัวแปรตนตอตัวแปรตาม ดังนี้

ระดับอิทธิพล Regression:R Correlation:r ใหญ .35 0.5 กลาง .15 0.3 เล็ก .02 0.1

Page 68: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

57

บทที่ 4ผลการวิเคราะหขอมูล

การศึกษาเรื่อง สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ผูศึกษาใชวิธีวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ โดยนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลดังตอไปนี้

4.1 ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง4.2 ผลการวิเคราะหสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความ

ปลอดภัย กองบัญชาการทองทัพไทย4.3 ผลการวิเคราะหประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด

กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการทองทัพไทย4.4 ผลการทดสอบสมมุติฐาน

4.1 ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยางจากการศึกษาขอมูลทั่วไปของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย

กองบัญชาการทองทัพไทย ที่มีชั้นยศระหวาง รอยตรี เรือตรี เรืออากาศตรี – รอยเอก เรืออากาศเอก ประกอบดวย เพศ ระดับการศึกษา และระยะเวลาในการรับราชการ ผูศึกษาขอนําเสนอในรูปแบบตารางประกอบการบรรยาย ดังนี้

ตารางที่ 1 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามเพศ

เพศ จํานวน (คน) รอยละชาย 63 56.2หญิง 49 43.8

รวม 112 100.0

จากตารางที่ 1 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศชาย จํานวน 63 คน คิดเปนรอยละ 56.2 และเปนเพศหญิง จํานวน 49 คน คิดเปนรอยละ 43.8

Page 69: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

58

ตารางที่ 2 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา จํานวน (คน) รอยละม.3 หรือ ม.6 15 13.4ปวช. หรือ ปวส. 27 24.1ปริญญาตรี 51 45.5สูงกวาปริญญาตรี 19 17.0

รวม 112 100.0

จากตารางที่ 2 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 51 คน คิดเปนรอยละ 45.5 รองลงมาคือ มีการศึกษาระดับ ปวช. หรือ ปวส. จํานวน 27 คน คิดเปนรอยละ 24.1 มีการศึกษาระดับสูงกวาปริญญาตรี จํานวน 19 คน คิดเปนรอยละ 17 และมีการศึกษาระดับ ม.3 หรือ ม.6 จํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 13.4 ตามลําดับ

ตารางที่ 3 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระยะเวลาในการรับราชการ

ระยะเวลาในการรับราชการ จํานวน (คน) รอยละต่ํากวา 5 ป 15 13.45 – 15 ป 36 32.116 – 25 ป 19 17.0มากกวา 25 ป 42 37.5

รวม 112 100.0

จากตารางที่ 3 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีระยะเวลาในการรับราชการมากกวา 25 ป จํานวน 42 คน คิดเปนรอยละ 37.5 รองลงมาคือ มีระยะเวลาในการรับราชการระหวาง 5 – 15 ป จํานวน 36 คน คิดเปนรอยละ 32.1 มีระยะเวลาในการรับราชการระหวาง 16 – 25 ป จํานวน 19 คน คิดเปน รอยละ 17 และมีระยะเวลาในการรับราชการต่ํากวา 5 ป จํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 13.4 ตามลําดับ

Page 70: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

59

4.2 ผลการวิเคราะหสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการทองทัพไทย

ผูศึกษาไดวิเคราะหสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ประกอบดวย 5 ดาน ไดแก 1. ดานความเสียสละ 2. ดานความมีคุณธรรม 3. ดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ 4. การมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของ 5. ดานการทํางานเปนทีม ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

ตารางที่ 4 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

สมรรถนะหลัก SD ระดับความคิดเห็น1. ดานความเสียสละ 4.21 0.38 มากที่สุด2. ดานความมีคุณธรรม 4.51 0.32 มากที่สุด3. ดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ 4.41 0.41 มากที่สุด4. ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน 4.53 1.03 มากที่สุด5. ดานการทํางานเปนทีม 4.39 0.38 มากที่สุด

รวมเฉลี่ย 4.41 0.35 มากที่สุด

จากตารางที่ 4 พบวา สมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทยในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด ( = 4.41, SD = 0.35) และเมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานการมุงในผลสัมฤทธิ์ของงาน มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ( = 4.53, SD = 1.03) รองลงมาคือ ดานความมีคุณธรรม ( = 4.51, SD = 0.32) ดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ ( = 4.41, SD = 0.41) ดานการทํางานเปนทีม ( = 4.39, SD = 0.38) และดานที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุดคือ ดานความเสียสละ ( = 4.21, SD = 0.38) โดยสมรรถนะหลักทุกดานมีระดับความคิดเห็นอยูในระดับมากที่สุด

จากผลการวิเคราะหสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทยในภาพรวมดังกลาว เพื่อใหสามารถวิเคราะหผล ไดละเอียดมาก

Page 71: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

60

ยิ่งขึ้น ผูศึกษาขอนําเสนอผลการวิเคราะหสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทยใน เปนรายดานดังมีรายละเอียดดังนี้

ตางรางที่ 5 แสดงคาระดับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานความเสียสละ

ดานความเสียสละ SDระดับความ

คิดเห็น1. เปนผูที่ยินดีเสียประโยชนสวนนอยของตนเพื่อประโยชนสวนใหญของสวนรวม

4.31 0.63 มากที่สุด

2. เปนผูที่ทุมเททํางานอยางเต็มความสามารถถึงแมจะเกินเวลาราชการหากงานนั้นยังไมสําเร็จ

4.28 0.67 มากที่สุด

3. เปนผูที่ตั้งใจทํางานที่ไดรับมอบหมายอยางเต็มความสามารถถึงแมจะเปนงานที่ยาก

4.27 0.64 มากที่สุด

4. เปนผูที่ไมชวยเหลือผูอื่นแมงานนั้นอาจสําเร็จไมทันเวลาหากไมใชงานในหนาที่โดยตรง

3.91 0.97 มาก

5. เปนผูที่ถางานมีปญหามักจะเปนคนแกไขปญหาเหลานั้นใหสําเร็จลุลวง

4.29 0.78 มากที่สุด

รวมเฉลี่ย 4.21 0.38 มากที่สุด

จากตารางที่ 5 พบวา สมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานความเสียสละ ในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด ( = 4.21, SD = 0.38) เมื่อพิจารณารายขอ พบวาเปนผูยินดีเสียประโยชนสวนนอยของตนเพื่อประโยชนสวนใหญของสวนรวม ( = 4.31, SD = 0.63) รองลงมา คือ เปนผูที่ถางานมีปญหามักจะเปนคนแกไขปญหาเหลานั้นใหสําเร็จลุลวง ( = 4.29, SD = 0.78) เปนผูที่ทุมเททํางานอยางเต็มความสามารถถึงแมจะเกินเวลาราชการหากงานนั้นยังไมสําเร็จ ( = 4.28, SD = 0.67) และเปนผูที่ตั้งใจทํางานที่ไดรับมอบหมายอยางเต็มความสามารถถึงแมจะเปนงานที่ยาก ( = 4.27, SD = 0.64) ตามลําดับ โดยสมรรถนะหลัก

Page 72: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

61

ดานความเสียสละสวนใหญอยูในระดับมากที่สุด ยกเวนเปนผูที่ไมชวยเหลือผูอื่นแมงานนั้นอาจสําเร็จไมทันเวลาหากไมใชงานในหนาที่โดยตรงอยูในระดับมาก ( = 3.91, SD = 0.97)

ตารางที่ 6 แสดงคาระดับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานความมีคุณธรรม

ดานความมีคุณธรรม SDระดับความ

คิดเห็น1.เปนผูที่มีจิตสํานึกและความภาคภูมิใจแหงอาชีพทหารเปนอยางสูง 4.50 0.54 มากที่สุด2.เปนผูที่ปกครองผูใตบังคับบัญชาบนพื้นฐานความถูกตองและเปนธรรม 4.50 0.59 มากที่สุด3.เปนผูที่ปฏิบัติหนาที่ดวยความโปรงใส ซื่อสัตย สุจริต ถูกตองตามหลักกฎหมาย จริยธรรม และมีระเบียบวินัย

4.53 0.57 มากที่สุด

4.เปนผูที่แสดงความคิดเห็นของตนอยางเปดเผยตรงไปตรงมา 4.54 0.58 มากที่สุด5.เปนผูที่รักษาสัจจะไมบิดเบือน ไมอางขอยกเวน เพื่อใหตนเองไดประโยชน

4.47 0.62 มากที่สุด

รวมเฉลี่ย 4.51 0.32 มากที่สุด

จากตารางที่ 6 พบวา ภาพรวมระดับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานความมีคุณธรรม อยูในระดับมากที่สุด ( = 4.51, SD = 0.32) เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ เปนผูที่แสดงความคิดเห็นของตนเองอยางเปดเผยตรงไปตรงมา ( = 4.54, SD = 0.58) รองลงมา เปนผูที่ปฏิบัติหนาที่ดวยความโปรงใส ซื่อสัตย สุจริต ถูกตองตามหลักกฎหมาย จริยธรรม และมีระเบียบวินัย ( = 4.53, SD = 0.57) เปนผูที่มีจิตสํานึกและความภาคภูมิใจแหงอาชีพทหารเปนอยางสูง ( = 4.50, SD = 0.54) เปนผูที่ปกครองผูใตบังคับบัญชาบนพื้นฐานความถูกตองและเปนธรรม ( = 4.50, SD = 0.59) และเปนผูที่รักษาสัจจะไมบิดเบือนไมอางขอยกเวน เพื่อใหตนเองไดประโยชน ( = 4.47, SD = 0.62) ตามลําดับโดยระดับสมรรถนะหลัก ดานความมีคุณธรรม ทุกขออยูในระดับมากที่สุด

Page 73: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

62

ตารางที่ 7 แสดงคาระดับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ

ดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ SDระดับความ

คิดเห็น1. เปนผูที่ยอมรับความผิดพลาดที่เกิดจากการทํางานพรอมรวมดําเนินการปรับปรุงแกไข

4.48 0.60 มากที่สุด

2. เปนผูที่ยินดีรับผิดชอบผลจากการตัดสินใจของตนเองทั้งทางบวกและทางลบ พรอมยินดีใหตรวจสอบการกระทําหรือผลงานนั้น

4.55 0.58 มากที่สุด

3. เปนผูที่สนับสนุนใหบุคลากรในหนวยมีจิตสํานึกและพฤติกรรมที่ยึดมั่นในความถูกตองพรอมรับผิดชอบในการกระทํา

4.46 0.61มากที่สุด

4. เปนผูที่ไมรับผิดชอบในความผิดของผูใตบังคับบัญชาแมวาเปนคนสั่งใหกระทํา

4.14 0.91 มาก

5. เปนผูที่แสดงความคิดเห็นของตนอยางเปดเผยตรงไปตรงมาไมเกรงกลัวในสิ่งที่ไมถูกตอง 4.43 0.68 มากที่สุด

รวมเฉลี่ย 4.41 0.41 มากที่สุด

จากตารางที่ 7 พบวา ภาพรวมระดับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ อยูในระดับมากที่สุด ( = 4.81, SD = 0.21) เมื่อพิจารณารายขอพบวา เปนผูที่ยินดีรับผิดชอบผลจากการตัดสินใจของตนเองทั้งทางบวกและทางลบ พรอมยินดีใหตรวจสอบการกระทําหรือผลงานนั้น ( =4.55, SD = 0.58) รองลงมา เปนผูที่ยอมรับความผิดพลาดที่เกิดจากการทํางานพรอมรวมดําเนินการปรับปรุง ( = 4.48, SD = 0.60) เปนผูที่สนับสนุนใหบุคลากรในหนวยมีจิตสํานึกและพฤติกรรมที่ยึดมั่นในความถูกตองพรอมรับผิดชอบในการกระทํา ( = 4.46, SD = 0.61) และเปนผูที่แสดงความคิด เห็นของตนอยางเปดเผย ตรงไปตรงมาไมเกรงกลัวในสิ่งที่ไมถูกตอง ( = 4.43, SD = .068) ตามลําดับโดยระดับสมรรถนะหลัก ดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ สวนมากอยูในระดับมากที่สุด ยกเวน เปนผูที่ไมรับผิดชอบในความผิดของผูใตบังคับบัญชาแมวาเปนคนสั่งใหกระทํา ( = 4.14, SD = 0.91) อยูในระดับมาก

Page 74: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

63

ตารางที่ 8 แสดงระดับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน

ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน SDระดับความ

คิดเห็น1. เปนผูที่มีการทดลองหรือนําวิธีการทํางานใหมๆ มาใชในการทํางานอยูเสมอ

4.50 0.64 มากที่สุด

2. เปนผูที่มีความมุงมั่นในการพัฒนาผลงานที่ไดรับมอบหมายอยางตอเนื่อง

4.57 0.59 มากที่สุด

3. เปนผูใหความสําคัญสูงสุดตอการทํางานใหบรรลุเปาหมายทุกครั้ง

4.52 0.64 มากที่สุด

4. เปนผูที่มีความรูความสามารถในการวางแผนการปฏิบัติงานในแตละภารกิจไดเปนอยางดี

4.57 0.57 มากที่สุด

5. เมื่อปฏิบัติงานเสร็จสิ้นจะเปนผูที่คอยประเมินผลงานของตนเอง เพื่อนํามาปรับปรุงแกไขอยูเสมอ

4.49 0.68 มากที่สุด

รวมเฉลี่ย 4.53 1.03 มากที่สุด

จากตารางที่ 8 พบวา ภาพรวมระดับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน อยูในระดับมากที่สุด ( = 4.53, SD = 1.03) เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ เปนผูที่มีความรูความ สามารถในการวางแผนการปฏิบัติงานในแตละภารกิจไดเปนอยางดี ( = 4.57, SD = 0.57) รองลงมา เปนผูที่มีความมุงมั่นในการพัฒนาผลงานที่ไดรับมอบหมายอยางตอเนื่อง ( = 4.57, SD = 0.59) เปนผู ใหความสําคัญสูงสุดตอการทํางานใหบรรลุเปาหมายทุกครั้ง ( = 4.52, SD = 0.64) เปนผูที่มีการทด ลองหรือนําวิธีการทํางานใหม มาใชในการทํางานอยูเสมอ ( = 4.50, SD = 0.64) และเมื่อปฏิบัติงานเสร็จสิ้นจะเปนผูที่คอยประเมินผลงานของตนเอง เพื่อนํามาปรับปรุงแกไขอยูเสมอ ( = 4.49, SD = 0.68) ซึ่งอยูในระดับมากที่สุดทุกขอ

Page 75: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

64

ตารางที่ 9 แสดงระดับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานการทํางานเปนทีม

ดานการทํางานเปนทีม SDระดับความ

คิดเห็น1. เปนผูที่ใหความรวมมือ ชวยเหลือ สนับสนุน เพื่อนรวมงานเสมอ

4.50 0.54 มากที่สุด

2. เปนผูที่แสดงบทบาทผูนําและผูตามไดอยางเหมาะสม 4.13 0.82 มาก3. เปนผูที่มีทักษาในการทํางานรวมกับกลุมคนที่หลากหลายไดเปนอยางดี

4.37 0.68 มากที่สุด

4. เปนผูที่ใหเกียรติ ยกยอง ชมเชย หรือใหกําลังใจแกเพื่อนรวมงานในโอกาสตางๆ อยางเหมาะสมเสมอ

4.51 0.62 มากที่สุด

5. เปนสวนหนึ่งในการพัฒนาบุคลากรในการปฏิบัติงานขององคการเสมอ

4.43 0.68 มากที่สุด

รวมเฉลี่ย 4.39 0.38 มากที่สุด

จากตารางที่ 9 พบวา ระดับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานการทํางานเปนทีม ภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด ( = 4.39, SD = 0.38) เมื่อพิจารณารายขอ พบวา ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ เปนผูที่ใหเกียรติ ยกยอง ชมเชย หรือใหกําลังใจแกเพื่อนรวมงานในโอกาสตางๆ อยางเหมาะสมเสมอ ( = 4.51, SD = 0.62) รองลงมา เปนผูที่ใหความรวมมือ ชวยเหลือ สนับสนุน เพื่อนรวมงานเสมอ ( = 4.50, SD = 0.54) เปนสวนหนึ่งในการพัฒนาบุคลากรในการปฏิบัติงาน ขององคการเสมอ ( = 4.43, SD = 0.68) เปนผูที่มีทักษะในการทํางานรวมกับกลุมคนที่หลากหลายไดเปนอยางดี ( = 4.37, SD = 0.68) ซึ่งสมรรถนะหลักของขาราชการทหารสังกัด กอง 6 ศรภ.บก.ทท. ดานการทํางานเปนทีม สวนมากอยูในระดับ มากที่สุด ยกเวน เปนผูที่แสดงบทบาทผูนําหรือผูตามไดอยางเหมาะสม ( = 4.13, SD = 0.82) อยูในระดับมาก

Page 76: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

65

4.3 ผลการวิเคราะหประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการทองทัพไทย

ผูศึกษาไดวิเคราะหขอมูลประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ประกอบดวย 3 ดาน ไดแก 1. ดานความรวดเร็ว/ทันเวลา 2. ดานความถูกตอง/ความออนตัว 3. ดานความปลอดภัย ปรากฏผลตามตารางที่ 10 ดังนี้

ตารางที่ 10 แสดงคาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน SDระดับความ

คิดเห็น

1. ดานความรวดเร็ว/ทันเวลา 4.38 0.43 มากที่สุด

2. ดานความถูกตอง/ความออนตัว 4.52 0.39 มากที่สุด3. ดานความปลอดภัย 4.53 0.39 มากที่สุด

รวม 4.48 0.40 มากที่สุด

จากตางรางที่ 10 ผลการวิเคราะหขอมูลประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย พบวา ขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย มีความคิดเห็นตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานอยูในระดับมากที่สุด ( = 4.53, SD = 0.39) เมื่อพิจารณารายดาน พบวาดานที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ ดานความปลอดภัย ( = 4.53, SD = 0.39) รองลงมา คือ ดานความถูกตอง/ความออนตัว ( = 4.52, SD = 0.39) และดานความรวดเร็วทันเวลา ( = 4.38, SD = 0.43) ตามลําดับ

และเพื่อใหสามารถวิเคราะหผล ไดละเอียดมากยิ่งขึ้น ผูศึกษาไดทําการศึกษาประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ทั้ง 3 ดาน เปนรายดาน โดยมีรายละเอียดตามตารางที่ 11 – 13

Page 77: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

66

ตารางที่ 11 แสดงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานการขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานความรวดเร็ว/ทันเวลา

ดานความรวดเร็ว/ทันเวลา SDระดับความ

คิดเห็น1. เปนผูที่สามารถปฏิบัติงานชวยในการตัดสินใจ ของผูบังคับบัญชาและผูใชงานอยางทันเวลา

4.20 0.75 มากที่สุด

2. เปนผูที่จัดลําดับการทํางาน โดยจะรีบทํางานดวนพิเศษกอนงานประจําเสมอและเสร็จทันเวลาที่กําหนด

4.42 0.60 มากที่สุด

3. เปนผูที่สามารถแกปญหาเฉพาะหนาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติ และสามารถหาเทคนิค วิธีการในการปฏิบัติงานใหทันเวลา

4.46 0.61 มากที่สุด

4. เปนผูที่สามารถปฏิบัติงานตามภารกิจ และสั่งการของผูบังคับบัญชาไดเสมอ

4.45 0.66 มากที่สุด

รวมเฉลี่ย 4.38 0.43 มากที่สุด

จากตารางที่ 11 พบวา ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานความรวดเร็ว/ทันเวลา อยูในระดับมากที่สุด ( = 4.38, SD = 0.43) เมื่อพิจารณารายขอ ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด คือ เปนผูที่สามารถแกปญหาเฉพาะหนาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน และสามารถหาเทคนิค วิธีการในการปฏิบัติงานใหทันเวลา ( = 4.46, SD = 0.61) รองลงมา คือ เปนผูที่สามารถปฏิบัติงานตามภารกิจ และสั่งการของผูบังคับบัญชาไดเสมอ ( = 4.45, SD = 0.66) เปนผูที่จัดลําดับการทํางาน โดยจะรีบทํางานดวนพิเศษกอนงานประจําเสมอและเสร็จทันเวลาที่กําหนด ( = 4.42, SD = 0.60) และเปนผูที่สามารถปฏิบัติงานชวยในการติดสินใจ ของผูบังคับบัญชาและผูใชงานอยางทันเวลา ( = 4.20, SD = 0.75) โดยทุกขออยูในระดับมากที่สุด

Page 78: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

67

ตารางที่ 12 แสดงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานความถูกตอง/ ความออนตัว

ดานความถูกตอง/ความออนตัว SDระดับความ

คิดเห็น

1. เปนผูที่มีความรูความชํานาญในการปฏิบัติงานที่ทําอยูเปนอยางดี 4.28 0.67 มากที่สุด2. เปนผูที่ใหความสําคัญวางานขาวควรที่จะมีการแลกเปลี่ยนขาวกันไดอยางเสรี มีการรวบรวมขาวจากหลายแหลงขาวเพื่อใหไดขาวกรองที่ถูกตอง

4.56 0.57 มากที่สุด

3. เปนผูที่ใหความสําคัญวางานขาวควรที่จะตองทําทั้งในยามปกติและยามเกิดศึกสงคราม

4.64 0.54 มากที่สุด

4. เปนผูที่ทราบวาการทํางานขาวที่ดีควรจะตองไดขอมูลรวดเร็ว/ทันเวลา ถูกตองและปลอดภัย โดยที่เราตองปกปดขอมูลของฝายเราใหมากที่สุด

4.59 0.55 มากที่สุด

รวมเฉลี่ย 4.52 0.39 มากที่สุด

จากตางรางที่ 12 พบวา ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศรภ.บก.ทท ดานความถูกตอง/ความออนตัว อยูในระดับมากที่สุด ( = 4.52, SD = 0.39) เมื่อพิจารณารายขอ พบวา ขอที่เฉลี่ยสูงสุด คือ เปนผูที่ใหความสําคัญวางานขาวควรที่จะตองทําทั้งในยากปกติและยามเกิดศึกสงคราม ( = 4.64, SD = 0.54) รองลงมาคือ เปนผูที่ทราบวาการทํางานขาวที่ดีควรจะตองไดขอมูลรวดเร็ว/ทันเวลา ถูกตองและปลอดภัย โดยที่เราตองปกปดขอมูลของฝายเราใหมากที่สุด ( = 4.59, SD = 0.55) เปนผูที่ใหความสําคัญวางานขาวควรที่จะมีการแลกเปลี่ยนขาวกันไดอยางเสรี มีการรวบรวมขาวจากหลายแหลงขาวเพื่อใหไดขาวกรองที่ถูกตอง ( = 4.56, SD = 0.57) และเปนผูที่มีความรู ความชํานาญในการปฏิบัติงานที่ทําอยูเปนอยางดี ( = 4.28, SD = 0.67) โดยทุกขออยูในระดับมากที่สุด

Page 79: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

68

ตารางที่ 13 แสดงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานความปลอดภัย

ความปลอดภัย SDระดับความ

คิดเห็น1. เปนผูที่ไมใหความสําคัญกับการกําหนดชั้นความลับของงานขาวเนื่องจากจะทําใหงานขาวลาชาไมทันเวลาในการสงขาวใหกับผูบังคับบัญชา

4.10 0.89 มาก

2. เปนผูที่ใหความสําคัญวางานดานความมั่นคงสมควรที่จะกําหนดชั้นความลับ

4.64 0.48 มากที่สุด

3. เปนผูที่ใหความสําคัญวาการกระจายขาวที่มีชั้นความลับควรจะจํากัดบุคคลและจํากัดขอมูลใหทราบเทาที่จําเปน

4.64 0.48 มากที่สุด

4. เปนผูที่ใหความสําคัญในการปฏิบัติตองานที่มีชั้นความลับไมละเมิดการการ รปภ.

4.72 0.45 มากที่สุด

รวมเฉลี่ย 4.53 0.39 มากที่สุด

จากตารางที่ 13 พบวา ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศรภ.บก.ทท ดานความปลอดภัย ภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด ( = 4.53, SD = 0.43) เมื่อพิจารณารายขอ พบวา ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ เปนผูที่ใหความสําคัญในการปฏิบัติตองานที่มีชั้นความลับ ไมละเมิดการการ รปภ. ( = 4.72, SD = 0.45) รองลงมา คือ เปนผูที่ใหความสําคัญวางานดานความมั่นคงสมควรที่จะกําหนดชั้นความลับ และเปนผูที่ใหความสําคัญวาการกระจายขาวที่มีชั้นความลับควรจะจํากัดบุคคลและจํากัดขอมูลใหทราบเทาที่จําเปน ( = 4.64, SD = 0.48) ทุกขออยูในระดับมากที่สุด ยกเวน เปนผูที่ไมใหความสําคัญกับการกําหนดชั้นความลับของงานขาวเนื่องจากจะทําใหงานลาชาไมทันเวลาในการสงขาวใหกับผูบังคับบัญชา ( = 4.10, SD = 0.89) อยูในระดับมาก

Page 80: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

69

4.4 ผลการทดสอบสมมุติฐานในสวนนี้ผูศึกษาจะใชสถิติสหสัมพันธของเพียรสัน (Pearson’s Product Correlation) เพื่อ

ทดสอบความสัมพันธระหวางตัวแปรตนซึ่งการวิเคราะหขอมูลปรากฏผลวาสมรรถนะหลักในการทํางานแตละดานไมมีความสัมพันธกัน กลาวคือ สหสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระตองไมเกิน .65 จึงจะไมเปนการละเมิดขอจํากัดของการทดสอบถดถอยพหุคูณในการศึกษาตัวแปรที่มีอํานาจในการพยากรณขั้นตอไป ซึ่งไดผลดังตารางที่ 14

ตารางที่ 14 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางสมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

ตัวแปร A1 A2 A3 A4 A5

ความเสียสละ (A1)

1.000

ความมีคุณธรรม(A2)

.488** 1.000

ดํารงความถูกตอง/มีความรับผิดชอบ(A3)

.395** .562** 1.000

มุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน(A4)

.352** .345** .418** 1.000

การทํางานเปนทีม(A5)

.422** .319** .379** .327** 1.000

** Correlation is significant at the 0.01 level (2-tailed)

จากตารางที่ 14 พบวา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางตัวแปรตน 5 ตัวแปร มีนัยสําคัญทางสถิติทุกคา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธภายในระหวางตัวแปรตน มีคาอยูระหวาง .319 ถึง .562 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธภายในระหวางตัวแปรตนที่มีคาสูงที่สุด คือ การดํารงความถูกตอง/มีความรับผิดชอบ (r = .562) และคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธภายในระหวางตัวแปรตนที่มีคาต่ําสุด คือ การทํางานเปนทีม (r = .319) ดังนั้นผูศึกษาจึงมั่นใจวาตัวแปรจะไมเกิดปญหา Collinerity ระหวางตัวแปรอิสระจึงทําการทดสอบสมมุติฐานดวยสมการความถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis)

Page 81: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

70

ตารางที่ 15 แสดงตัวแบบจําลองสมการถดถอยพหุคูณ

Model R R Square Adjusted R SquareStd. Error of the

Estimate1 .578 .334 .328 .261512 .642 .412 .401 .246953 .663 .440 .425 .24204

Model 1 Predictors: (Constant), ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงานModel 2 Predictors: (Constant), ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน, ดานการดํารงความถูกตอง

มีความรับผิดชอบModel 3 Predictors: (Constant), ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน, ดานการดํารงความถูกตอง

มีความรับผิดชอบ, ดานการทํางานเปนทีม

จากตางรางที่15 แสดงผลการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regressions) โดยวิธี Stepwise ปรากฏวามีแบบจําลอง (Model Summary) ความสัมพันธระหวางตัวแปรสมรรถนะหลักที่มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานได ทั้งหมด 3 ตัวแบบ ซึ่งสามารถอธิบายความหมายได ดังนี้

ตัวแบบที่ 1 มีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณ (Multiple Regressions: R) เทากับ .578 ซึ่งตัวแปรดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานรอยละ 33.4 (R2 = .334) และมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานเทากับ .26151

ตัวแบบที่ 2 มีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณ (R) เทากับ .642 ซึ่งตัวแปรดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน การดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน รอยละ 41.2 (R2 = .412) และมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานเทากับ .24695

ตัวแบบที่ 3 มีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุคูณ (R) เทากับ .663 ซึ่งตัวแปรดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน การดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ และการทํางานเปนทีม มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน รอยละ 44.0 (R2 = .440) และมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานเทากับ .24204

Page 82: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

71

ตารางที่ 16 แสดงการวิเคราะหความแปรปรวนสองทางANOVA

ModelSum of Squares

dfMean

SquaresF Sig.

1 Regression Residual Total

3.7787.523

11.301

1110111

3.7780.068 55.239

0

2 Regression Residual Total

4.6536.647

11.301

2109111

2.3270.061 38.151

0

3 Regression Residual Total

4.9736.327

11.301

3108111

1.6580.059 28.298

0

จากตารางที่ 16 เปนการวิเคราะหความแปรปรวนเพื่อตรวจสอบวาตัวแปรอิสระในตัวแบบ (Model) สามารถใชพยากรณตัวแปรตามไดหรือไม โดยหากมีคานอยกวาคาระดับนัยสําคัญที่กําหนด คือ .05 แสดงวาตัวแปรอิสระมีอิทธิพลตอตัวแปรตาม และเมื่อพิจารณาจากตารางสามารถอธิบายได ดังนี้

ตัวแบบที่ 1 แสดงวาตัวแปรอิสระ 1 ตัว คือ ดานการมุงผลสัมฤทธิ์ของงาน มีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงาน เนื่องจากคา Sig. (.000) มีคานอยกวาระดับนัยความสําคัญที่กําหนด

ตัวแบบที่ 2 แสดงวาตัวแปรอิสระ 2 ตัว คือ ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน ดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ มีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงาน เนื่องจากคา Sig.(.000) มีคานอยกวาระดับนัยสําคัญที่กําหนด

ตัวแบบที่ 3 แสดงวาตัวแปรอิสระ 3 ตัว คือ ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน ดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ ดานการทํางานเปนทีม มีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานเนื่องจากคา Sig. (.000) มีคานอยกวาระดับนัยสําคัญที่กําหนด

Page 83: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

72

จากการวิเคราะหโดยนําตัวแปรอิสระ 3 ตัวเขาสมการ แลวทดสอบคาสหสัมพันธ ระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม หากไมพบนัยสําคัญทางสถิติก็จะขจัดออกจากสมการ แลวทดสอบตัวแปรที่เหลือตอไป จนกระทั่งสหสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระตามมีนัยสําคัญทางสถิติ

จากตัวแบบที่ 3 ขางตน ผูศึกษาไดวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุ (R) และคาสัดสวนความแปรปรวนที่อธิบายดวยสมการถดถอย (R2) พบวา ตัวแบบที่ 1 มีคา R เทากับ .578 และ R2 เทากับ.334 ตัวแบบที่ 2 มีคา R เทากับ.642 และ R2 เทากับ .412 ตัวแบบที่ 3 มีคา R เทากับ.663 และ R2 เทากับ.440 ผูศึกษาจึงเลือกตัวแบบที่ 3 และเพื่อใหเกิดความมั่นใจมากขึ้นจึงวิเคราะหตอไปถึงคาแปรปรวน (F) และคาสถิติ (t) พบวาตัวแบบที่ 3 แสดงใหเห็นถึงคาความแปรปรวน (F) มีคาเทากับ 28.298 และมีคานัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สามารถแปลความหมายไดวาชุดตัวแปรอิสระมีอิทธิพลตอตัวแปรตามอยางมีนัยสําคัญ

สรุปไดวา สมรรถนะหลักมีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานในตัวแบบที่ 3 ที่ถูกคํานวณดวยคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธพหุ (R) มีคาเทากับ .663 และเมื่อพิจารณาถึงสัดสวนความแปรปรวนที่อธิบายดวยสมการถดถอย (R2) มีคาเทากับ .440 แสดงใหเห็นวา ความแปรปรวนตามหรือประสิทธิผลการปฏิบัติงานถูกพยากรณโดยตัวแปรตนหรือสมรรถนะหลักการมุงเนนผลสัมฤทธิ์ของงาน การดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ และการทํางานเปนทีม อยางตอเนื่องเทากับรอยละ 66.3 สวนอีกรอย 33.7 ถูกพยากรณโดยตัวแปรอื่น

Page 84: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

73

ตารางที่ 17 แสดงผลการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณดวยวิธี Stepwise ตัวแปรที่ถูกนําเขาสมการ

Unstandardized Coefficients

Standardized Coefficients

ตัวแปร

B Std. Error BetaT Sig.

(Constant) 1.325 .349 3.795 .000

การมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน .359 .071 .412 5.093 .000

การดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ

.196 .064 .252 3.049 .003

การทํางานเปนทีม .156 .067 .186 2.338 .021

ตัวแปรที่ถูกคัดออก

ตัวแปร Beta In T Sig.Partial

Correlation

Collinearity Statistics Tolerance

ดานความเสียสละ .098 1.163 .247 .112 .735ความมีคุณธรรม .172 1.972 .051 .187 .661

จากตารางที่ 17 ผลการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์การถดถอยมาตรฐาน (Beta) โดยวิธีการคัดเลือกตัวแปรแบบ Stepwise ปรากฏวา ตัวแปรที่ถูกนําเขาสมการมีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานและปรากฏนัยสําคัญทางสถิติ (Sig.<.05) มีทั้งสิ้น 3 ตัว โดยตัวแปรที่มีความสัมพันธกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานและเปนไปในทิศทางเชิงบวก ไดแก การมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน (Beta = .412) และการทํางานเปนทีม (Beta = .252) และการทํางานเปนทีม (Beta = .186)

Page 85: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

74

สวนตัวแปรที่ถูกคัดออกจากสมการและไมเปนตามนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มีทั้งสิ้น 2 ตัวแปร ไดแก ดานความเสียสละ (Sig. = .247) ความมีคุณธรรม (Sig. = 0.51) แปลความหมายไดวา ความเสียสละ และความมีคุณธรรม ไมมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย จึงปฏิเสธสมมุติฐานที่ 2 และสมมุติฐานที่ 3

จากผลการทดสอบสมมุติฐาน สามารถสรุปไดวา การมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน การดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ และการทํางานเปนทีม มีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย รอยละ 66.3 และสามารถสรางเปนสมการถดถอยพหุคูณ ดังนี้

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน = 1.325 (Constant) + .359 การมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน +.196 การดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ +.156 การทํางานเปนทีม

b = .412

e = .337b = .252

b = .186 Model Fit F Sig.

R Square = .663 28.298 .000 แผนภาพที่ 3 แสดงตัวแบบการถดถอยพหุคูณของสมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

การมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน

การดํารงความถูกตองมีความรับผิดชอบ

การทํางานเปนทีม

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

Page 86: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

75

ตารางที่ 18 สรุปผลการทดสอบสมมุติฐาน

ผลการทดสอบสมมุติฐานสมมุติฐาน

ยอมรับ ปฏิเสธ

สมมุติฐานที่ 1 สมรรถนะหลักมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

สมมุติฐานที่ 2 สมรรถนะหลักดานความเสียสละ มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

สมมุติฐานที่ 3 สมรรถนะหลักดานความมีคุณธรรม มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

สมมุติฐานที่ 4 สมรรถนะหลักดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

สมมุติฐานที่ 5 สมรรถนะหลักดานการมุงในผลสัมฤทธิ์ของงาน มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สั งกัด กอง 6 ศูนย รักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

สมมุติฐานที่ 6 สมรรถนะหลักดานการทํางานเปนทีม มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

Page 87: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

76

บทที่ 5สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

การศึกษาเรื่อง สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย มีวัตถุประสงค 3 ประการ ดังนี้ประการแรกเพื่อศึกษาสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ประการที่สองเพื่อศึกษาประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย และประการสุดทายเพื่อศึกษาอิทธิพลของสมรรถนะหลักที่มีตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือ ขาราชการทหาร ระดับชั้นยศตั้งแต รอยตรี เรือตรี เรืออากาศตรี - รอยเอก เรือเอก เรืออากาศเอก รวมประชากรทั้งสิ้น 112 นาย จากผลการศึกษาสามารถสรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะไดดังตอไปนี้

5.1 สรุปผล5.2 อภิปรายผล5.3 ขอเสนอแนะ

5.1 สรุปผล5.1.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยางขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง พบวา สวนใหญเปนเพศชาย คิดเปนรอยละ 56.3 สวนใหญจบ

การศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเปนรอยละ 45.5 และสวนใหญมีระยะเวลาในการปฏิบัติงานมากกวา 25 ป คิดเปนรอยละ 37.5

Page 88: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

77

5.1.2 สมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

ผลการศึกษาสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการทองทัพไทยในภาพรวม พบวา อยูในระดับมากที่สุด ( = 4.41) สามารถเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ดังนี้ ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน ( = 4.53) ดานความมีคุณธรรม ( = 4.51) ดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ ( = 4.41) ดานการทํางานเปนทีม ( = 4.39) และดานความเสียสละ ( = 4.21) ตามลําดับ

5.1.3 ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาว ของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

ผลการศึกษาประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการทองทัพไทยในภาพรวม พบวา อยูในระดับมากที่สุด ( = 4.48) สามารถเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ดังนี้ ดานความปลอดภัย ( = 4.53) ดานความถูกตอง/ความออนตัว ( = 4.52) และดานความรวดเร็ว/ทันเวลา ( = 4.38) ตามลําดับ

5.1.4 การทดสอบสมมุติฐานสมมุติฐานที่ 1 สมรรถนะหลัก มีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานดานงานขาวของ

ขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย เปนไปตามสมมุติฐาน

สมมุติฐานที่ 2 สมรรถนะหลักดานความเสียสละ มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติ งานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ไมเปนไปตามสมมุติฐาน

สมมุติฐานที่ 3 สมรรถนะหลักดานความมีคุณธรรม มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติ งานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ไมเปนไปตามสมมุติฐาน

สมมุติฐานที่ 4 สมรรถนะหลักดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย เปนไปตามสมมุติฐาน

Page 89: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

78

สมมุติฐานที่ 5 สมรรถนะหลักดานการมุงในผลสัมฤทธิ์ของงาน มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชา การกองทัพไทย เปนไปตามสมมุติฐาน

สมมุติฐานที่ 6 สมรรถนะหลักดานการทํางานเปนทีม มีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย เปนไปตามสมมุติฐาน

สรุปผลการทดสอบสมมุติฐาน สมรรถนะหลักมีอิทธิพลตอสมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย โดยรวมพบวามีอิทธิพลเชิงบวกกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานในระดับมากที่สุด ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 สอดคลองกับสมมุติฐานที่ 1 4 5 และ 6 ซึ่งยอมรับได แตปฏิเสธสมมุติฐานที่ 2 และ 3

5.2 อภิปรายผลจากการศึกษาเรื่องสมรรถนะหลักกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการ

ทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย สามารถอภิปรายผลในประเด็นที่นาสนใจ ดังนี้

5.2.1 สมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

จากการศึกษาครั้งนี้ พบวา สมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ไดแก ดานความเสียสละ ดานความมีคุณธรรม ดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน และดานการทํางานเปนทีม ในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด ทั้งนี้เพราะภารกิจหลักในงานดานการขาว คือ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินแนวโนมของสถานการณที่อาจกอใหเกิดภัยคุกคามตอความมั่นคง และการรักษาความสงบเรียบรอยภายในประเทศ ซึ่งเปนงานที่ตอเนื่องและอาศัยความมีระเบียบในตัว การทํางานขาวนั้นจะตองมีความพยายาม กระตือรือรนในการปฏิบัติงานอยูตลอดเวลา เพื่อใหไดขาวและสามารถแกไขสถานการณไดอยางทันทวงที ขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทยทุกนายลวนถูกฝกดานความมีระเบียบวินัยและความเสียสละตั้งแตแรกเริ่มเขามาเปนทหาร จึงเปนผูที่มีสมรรถนะหลักครบถวนสมบูรณ ซึ่งสมรรถนะหลักนั้นถือเปนเครื่องมือกําหนดทิศทางการ

Page 90: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

79

ทํางานและการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันใหแกองคการตางๆ สมรรถนะจึงเปนปจจัยชวยพัฒนาศักยภาพของบุคลากร เพื่อสงผลไปสูการพัฒนาองคการไดเปนอยางดี สอดคลองกับแนวคิดของฐิติพัฒน พิชญาธาดาพงษ (2549 : 31 -32) ไดกลาวถึงความสําคัญของสมรรถนะวา เปนเครื่องมือชนิดหนึ่งที่มีความสําคัญตอการบริหารทรัพยากรบุคคล องคการชั้นนําตางไดนําเอาระบบสมรรถนะมาเปนพื้นฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลอยางเปนระบบตอเนื่อง เชน การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร การพัฒนาบุคลากร การประเมินผลการปฏิบัติงาน การพัฒนาความกาวหนาทางอาชีพ การวางแผนการสืบทอดตําแหนง การจายผลตอบแทน เปนตน ทําใหสามารถใชทรัพยากรไดอยางถูกทิศทางและคุมคากับการลงทุน นอกจากนี้ยังเปนการสรางมูลคาเพิ่มใหแกบุคลากรในองคการอีกแนวทางหนึ่งอีกดวย และสอดคลองกับการศึกษาของวันเพ็ญ นิลนารถ (2553) ที่ศึกษาเรื่อง สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน พบวา สมรรถนะหลักในภาพรวมอยูในระดับมาก โดยดานการมุงเนนผลสัมฤทธิ์ มีคาเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ดานการใหบริการ ดานคุณธรรมและจริยธรรม และดานการทํางานเปนทีมตามลําดับ ดังนั้นขาราชการทหารควรทราบและเขาใจถึงระดับสมรรถนะหลักของตนเอง เพื่อสรางความพรอมในการพัฒนาขีดความสามารถและศักยภาพของตนเอง ตามแนวทางการบริหารภาครัฐยุคใหมที่ทํางานโดยยึดผลลัพธ ความคุมคา ความรับผิดชอบ และตอบสนองตอความตองการของสังคมและประชาชน เมื่อพิจารณาสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทยทั้ง 5 ดาน เรียงลําดับจากมากไปหานอย ผูศึกษาสามารถอภิปรายผลไดดังนี้

1. ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน จากการศึกษาพบวา สมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับมากที่สุด เนื่องจากวาขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย สวนใหญใหความสําคัญในการปฏิบัติงานติดตามสถานการณตางๆ อยางตอเนื่อง ทั้งที่เปนเรื่องที่ติดตามเปนประจําและเรื่องอื่นๆ ที่คาดวาอาจจะมีความเกี่ยวของกัน การปฏิบัติงานดานงานขาวเปนเหมือนการทํางานที่ไมรูจักสิ้นสุด ตองติดตามความเคลื่อนไหวของฝายตรงขาม และบางครั้งก็ตองติดตามความเคลื่อนไหวของฝายตนเองดวย การทํางานขาวนั้นจะตองมีความพยายามหรือกระตือรือรนในการปฏิบัติงานอยูตลอดเวลา เพื่อใหไดขาวและสามารถแกไขสถานการณไดอยางทันทวงที สมรรถนะหลักดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน จึงเปนสวนหนึ่ง ในการสนับสนุนใหขาราชการทหาร ที่ปฏิบัติหนางานดานงานขาวตองมีความมุงมั่น และพัฒนาตนเองใหมีทักษะในการปฏิบัติงาน อาทิ เชน การปรับตัวใหเขากับชาวบาน การเรียนภาษาเพิ่มเติมเพื่อเปนความรู

Page 91: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

80

การเรียนรูธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมตางๆ ของประชาชนในพื้นที่นั้นๆ ตลอดจนการเรียนรูที่จะใชเครื่องมือตางๆที่ทันสมัย สอดคลองกับผลการศึกษาของมนตรี เทพทวี (2550 อางถึงใน ชอทิพย วรรณมาศ, 2552: 107) พบวา ครูมีความตองการพัฒนาสาระความรู ดานมาตรฐานการมุงมั่นผลสัมฤทธิ์ และหนวยงานมีการกําหนดเกณฑวัดผลสัมฤทธิ์ เพื่อเปนมาตรฐานในการทํางานใหขาราชการมีการพัฒนาตนเองใหมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานมากขึ้น

2. ดานความมีคุณธรรม จากการศึกษาพบวา สมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานความมีคุณธรรม เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับมากที่สุด เนื่องจากขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทยสวนใหญเปนผูที่แสดงความคิดเห็นของตนเองอยางเปดเผยตรงไปตรงมา ไดรับการปลูกฝงใหเปนผูที่มีคุณธรรม ปฏิบัติหนาที่ดวยความโปรงใส ซื่อสัตย สุจริต ถูกตองตามหลักกฎหมาย จริยธรรม มีระเบียบวินัย อีกทั้งยังมีจิตสํานึกและมีความภาคภูมิใจในอาชีพทหาร อยูดวยกันอยางพี่นองและปกครองผูใตบังคับบัญชาบนพื้นฐานความถูกตองและเปนธรรม รวมไปถึงการใหความสําคัญเกี่ยวกับการสอดสองดูแลมิใหมีการเปดเผยขอมูลหรือความลับของหนวยงาน การรักษาผลประโยชนของชาติ การเห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตน ความมีคุณธรรมจึงเปนสมรรถหลักที่ทหารทุกคนพึงมีอยูในจิตสํานึกทุกคน ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของวันทนา ถิ่นกาญจน (2539) และพัชมณ เทียนศรี (2547 อางถึงใน ชอทิพย วรรณมาศ, 2552: 107) สมรรถนะภาวะผูนํา ประกอบดวยสมรรถนะเชิงจริยธรรม หรือธรรมาภิบาล

3. ดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ จากการศึกษาพบวา สมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับมากที่สุด เนื่องจากขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทยนั้น เปนผูที่ยินดีรับผิดชอบผลจากการตัดสินใจของตนเองทั้งทางบวกและทางลบ พรอมยินดีใหตรวจสอบการกระทําหรือผลงานนั้น หากการทํางานเกิดความผิดพลาดก็พรอมยอมรับและรวมดําเนินการปรับปรุงแกไข อีกทั้งยังสนับสนุนใหขาราชการทหารในหนวยมีจิตสํานึกและพฤติกรรมที่ยึดมั่นในความถูกตองพรอมรับผิดชอบในการกระทําเชนเดียวกัน นอกจากนี้ ขาราชการทหารสังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทยตางก็เปนผูที่แสดงความคิดเห็นของตนอยางเปดเผย ตรงไปตรงมาไมเกรงกลัวในสิ่งที่ไมถูกตอง จึงทําใหสมรรถนะดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ มีสมรรถนะอยูในระดับมากที่สุด ซึ่งสอดคลองกับสํานักงานกรุงเทพมหานคร (2559) ที่ไดกําหนดสมรรถนะหลักของขาราชการกรุงเทพมหานคร

Page 92: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

81

ไววาขาราชการของกรุงเทพมหานครตองเปนผูประพฤติปฏิบัติตนถูกตองตามหลักคุณธรรม จริยธรรม มีความสํานึก ดํารงความถูกตอง และความรับผิดชอบตอตนเอง ตลอดจนวิชาชีพของตน เพื่อธํารงรักษาศักดิ์ศรีแหงอาชีพขาราชการ

4. ดานการทํางานเปนทีม จากการศึกษาพบวา สมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานการทํางานเปนทีม เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับมากที่สุด นั่นแสดงใหเห็นวา ขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย เปนผูที่มีทักษะในการทํางานรวมกับกลุมคนที่หลากหลายไดเปนอยางดี เปนผูที่แสดงบทบาทผูนําหรือผูตามไดอยางเหมาะสม แมวาแตละบุคคลจะมีความสามารถเฉพาะตนที่หลากหลายทั้งดานเทคนิค การบริหารจัดการ การศึกษา ความสามารถทางดานภาษา แตเพื่อใหการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย เปนไปในทิศทางเดียวกัน ในการตอบสนองความตองการของผูบังคับบัญชาในระดับตางๆ เพื่อใชเปนขอมูลในการวางแผนทางยุทธศาสตรเกี่ยวกับดานความมั่นคงของประเทศ เปนที่ทราบกันดีวาขาราชการทหารมีการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันปฏิบัติหนาที่อยูเปนประจํา ซึ่งในแตละบุคคลสามารถที่จะปฏิบัติหนาที่แทนกันได เนื่องจากขาราชการทหารที่ปฏิบัติงานดานงานขาวจะตองมีการผลัด เปลี่ยนกันเขาเวรทํางานตลอด 24 ชม. การปฏิบัติงานดานงานขาวใหสําเร็จตามเปาหมายนั้น ไมสามารถที่จะทําไดเพียงลําพัง จึงจําเปนตองมีการติดตอประสานงานกับหลายๆ หนวยเพื่อทํางานรวมกัน รวมทั้งการสงขอมูลตางๆ ใหกับผูที่เกี่ยวของและผูบังคับบัญชาระดับตางๆ การทํางานเปนทีมจึงตองมีความสามัคคี ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น อยางไรก็ตามการทํางานขาวจะตองไดขอมูลที่ถูกตองและแมนยําที่สุด การยึดถือกรอบการปฏิบัติและเปาหมายของงานรวมกันนี้ จึงเปนสิ่งที่ตองสงเสริมและจูงใจใหขาราชการทหารมีความรวมแรงรวมใจในการทํางานเพื่อใหผลสําเร็จของงานไมถึงจุดมุงหมายที่กําหนดไว ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของบุษยมาศ แสงเงิน (2559) ไดใหความหมายของคําวา การทํางานเปนทีม หมายถึง ความตั้งใจที่จะทํางานรวมกับผูอื่น เปนสวนหนึ่งของทีม หนวยงานหรือสวนราชการ โดยผูปฏิบัติมีฐานะเปนสมาชิก ไมจําเปนตองมีฐานะหัวหนาทีม รวมทั้งความสามารถในการสรางและรักษาสัมพันธภาพกับสมาชิกในทีม และสอดคลองกับผลงานวิจัยของชอทิพย วรรณมาศ (2552) พบวา สมรรถนะหลักดานความรวมมือรวมใจของขาราชการทหาร กรมยุทธบริการทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย มีคาเฉลี่ยมากที่สุด

5. ดานความเสียสละ จากการศึกษาพบวา สมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ดานการทํางานเปนทีม เฉลี่ยรวมแลวอยูในระดับ

Page 93: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

82

มากที่สุด เนื่องจากวาขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ถูกปลูกฝงดานความมีระเบียบวินัยและความเสียสละตั้งแตแรกเริ่มเขามาเปนทหาร นายทหารทุกนาย จะตองผานการฝกอบรมเรื่องระเบียบวินัยและความเสียสละ ทําใหขาราชการทหารทุกนายลวนเปนผูที่ยินดีเสียสละประโยชนสวนนอยของตนเพื่อประโยชนสวนใหญของสวนรวม ซึ่งการเสียสละไมใชวาเสียสละเพียงแคความสุข หรือประโยชนสวนตนเทานั้น แตยังเสียสละใหไดแมกระทั่งชีวิตและเลือดเนื้อ อีกทั้งถางานในหนาที่ของตนมีปญหา ก็มักจะเปนคนแกไขปญหาเหลานั้นใหสําเร็จ ถึงแมจะเกินเวลาราชการก็ตาม หากงานนั้นยังไมสําเร็จ ก็พรอมที่จะทุมเททํางานอยางเต็มความสามารถ ใหงานนั้นสําเร็จลุลวงไปดวยดี และพรอมทั้งทํางานที่ไดรับมอบหมายอยางเต็มความสามารถถึงแมจะเปนงานที่ยากก็ตาม สอดคลองกับแนวคิดของอมรรัตน ทิพยเลิศ (2548) กลาววา สมรรถนะหลัก จําเปนตองมีคุณสมบัติในเรื่องความเสียสละเปนประการแรก ปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดีแกผูใตบังคับบัญชา ซึ่งเปนลักษณะของผูนําอยางหนึ่งที่จะทําใหผูใตบังคับบัญชาเชื่อมั่นและปฏิบัติตามอยางเต็มใจ

5.2.2 ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

จากการศึกษาครั้งนี้ พบวา ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ไดแก ดานความปลอดภัย ดานความถูกตอง/ความออนตัว และดานความรวดเร็ว/ทันเวลา ในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทยทั้ง 3 ดาน เรียงลําดับจากมากไปหานอย ผูศึกษาสามารถอภิปรายผลไดดังนี้

1. ดานความปลอดภัย จากการศึกษาพบวา ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานขาวดานความปลอดภัยของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากที่สุด เนื่องจากเปนที่ทราบกันวาการรักษาความปลอดภัยทางทหารนั้นมีดวยกันหลายอยาง อาทิ เชน การรักษาความปลอดภัยบุคคล เอกสาร สถานที่ การสื่อสารทุกกระบวนการในการปฏิบัติงานดานงานขาวจะตองมีการรักษาความปลอดภัยอยางตอเนื่องและตลอดเวลาทุกขั้นตอน ตั้งแตเริ่มปฏิบัติภารกิจจนถึงสิ้นสุดภารกิจ ซึ่งขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทยทุกนาย ลวนถูกปลูกจิตสํานึกใหรักในสถาบัน ปฏิบัติหนาที่และเก็บความลับของสถาบันอยางเครงครัด ไมปลอยใหขาวรั่วไหลไปจนถึงฝายตรงขาม

Page 94: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

83

ไดทราบความเคลื่อนไหวของฝายเรา ขาราชการทหารสวนใหญจึงใหความสําคัญดานความปลอดภัยเปนหลัก การปฏิบัติงานดานงานขาวปจจุบันจะไดเห็นวา มีทั้งขาวจริงและขาวลวง จากเทคโนโลยีที่ทันสมัยทําใหการติดตอสื่อสารทําไดอยางรวดเร็ว งานขาวจึงเปนงานที่ตองติดตามสถานการณตางๆ อยางตอเนื่อง อาจจะชาบางเร็วบางแลวแตเหตุการณ ตลอดจนการเก็บขอมูลไวเปนฐานขอมูลเพื่อเชื่อมโยงเรื่องราวตางๆ อาทิเชน เรื่อง ปราสาทเขาพระวิหารจะเห็นไดวามีความเชื่อมโยงมาตั้งแตป 2505 เปนตนมา แตทางดานงานขาวก็ยังคงตองติดตามสถานการณในพื้นที่รับผิดชอบเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวตางๆ อาทิเชน การเคลื่อนยายกําลัง การปลูกสิ่งกอสราง การไปมาของประชาชนของทั้งสองประเทศ ตลองจนสิ่งบอกเหตุตางๆของฝายตรงขาม ซึ่งเราก็ตองสงเจาหนาที่เขาไปทํางานเพื่อที่จะไดขอมูลมาอยางไมใหฝายตรงขามรูตัววาเรากําลังทําอะไรอยู โดยที่เราตองปกปดขอมูลฝายเราเกี่ยวกับกําลังพล อาวุธยุทโธปกรณ การเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงกําลัง การเขาเวร ผลัดเปลี่ยนเวร มีคาย หรือปอมตั้งอยูที่ไหนบาง เราจําเปนตองปกปดเพื่อมิใหฝายตรงขามประเมินสถานการณของฝายเราได นี่ก็เปนตัวอยางเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยอยางหนึ่งของทางทหาร เมื่อไดขอมูลความเคลื่อนไหวตางๆ ที่ฝายตรงขามกําลังปฏิบัติก็จะตองสงขอมูลใหกับผูบังคับบัญชาซึ่งในการสงขอมูลนั้น โดยจะตองจํากัดใหทราบเทาที่จําเปน หมายความวา บุคคลที่ไมมีสวนเกี่ยวของจะตองไมทราบขอมูลนั้นอยางเด็ดขาดเพื่อปองกันการรั่วไหลของขอมูลขาวสารนั้น ซึ่งในเอกสารอาจจะมีการกําหนดชั้นความลับซึ่งการกําหนดชั้นความลับก็จะตองมีระเบียบในการปฏิบัติตอขอมูลขาวสารลับนั้นตามระเบียบดวย สอดคลองกับนโยบายการปฏิบัติงานของกองทัพบกประจําป 2559 (2558) กลาววา นโยบายเฉพาะดานการขาวของกองทัพบก คือ จะตองดําเนินการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับบุคคล เอกสาร และสถานที่ ใหเปนไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ.2552 และระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 โดยเครงครัด รวมทั้งพัฒนาระบบรักษาความปลอดภัยในหนวยงานทุกระดับ ดวยการนําความกาวหนาทางเทคโนโลยีมาบูรณาการรวมกับขีดความสามารถของกําลังพล และมีการอบรมกําลังพลที่เกี่ยวของตามความจําเปน มีการสํารวจและทบทวนมาตรการรักษาความปลอดภัย สําหรับการตอตานการขาวกรองเชิงรุก มุงเนนการตรวจสอบ และติดตามพฤติกรรมบุคคล อาทิ กําลังพลและครอบครัว ที่ตองสงสัย เปนภัยคุกคามตอหนวย รวมทั้งชุมชนโดยรอบหนวยทหารของกองทัพบก และสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการ สํานักขาวกรองแหงชาติ (2558) กลาววา เจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานในดานการรักษาความปลอดภัย เกี่ยวกับบุคคล ขอมูลขาวสาร สถานที่ การอารักขาบุคคลสําคัญ ตลอดจนการใหคําแนะนําใหความรูเรื่องการรักษาความปลอดภัยแกหนวยงานทั้งภายในและภายนอก รวมทั้งเจาหนาที่

Page 95: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

84

ที่สนับสนุนงานดานการรักษาความปลอดภัย จะตองเปนผูที่มีความรู ความสามารถเปนอยางดี เกี่ยวกับหลักการและวิธีการทํางานในสายงานที่รับผิดชอบ โดยเฉพาะความรูเกี่ยวกับระเบียบวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ.2517 ระเบียบวาดวยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544และ พ.ร.บ.ขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 ตลอดจนมีความรูอยางกวางๆเกี่ยวกับประมวลกฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของกับการทํางาน

2. ดานความถูกตอง/ความออนตัว จากการศึกษาพบวา ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานขาวดานความถูกตอง/ความออนตัวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากที่สุด เปนผลมาจากในการหาขาวและการรายงานขาวใหกับผูบังคับบัญชาทราบนั้น ขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย จะตองมีการประเมินขาวโดยเจาหนาที่ที่มีสวนเกี่ยวของในหนาที่นั้นๆ ซึ่งในการทํางานขาวเราจะตองทํางานอยางเปนระบบ ทั้งนี้จะตองมีการวางแผนในการทํางาน โดยจะตองมีการกําหนดความตองการขาวกรอง ความเรงดวนของขาวกรอง สิ่งบอกเหตุที่เกี่ยวกับขาวนั้น เชน สถานการณรองรอย หรือการบอกใบเกี่ยวกับขาศึกและพื้นที่ปฏิบัติการ การสงคําสั่ง คําขอไปใหกับหนวยที่ขึ้นตรงและหนวยที่ตองการใหชวยหาขอมูล สําหรับเจาหนาที่การขาวจะตองพิจารณาในการใชแหลงขาวใหไดขาวสารตามตองการ ซึ่งการรวบรวมขาวสารเราสามารถจะรวบรวมไดจากแหลงขาวสาร อาทิ เชน การลาดตระเวน การเฝาตรวจติดตามสถานการณ การใชผูใหขาว การซักถาม การสัมภาษณ ทหารขาศึก เอกสารและยุทโธปกรณที่ยึดได ผูหลบหนี และประชาชนในพื้นที่นั้น โดยเจาหนาที่รวบรวมขาวสาร อาจจะเปนบุคคลหนวยเครื่องมือ ซึ่งรวบรวมและดําเนินการตอขาวสารกิจกรรมและพฤติการณตางๆ ในการรวบรวมขาวสาร อาทิ เชน การลาดตระเวน การเฝาตรวจดาน การจัดเวรยาม การใชผูใหขาว การสืบสวนจากเชลย โดยเจาหนาที่รวบรวมขาวสารทางทหาร ไดแก ผูชํานาญการขาวกรอง หนวยทหารในพื้นที่ หนวยพิเศษ ซึ่งเหลาทหารทุกเหลาและหนวยทหารทุกหนอย สามารถเปนเจาหนาที่รวบรวมขาวสารไดทั้งนั้น ทั้งนี้เราจะตองพิจารณาถึงหลักในการหาแหลงขาว อาทิ เชน แหลงขาวที่จะหาขาวให เชน บุคคลหรือหนวยความนาเชื่อถือไดของแหลงขาว ความสัมพันธระหวางแหลงขาวกับเจาหนาที่รวบรวมขาวสาร ความสามารถของแหลงขาวและสภาวะที่เปนอยูเคยไดรับขอมูลขาวสารจากแหลงขาวนี้มากอนหรือไม และขอมูลอื่นๆ เกี่ยวกับแหลงขาว เชน มูลเหตุจูงใจของแหลงขาว ซึ่งมีเจาหนาที่ผูประเมินงานขาวก็จะตองดูดวยวา แหลงขาวนั้นมีความนาเชื่อถือมากนอยนอยเพียงใด และเจาหนาที่ที่รวบรวมขาวสารนั้นมีความนาเชื่อถือมากนอยเพียงใด โดยพิจารณาจากสภาพที่เปนอยูในขณะนั้น (วัน เวลา สถานที่) เครื่องมือ เครื่องใช วิสัยทัศน การเขาถึง

Page 96: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

85

เปาหมายของเจาหนาที่ และสภาวะแวดลอมอื่นๆที่ เกี่ยวของ เมื่อไดขาวมาแลวก็จะตองนําขาวนั้นมาตีความ คือ การกําหนดหาความสําคัญของขาวสารที่ไดรับมาใหม เมื่อนําไปพิจารณารวมกับขาวกรองทั้งมวลที่มีอยูเดิม การตีความจะเปนการตอบคําถามที่วา “ขาวสารนั้นมีความหมายอยางไร” โดยเกี่ยวกับสถานการณแนวทางปฏิบัติที่จะกระทําของขาศึก โดยนําขาวนั้นมาทําการวิเคราะห (Analysis) การตรวจขาวสารที่ประเมินคาเพื่อหาความหมายหรือความสําคัญ โดยอาศัยเรื่องราวที่ทราบมูลฐานในการแยกสาระสําคัญของขาวสารออกเปนสวนๆ เพื่อดําเนินการตรวจสอบสวนประกอบแตละอันของสาระสําคัญ จากนั้นทําการสนธิกรรม (Integation) คือการรวบรวมขอมูลตางๆ เขาเปนรูปเปนรางที่มีความหมาย และเปนการสรางพื้นฐานใหกับการอนุมาน การดําเนินการสนธิกรรม เปรียบเสมือนกับปญหา “การตอภาพ” โดยรอยตอชิ้นใหมสนธิเขากับรอยตอที่ขาดอยูแลว จะทําใหผูตอภาพมองเห็นภาพไดอยางชัดเจน และการอนุมาน (Deduction) คือ การใหความหาย / ขอสรุป / ขอยุติ ของผลที่เกิดขึ้นจากการวิเคราะห และสนธิกรรมจากขาวสาร ความเปนไปไดของหนทางปฏิบัติขาศึก ซึ่งความถูกตองของงานขาวนั้นเราจะตองพิจารณาถึง ขาวสารที่ไดรับรายงานเปนความจริงหรือเหตุการณตามรายงานนั้นมีทางเปนไปไดทั้งหมดหรือไมเพียงใด ขาวสารนั้นสอดคลองหรือยืนยันกับสถานการณทางยุทธวิธีและหลักนิยมทางยุทธวิธีของขาศึกที่ทราบขอมูลอยู เดิมหรือไม ขาวสารนั้นยืนยันหรือสอดคลองกับขาวสารที่ไดรับจากเจาหนาที่อื่นๆหรือไม และรายงานนั้นลงตัวหรือขัดแยงกับขาวกรองที่มีอยูแลวหรือไม สอดคลองกับสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (2552) ไดกลาวไววา ปจจัยที่เปนตัวกําหนดประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน คือ ความถูกตองในการทํางาน ซึ่งเปนความพยายามที่จะปฏิบัติงานใหถูกตองครบถวนตลอดจนลดขอบกพรองที่อาจจะเกิดขึ้น รวมทั้งพยายามใหเกิดความชัดเจนขึ้นในบทบาทหนาที่ กฎหมาย ระเบียบการขอบังคับขั้นตอนปฏิบัติตางๆ

3. ดานความรวดเร็ว/ทันเวลา จากการศึกษาพบวา ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานขาวดานความรวดเร็ว/ทันเวลาของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการ กองทัพไทย มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากที่สุด ทั้งนี้เพราะวาขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ที่ปฏิบัติงานดานงานขาวนั้น จะทราบดีวาขาวสารหรือขาวกรองนั้นไมวาจะสําคัญและจริงมากแคไหนจะไมมีความสําคัญและไมมีประโยชนเลยหากไมสามารถสงตรง ถึงมือผูใชไดอยางทันเวลา สอดคลองกับความเรงดวน และถึงมือผูใชไดทันเวลาที่จะใชวางแผน และปฏิบัติไดตามภารกิจ ซึ่งความเร็วและทันเวลานี้อยูภายใตการกระจายและการใชขาวกรอง คือ การสงหรือการนําเสนอขาวกรองใหกับผูบังคับบัญชาใหทันเวลา ในรูปแบบที่เหมาะสมและปลอดภัย ซึ่งประกอบดวย การพบปะ (Person Contacts) ไดแก การบรรยายสรุป การประชุม การพบปะเปน

Page 97: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

86

วิธีการกระจายขาวสารขาวกรองที่ดีที่สุด เนื่องจากผูผลิตและผูใชไดพบกันมีโอกาสซักถามขอสงสัยหรือปญหาตางๆ เพื่อความกระจางในการใชประโยชนไดดี แตก็มีขอเสียตรงไมสามารถพบปะกันไดบอยครั้ง หรือไมมีเวลาในการพบปะ การสงเปนขาว (News) อาจเปนขอเขียนหรือวาจาโดยปกติการกระจายโดยเครื่องมือที่มีความเร็วที่สุด อยางไรก็ตามวิธีการกระจายขาวกรองนี้ มีขอเสียประการหนึ่งคือ ขาดรายละเอียด ไมเหมือนการกระจายดวยการพบปะ หรือแบบเอกสารขาวกรอง สําหรับเอกสารขาวกรอง (Intelligence Documents) การสงเปนเอกสารนับวาไดประโยชน เพราะเปนการเสนอขาวกรองไดละเอียดเปนเรื่องเปนราวไดสะดวก ในการพิจารณาขอเสีย คือ ตองใชกรรมวิธีในการผลิตนาน และอาจไมทันเวลาและตองใชฝายอํานวยการจํานวนมาก ในการปฏิบัติงานขาวนั้น สอดคลองกับสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (2552) ไดกลาววา ความสําเร็จตรงเวลาในการทํางาน คือความสามารถในการบริหารเวลาของแตละบุคคล บุคคลจะสามารถบริหารเวลาไดดีจะตองมีความรู ความเขาใจและความสามารถในการจัดลําดับความสําคัญเกี่ยวกับภารกิจที่ตองปฏิบัติไดอยางเหมาะสมการทํางานเสร็จตามเวลาที่กําหนดเปนสิ่งที่ปรารถนาของทุกหนวยงาน ซึ่งบุคคลที่ประสบความสําเร็จจะตองเปนบุคคลที่ตรงตอเวลา ซึ่งเปนปจจัยที่สําคัญที่เปนตัวกําหนดประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

5.2.3 อิทธิพลของสมรรถนะหลักที่มีตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

จากการศึกษาสมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย พบวา สมรรถนะหลักสามารถพยากรณประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาว ของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชากรกองทัพไทย ไดรอยละ 44.00 ซึ่งถือวามีอิทธิพลตอการพยากรณอยูในระดับที่กําหนดไว โดยตัวแปรที่มีอํานาจในการพยากรณมีประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ไดแก ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน (Beta = .412) ดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ (Beta = .252) ดานการทํางานเปนทีม (Beta = .186) ตามลําดับ โดย 3 ตัวแปรสามารถรวมกันพยากรณประสิทธิผลการปฏิบัติงานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีคาสัมประสิทธิ์และมีคาสัมประสิทธิ์ความถดถอยมาตรฐาน (Beta) เปนบวก แสดงใหเห็นวามีความสัมพันธกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานในทิศทางบวก คือ เมื่อตัวแปรพยากรณมีระดับเพิ่มขึ้น ตัวแปรตามก็จะมีระดับเพิ่มขึ้นตามไปดวย

Page 98: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

87

จากผลการศึกษา สามารถอธิบายผลในแตละตัวแปรที่มีอํานาจในการพยากรณประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย โดยเรียงจากมากไปหานอย ดังนี้

1. ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน จากการศึกษาพบวา สมรรถนะหลักดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน สามารถพยากรณประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพ ไดในระดับมากที่สุด (Beta = .412) ทั้งนี้เพราะวาการปฏิบัติงานดานงานขาวเปนงานที่ทาทาย ชวนใหคิด อยากรูอยากเห็น ตองมีการติดตามสถานการณตางๆ ตามที่ไดรับมอบหมายจากผูบังคับบัญชาอยูเสมอ การปฏิบัติการดานงานขาวมีหลายหนวยงานที่ปฏิบัติจะตองหาขอมูลแขงขันกันเพื่อใหไดขอมูลที่รวดเร็ว ถูกตอง และมีความปลอดภัยมากที่สุด ถึงแมวาการปฏิบัติงานขาวจะใชความเสี่ยงในการออกหาขาว แตเพื่อความมั่นคงของประเทศ ขาราชการทหารที่ปฏิบัติงานดานการขาวก็ไดอุทิศแรงกายและแรงใจในการผลักดันใหภารกิจที่รับผิดชอบประสบความสําเร็จใหบรรลุวัตถุประสงคขององคการใหไดมากที่สุด อยางไรก็ตามขาราชการทหารที่ปฏิบัติงานดานการขาวก็ยังคงตองปฏิบัติภารกิจอยางตอเนื่องทั้งยามปกติและยามสงคราม อาทิ เชน การติดตามขาวสารความเคลื่อนไหวของประเทศตางๆ โดยทั่วไปแลวจะติดตามในแบบขาวกรองยุทธศาสตร คือ ติดตามทางดานภูมิศาสตร เศรษฐกิจ ชีวประวัติของผูนําดานสังคมจิตวิทยา การทหาร การเมืองการปกครอง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การขนสงและโทรคมนาคม การติดตามเหลานี้จะสามารถใหผูบังคับบัญชา และฝายเสนาธิการสามารถนํามาวิเคราะหเปนจุดออนและจุดแข็งของฝายตรงขามได อาทิ เชน เวียดนามซื้อเรือดําน้ําเขามาประจําการที่ใดบาง มีจํานวนกี่ลํา เรือดําน้ํานั้นมีศักยภาพอยางไรบาง ซื้อมาจากที่ใด ซื้อมาจริงๆ หรือไดรับการสนับสนุนเขามา ขณะนี้เวียดนามกําลังมีขอพิพาทเรื่องอะไรกับใครบาง ทาทีของผูนําเปนอยางไร งานขาวทําใหขาราชการทหารมีความรู มีทักษะในการปฏิบัติงานขาว มีการเก็บสะสมความเฉพาะตัวเมื่อปฏิบัติงานไปนานๆ ก็จะทําใหมีทักษะ ซึ่งก็จะเปนสมรรถนะอยางหนึ่งของขาราชการทหารแตละนาย ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของวิลัยภรณ แยมสวน (2552 : 15) ไดกลาวไววา สมรรถนะ คือ ความรู ทักษะ และพฤตินิสัยที่จําเปนตอการทํางานของบุคคลใหประสบผลสําเร็จสูงกวามาตรฐานทั่วไป ซึ่งประกอบดวย ความรู ทักษะ และพฤตินิสัยที่พึงปรารถนา คือสิ่งที่องคการตองการให“เปน” เชน ความใฝรู ความซื่อสัตย ความรักในองคการ และความมุงมั่นในความสําเร็จ สิ่งเหลานี้จะอยูลึกลงไปในจิตใจตองปลูกฝงสรางยากกวาความรูและทักษะ

Page 99: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

88

2. การดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ จากการศึกษาพบวา สมรรถนะหลักดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ สามารถพยากรณประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ไดในระดับมากที่สุด (Beta = .278) เนื่องจากขาราชการทหารมุงปฏิบัติหนาที่เพื่อประเทศชาติ เพื่อปกปองประเทศชาติใหพนจากภัยคุกคามตางๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ การปฏิบัติหนาที่ตางๆ จึงมีความจําเปนที่จะตองมีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานและการออกคําสั่งตางๆ บางครั้งการปฏิบัติงานเสี่ยงอยูระหวางความเปนกับความตาย การตัดสินใจดํารงไวซึ่งความถูกตอง มีความรับผิดชอบในหนาที่ที่ปฏิบัติอยูของทหาร จึงนับวาเปนสมรรถนะหลักที่มีความจําเปนอยางยิ่ง การแสดงออกเนื่องจากในปจจุบันอยูในระหวางการยึดอํานาจได นายกรัฐมนตรีมาจากทหารจะเห็นไดวาทหารเขามีบทบาทอยางมากในการรับผิดชอบจึงนับวาเปนสมรรถนะที่สําคัญอยางยิ่งของทหารในยุคนี้ ไมวาทหารในหนวยงานใด ทหารนอกจากจะปฏิบัติงานในงานประจําแลวก็ตองออกไปปฏิบัติหนาที่มวลชนสัมพันธกับประชาชนเพื่อปรับทัศนะคติของประชาชนใหมีความเห็นพรองตามกันกับการปฏิบัติของผูนําประเทศ โนมนาวจิตใจประชาชนใหแกประโยชนของประเทศชาติมากกวาประโยชนสวนตนที่ไดจากนักการเมือง สอดคลองกับผลการศึกษาของวันเพ็ญ นิลนารถ (2553) พบวา ขาราชการกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน ตางยึดหลักความถูกตอง ความรวดเร็ว และมีความพรอมรับผิดชอบ ก็เพื่อใหการทํางานสามารถสัมฤทธิ์ผลและสามารถสนองตอบตอความพึงพอใจแกประชาชน

3. ดานการทํางานเปนทีม จากการศึกษาพบวา สมรรถนะหลักดานการทํางานเปนทีม สามารถพยากรณประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาว ของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ไดในระดับมากที่สุด (Bate = .239) เนื่องจากขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย มีความรวมแรงรวมใจกันดีในการปฏิบัติงาน สามารถที่จะปฏิบัติหนาที่แทนกันได หากมีผูหนึ่งผูใดติดภารกิจหรือเกิดเจ็บปวยกะทันหัน สวนหนึ่งสืบเนื่องมาจากขาราชการทหารสวนใหญปฏิบัติหนาที่มานานรูจักกันมาหลายป ปฏิบัติงานในหลายๆ สถานที่แตงานที่ปฏิบัติไมมีความแตกตางกันมาก แตละนายมีน้ําใจชวยเหลือเผื่อแผตอกัน ใหความเคารพซึ่งกันและกัน จึงไมเปนการแปลกที่จะสามารถทํางานเปนทีมสนับสนุนชวยเหลือกัน โดยคํานึงถึง เปาหมาย และภารกิจของหนวยเปนหลัก ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของศุภมิตร พินิจการ (2552) พบวา สมรรถนะหลักดานการทํางานเปนทีม มีความสัมพันธและผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการทํางาน

Page 100: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

89

ถึงแมวาในการวิเคราะหตัวแปรสมรรถนะหลักครั้งนี้พบวามี 2 ตัวแปรที่ไมสามารถนํามาพยากรณประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษา ความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทยได คือ ดานความเสียสละ และดานความมีคุณธรรม ทั้งนี้เพราะสมรรถนะหลักทั้ง 2 ดาน เปนสมรรถนะที่เกี่ยวของกับตนเอง สวนที่สงผลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานนั้นจะเปนสมรรถนะที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานทั้งนั้นไมวาจะเปน การดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ การมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน และการทํางานเปนทีม อยางไรก็ตามในดานความเสียสละและความมีคุณธรรม แมจะไมมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร แตดวยขาราชการทหาร มีปณิธานที่จะมุงปฏิบัติหนาที่ดวยความโปรงใส ซื่อสัตยสุจริต ถูกตองตามกฎหมาย จริยธรรมและกฎระเบียบวินัย มีจิตสํานึกและความภาคภูมิใจในความเปนขาราชการทหาร และรักษาไวซึ่งสัจจะ มีความรับผิดชอบในสัจจะ คําสั่ง การบังคับบัญชาไมบิดเบือนเขาขางพวกพองของตนหรือเพื่อประโยชนของตนเองอยูแลว การจะปฏิบัติงานดานใดๆก็ตาม ลวนตองยึดมั่นในหลักการดังกลาว โดยไมบิดเบือน เชนเดียวกับการปฏิบัติงานขาวที่ตองใชความเสี่ยงในการออกหาขาว ทหารการขาวก็ใชหลักการดังกลาวไมแตกตางจากการปฏิบัติภารกิจของทหารในเหลาอื่นๆ ดังนั้นจึงสามารถสรุปไดวา สมรรถนะดานความเสียสละและความมีคุณธรรม ลวนเปนสมรรถนะที่ตองมีอยูในตัวขาราชการทหารทุกนาย รวมไปถึงการปฏิบัติงานใดๆก็ตามยอมตองมีสมรรถนะดานนี้มากกวาดานอื่นๆอยูแลว สอดคลองกับแนวคิดของชุลีพร ใชปญญา (2550) ที่กลาววา สมรรถนะหลักดานคุณธรรมและจริยธรรม เปนสมรรถนะหลักที่มีการปฏิบัติมากกวาสมรรถนะหลักดานอื่นๆ โดยองคการทุกองคการตางพยายามสงเสริม สนับสนุนใหบุคลากรปฏิบัติงานตามมาตรฐานและกฎหมายทางวิชาชีพ เพื่อใหการปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพตอองคการตอตนเองและตอสังคม เชนเดียวกับขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ที่มุงปฏิบัติงานโดยใชหลักความมีคุณธรรมและความซื่อสัตยมาเปนหลักในการดําเนินชีวิตและปฏิบัติงานเพื่อสรางความภาคภูมิใจใหกับตนเองและเพื่อนรวมงาน

Page 101: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

90

5.3 ขอเสนอแนะ5.3.1 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษาจากผลการศึกษาเรื่อง สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของ

ขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ทําใหผูศึกษาไดเล็งเห็นปญหาตางๆ ในทุกๆดานที่ไดศึกษามา และมีขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้ และสมควรเรงดําเนินการแกไข ดังนี้

1. ดานความเสียสละ จะตองสงเสริมและปลูกฝงใหผูปฏิบัติงานรูจักชวยเหลือผูอื่นมากขึ้น ถึงแมวางานที่ปฏิบัติอยูนั้นอาจจะเกินเวลาในการทํางานปกติแลวก็ตาม ถึงแมวางานนั้นจะไมใชงานในหนาที่โดยตรง รวมถึงสงเสริมใหผูปฏิบัติงานทําหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต ทั้งตอตนเอง ตอหนาที่ รวมถึงการยอมเสียสละประโยชนสวนตนเพื่อประโยชนของสวนรวมและประเทศชาติเพื่อสรางความนาเชื่อถือใหกับตนเองและองคการ

2. ดานความมีคุณธรรม นับวาเปนการดีที่ผูปฏิบัติงานขาวแสดงความคิดเห็นอยางเปดเผยตรงไปตรงมา แตก็ตองระมัดระวังการละเมิด รปภ. จะเปดเผยตอฝายตรงขามดวยผูปฏิบัติงานขาวจะตองเปนผูที่แสดงความคิดเห็นของตนอยางเปดเผยตรงไปตรงมาเพื่อใหทันตอสถานการณที่จะเกิดขึ้น ผูปฏิบัติงานขาวจะตองรักษาสัจจะที่ไมบิดเบือน ไมอางขอยกเวนเพื่อใหตนเองไดประโยชน เมื่อไดรับมอบหมายภารกิจก็ตองออกปฏิบัติตามภารกิจที่ไดรับมอบหมายใหเปนที่ไววางใจของผูบังคับบัญชา

3. ดานการดํารงความถูกตอง จะตองมีความรับผิดชอบความผิดของผูใตบังคับบัญชาไมวาการกระทําความผิดนั้นตนจะเปนผูสั่งใหกระทําหรือไม แตในฐานะที่เปนผูบังคับบัญชาก็จะตองมีสวนรับผิดชอบ ตลอดจนตองสงเสริมเปดโอกาสใหผูใตบังคับบัญชาไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟงความคิดเห็นที่แตกตาง และควรแสดงความคิดเห็นของตนอยางเปดเผยตรงไปตรงมา มีการปรับปรุงแกไขขอผิดพลาดที่เกิดจากการปฏิบัติงานและผูบังคับบัญชาควรจะรับผิดชอบในความผิดของผูใตบังคับบัญชาหากเปนคนออกคําสั่งนั้นๆ

4. ดานความมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน จะตองแจงใหกับผูที่ปฏิบัติงานขาวทราบเกี่ยวกับเปาหมาย ผลสัมฤทธิ์ของหนวยไดอยางถูกตองเพื่อใหเดินไปในทิศทางเดียวกัน และควรมีการสงเสริมใหผูปฏิบัติงานไดมีโอกาสศึกษาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหมเพื่อใหผูปฏิบัติงานไดมีการปรับปรุงและพัฒนาวิธีการปฏิบัติงานใหดีขึ้น ตลอดจนสงเสริมใหมีความตั้งใจและมุงมั่นในการปฏิบัติงาน

Page 102: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

91

5. ดานการทํางานเปนทีม สงเสริมใหผูปฏิบัติเห็นความสําคัญในการทํางานเปนทีมเพิ่มมากขึ้น ใหคนมุงไปที่เปาหมายในการปฏิบัติงานโดยรูจักชวยเหลือกันในการทํางานเพื่อใหงานที่ปฏิบัตินั้นบรรลุตามเปาหมายที่กําหนดไว อยางไรก็ตาม ผูที่ปฏิบัติงานดานงานขาวควรที่จะมีมนุษยสัมพันธที่ดีตอเพื่อนรวมงานและผูคนทั่วไป รูจักใหเกียรติผูอื่น ยกยอง ชมเชย หรือใหกําลังใจแกเพื่อนรวมงานในโอกาสตางๆ อยางเหมาะสม สามารถที่จะเปนไดทั้งผูนําและผูตาม มีการกําหนดเปาหมายพัฒนาวิธีการทํางานรวมกันใหไดมาซึ่งผลงานที่โดดเดนหรือแตกตางใหมากกวาเดิม

ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย นั้น จากการวิเคราะหที่ผานมา ทําใหผูศึกษาสามารถสรุปสิ่งที่หนวยงานที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานดานงานขาวควรเรงรีบดําเนินแกไข ดังนี้

1. ดานความรวดเร็ว/ทันเวลา ผูปฏิบัติงานขาวจะตองทราบวา ขาวที่ตนกําลังติดตามอยูนั้น จะตองรีบสงใหกับผูบังคับบัญชา หรือผูมีอํานาจใหเร็วที่สุด ในขณะออกหาขาวก็จะตองมีการระมัดระวังตัวอยางเต็มที่ จะตองสงเสริมใหปฏิบัติงานขาวเห็นความสําคัญในการสงขาวใหทันเวลากอนที่ฝายตรงขามจะมีการปฏิบัติการที่เปนผลเสียหายตอฝายเรา

2. ดานความถูกตอง/ความออนตัว การปฏิบัติงานขาวนั้นจําเปนที่จะตองมีความถูกตองระมัดระวังการปลอยขาวลวง ยิ่งในยุคปจจุบันนี้เทคโนโลยีตางๆ สามารถทําใหเห็นภาพตัดตอเปนเสมือนภาพจริงๆ ผูปฏิบัติงานจะตองเปนผูที่ฝกสังเกต ฝกวิเคราะหเหตุการณตางๆ ใหเปน แตอยางไรก็ตามขาวนั้นก็สามารถมีความออนตัวไดถาเปรียบเทียบกับแหลงขาวอื่น จะตองรูจักใชเหตุและผลในการวิเคราะหขาว ตองสอนความรูใหกับผูที่มาปฏิบัติงานใหมๆ โดยอาศัยจากประสบการณผูปฏิบัติงานขาวจะตองสามารถวิเคราะหขาวใหมีความเที่ยงตรง แมนยํา เพื่อที่จะสามารถเปนสวนหนึ่งในการตัดสินใจของผูบังคับบัญชาไดอยางทันเวลา

3. ดานความปลอดภัย เปนที่ทราบโดยทั่วกันแลววาในยุคสมัยปจจุบันนี้เทคโนโลยีการสื่อสารมีความรวดเร็วเปนอยางยิ่งการสงขาวสารมีความรวดเร็วมากๆ ผูปฏิบัติงานขาวควรใชความระมัดระวังในการสงขาวเปนอยางมาก ระมัดระวังไมใหขาวที่ไดมารั่วไหลไปถึงฝายตรงขามซึ่งจะทําใหเกิดผลเสียหายตอฝายเรา อยางไรก็ตามงานขาวถามีความสําคัญก็ควรที่จะมีการกําหนดชั้นความลับไวดวย และควรที่จะอบรมใหความรูกับขาราชการทุกนายใหทราบถึงกฎระเบียบในการปฏิบัติตอขอมูลขาวสารลับเพื่อปองกันไมใหมีการละเมิดขอมูลขาวสารลับนั้นดวย

Page 103: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

92

5.3.2 ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไปจากการศึกษาครั้งนี้ เปนการศึกษาเชิงปริมาณ เรื่องสมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการ

ปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย การศึกษาครั้งตอไปควรจะศึกษาหลักพื้นฐานในประสิทธิผลของการปฏิบัติงานดานงานขาวใหครบทั้ง 7 ขอ เนื่องจากการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาไดนําหลักประสิทธิผลในการปฏิบัติของการปฏิบัติงานดานงานขาวเพียง 3 ขอ เนื่องจาก เปนขอที่นายทหารทุกนายตองทราบและปฏิบัติทั้งในที่ตั้งปกติ และปฏิบัติงานในพื้นที่ตามหนวยตางๆ และควรศึกษาถึงปจจัยที่สงผลตอการพัฒนาสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร

Page 104: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

93

บรรณานุกรม

กรมขาวทหารบก. คูมือการปฏิบัติงานดานงานขาวกรอง. กรุงเทพมหานคร: 2547.คูมือราชการสนาม วาดวยหลักนิยมการขาวกรองของกองทัพบก รส.30 – 100, 2541.จินดาลักษณ วัฒนสินธุ. เอกสารประกอบการสอนชุดวิชานโยบายสาธารณะและการวางแผน หนวยที่ 6

เรื่อง การประเมินผลนโยบาย. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551.จิรประภา อัครบวร. สรางคนสรางผลงาน. กรุงเทพมหานคร: ก.พลพิมพ (1996), 2549.ชนภัทร สุขสวัสดิ์. “ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานปองกันปราบปรามอาชญากรรม ของสถานีตํารวจ

นครบาลคันนายาว”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2557.

ชวิน แสงพาณิชย. “ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานสอบสวนของตํารวจ: กรณีศึกษาสถานีตํารวจในสังกัด กองกํากับการตํารวจนครบาลที่ 1 สํานักงานตํารวจแหงชาติ กรุงเทพมหานคร”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2552.

ชอทิพย วรรณมาศ. “สมรรถนะหลักของขาราชการทหาร กรมยุทธบริการทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2552.

ชุลีพร ใชปญญา. “สมรรถนะหลักดานคุณธรรมและจริยธรรม”. www.edu.chula.ac.th/ojed/doc. สืบคนเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559.

ชูชัย สมิทธิไกร. การสรรหา การคัดเลือก และการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร. พิมพครั้งที่ 2.กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2550.

ฐิติพัฒน พิชญธาดาพงศ. “ยุทธวิธีการใชระบบสมรรถนะในการบริหารทรัพยากรมนุษย เพื่อผลักดันองคการสูความเปนเลิศเหนือคูแขง”. วารสารดํารงราชานุภาพ. 6, 20 (กรกฎาคม – กันยายน 2549):16-61.

ณรงควิทย แสนทอง. มารูจัก Competency กันเถอะ. กรุงเทพมาหานคร: เอช อาร เซ็นเตอร, 2547.ณัฐพร เปรมศักดิ์. “สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะตําแหนงกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจา

พนักงานบันทึกขอมูล สังกัดสํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร”. สารนิพนธหลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2557.

ดนัย เทียนพุฒ. การบริหารทรัพยากรมนุษยสมัยใหม. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพจุฬาลงกรณ, 2543.

Page 105: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

94

เดชา เดชะวัฒนไพศาล. “Competency-based human resources management”. วารสารการบริหารตน 21,4 (2543): 11-18.

ธงชัย สันติวงษ. องคการและการบริหาร. พิมพครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช, 2543.นรพนธ ปนรุม. “ประสิทธิผลการคุมฝูงชน: กรณีศึกษากองบังคับการณตํารวจนครบาล 2”. สารนิพนธ

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2557.บุญเลิศ ไพรินทร . องคการและการพัฒนาองคการ : สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน.

กรุงเทพมหานคร: สํานักงาน ก.พ., 2548.บุษยมาศ แสงเงิน. “การทํางานเปนทีม”. www.gotoknow.org/posts/439292 สืบคนเมื่อวันที่ 19 มีนาคม

2559.ประภาวดี ประจักษศุภนิติ. เอกสารการสอนชุดวิชาพฤติกรรมองคการและการจัดการ. นนทบุร:ี

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2530.ปยวัฒน บัวขาว. “สมรรถนะของเจาหนาที่ตํารวจตอการเจรจาตอรองแกไขภาวะวิกฤต”. สารนิพนธ

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2547.

พรจิต ถนอมกิตติ. “สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราช องคที่ 17 จังหวัดสุพรรณบุร”ี. วิทยานิพนธหลักสูตรพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล, 2548.

พิสมัย พวงคํา. “สมรรถนะของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแกน”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2551.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. “ประเภทของสมรรถนะ”. www.competency.rmutp.ac.th/ประเภทของสมรรถนะ. สืบคนเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2559.

มาลี แซลิ้ม. “ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของสวนกํากับและตรวจสอบสํานักการสอบสวนและนิติการ กรมการปกครอง”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2552.

ระเบียบปฏิบัติประจําการการขาวกองทัพบก (การปองกันประเทศ), 2529.รัตนา เมฆอับ. “สมรรถนะหลักของขาราชการตํารวจกองพิสูจนหลักฐานกลาง”. สารนิพนธหลักสูตร

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2557.วัฒนา พัฒนพงศ. การบริหารเชิงกลยุทธ. กรุงเทพมหานคร: แปซิฟก, 2547.

Page 106: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

95

วันเพ็ญ นิลนารถ. “สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของขาราชการ กรมสวัสดิการและคุมครอง”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2554.

วิทยา ดานธํารงกูล. การบริหาร. กรุงเทพมหานคร: พิมพลักษ, 2546.วิลัยภรณ แยมสวน. “ความคิดเห็นที่มีตอสมรรถนะหลัก”. www.bkk.umdc.tsu.ac.th สืบคนเมื่อวันที่ 25

มีนาคม 2559.วิเศษ นิลมาท. “แรงจูงใจที่สงผลตอประสิทธิผลของสโมสรเทเบิ้ลเทนนิสจังหวัดพิจิตร”. สารนิพนธ

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2556.ศศิธร จิมาภรณ. “สมรรนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของเลาขานุการ สํานักงานยุติธรรม”.

สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2557.ศิริชัย พงษวิชัย. การวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวยคอมพิวเตอร. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหง

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548.ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. องคการและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสารน, 2545.ศุภมิตร พินิจการ. “ความสัมพันธระหวางสมรรถนะหลักกับประสิทธิภาพการทํางานของนักบัญชี

กรมสรรพสามิต”. วิทยานิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552.

สมพงษ เกษมสิน. การบริหารงานทรัพยากร. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: พับบลิเคชั่น, 2521.สมิต สัชณุกร. “คุณลักษณะที่จะทํางานบริการไดดี”. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ

สวนสุนันทา (2542): 23-27.สํานักงานกรุงเทพมหานคร. “สมรรถนะหลักของขาราชการ”. ผิดพลาด! การอางอิงการเชื่อมโยงหลาย

มิติไมถูกตองเมื่อวันที่ 16 เมษายน 2559.สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน. การบริหารงานทรัพยากรมนุษยสมัยใหม ภาคปฏิบัติ.

กรุงเทพมหานคร: เอช อาร เซ็นเตอร, 2545.___________________________________. “การประเมินผลการปฏิบัติงาน”. www.oc.sc.go.th/

สืบคนเมื่อวันที่ 16 เมษายน 2559.___________________________________. แผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2556-

พ.ศ.2561). กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน, 2556.___________________________________. ส ม ร ร ถ น ะ ใ น ร ะ บ บ ข า ร า ช ก า ร พ ล เ รื อ น ไ ท ย .

กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน, 2548.

Page 107: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

96

สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ. แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษยดวย COMPETENCY. กรุงเทพมหานคร: ศิริวัฒนา อินเตอรพริ้น, 2547.

เสนห จุยโต. องคการสมัยใหม. นนทบุร:ี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551.เสาวลักษณ มธุรพร. “ปจจัยที่สงผลกระทบตอสมรรถนะในการปฏิบัติงานของกลุมงานเลขานุการและ

เจาหนาที่ธุรการของ บริษัท ปตท. สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน)”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2551.

อนันต ประสงคใจ. “สมรรถนะของตํารวจชุมชนสัมพันธกับประสิทธิผลการปฏิบัติงาน: ศึกษากรณี กองบัญชาการตํารวจนครบาล”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก, 2557.

อมรรัตน ทิพยเลิศ. “สมรรถนะหลัก”. www.kohalibray.tu.ac.th/cqi-bin/hoha. สืบคนเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2559.

อานนท ศักดิ์วรวิชญ. “การเติบโตขององคกรอยางยั่งยืน”. จุฬาลงกรณวารสาร 3,2(2547). อุษณี มงคลพิทักษสุข. “ภาวะผูนําเปลี่ยนสภาพของนายกองคการบริหารสวนตําบลกับประสิทธิผลของ

องคกร”. ดุษฎีนิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2551.

Boyatz, R.E. The Competetent Manager: A Model for Effective Performance. New York: Wilcy, 1982.

Dales, M and Hes, K. Creating Training miracles. Sydney: Prentice Hall, 1995.JameL.Gibson. Organization: Behavior structure process, International edition. 10th ed. U.S.A:

McGraw hill Inc., 2000.McClelland, D.C. “Test for Competence, rather than intelligence.” American Psychologists. (1973).Mitrani, A., Daziel, M., and Fitt, D. Competency based Human Resource Management: Value Driven

Strstegies for Reruitment, Develoment, and Reward. London: McGraw-Hill, 1992.

Sprncer, L.M. and Spencer, S.M. Competence at work: Models for Superior Performance. New York: John Wiley & Sons, 1993.

Steers. Managing Effective Organizations: An Introduction. California: Goodyear Publishing Company Inc., 1985.

Page 108: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

ภาคผนวก

Page 109: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

98

แบบสอบถาม

เรื่อง สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหารสังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

คําชี้แจง1. แบบสอบถามฉบับนี้ ผูศึกษามีวัตถุประสงคที่จะศึกษาความสัมพันธระหวาง

สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานการขาวของขาราชการทหาร ซึ่งขอมูลที่ไดจากการวิจัยจะนําไปประยุกตใชในการพัฒนาสมรรถนะของขาราชการทหาร ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย ตอไป

2. แบบสอบถามนี้ ใชเก็บขอมูลเพื่อการศึกษาวิจัยเทานั้น ไมมีผลกระทบตอการปฏิบัติงานและสถานภาพของผูตอบแบบถามแตอยางใด

3. แบบสอบถามชุดนี้ แบงเปน 4 ตอน ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานการขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

ตอนที่ 4 แบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นและขอเสนอแนะเกี่ยวกับสมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานการขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

ขอขอบพระคุณทุกทานที่สละเวลา และใหความรวมมือในการตอบแบบสอบถาม ณ โอกาสนี้

ดวยความเคารพนับถือ

รอยตรีหญิงภานุมาศ เวหาด นักศึกษาปริญญาโท คณะศิลปศาสตร

มหาวิทยาลัยเกริก

Page 110: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

99

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามคําชี้แจง กรุณาทําเครื่องหมาย √ ลงใน หรือ เติมคํา/ขอความลงในชองวาง1. เพศ

(1) ชาย (2) หญิง2. ระดับการศึกษา

(1) ม.3 หรือ ม.6 (2) ปวช. หรือ ปวส.(3) ปริญญาตรี (4) สูงกวาปริญญาตรี

3.ระยะเวลาในการรับราชการ (1) ต่ํากวา 5 ป (2) 5-15 ป

(3) 16-25 ป (4) มากกวา 25 ป

Page 111: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

100

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

โปรดทําเครื่องหมาย √ ลงในชองวางที่ตรงกับความคิดเห็นของทานมากที่สุดในแตละขอเพียงคําตอบเดียว

มีสมรรถนะหลักมากกวา 81% ให 5 คะแนน หมายถึง มีสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานนั้นมากที่สุดมีสมรรถนะหลัก 71-80% ให 4 คะแนน หมายถึง มีสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานนั้นมากมีสมรรถนะหลัก 61-70% ให 3 คะแนน หมายถึง มีสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานนั้นปานกลางมีสมรรถนะหลัก 51-60 % ให 2 คะแนน หมายถึง มีสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานนั้นนอยมีสมรรถนะหลักนอยกวา 50% ให 1 คะแนน หมายถึง มีสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานนั้นนอยที่สุด

ระดับสมรรถนะสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย 5 4 3 2 1

ดานความเสียสละ1. เปนผูที่ยินดีเสียประโยชนสวนนอยของตนเพื่อประโยชนสวน ใหญของสวนรวม2. เปนผูที่ทุมเททํางานอยาวงเต็มความสามารถถึงแมวาจะเกินเวลา ราชการหากงานนั้นยังไมสําเร็จ3. เปนผูที่ตั้งใจทํางานที่ไดรับมอบหมายอยางเต็มความสามารถ ถึงแมจะเปนงานที่ยาก4. เปนผูที่ไมชวยเหลือผูอื่นแมงานนั้นอาจไมสําเร็จไมทันเวลาหาก ไมใชงานในหนาที่โดยตรง5. เปนผูที่ถางานมีปญหามักจะเปนคนแกไขปญหาเหลานั้นให สําเร็จลุลวง

ดานความมีคุณธรรม1. เปนผูที่มีจิตสํานึกและความภาคภูมิใจแหงอาชีพทหารเปน อยางสูง2. เปนผูที่ปกครองผูใตบังคับบัญชาบนพื้นฐานความถูกตองและ เปนธรรม3. เปนผูที่ปฏิบัติหนาที่ดวยความโปรงใส ซื่อสัตย สุจริต ถูกตอง ตามหลักกฎหมาย จริยธรรม และมีระเบียบวินัย

Page 112: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

101

ระดับสมรรถนะสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย 5 4 3 2 1

4. เปนผูที่แสดงความคิดเห็นของตนอยางเปดเผยตรงไปตรงมา

5. เปนผูที่รักษาสัจจะไมบิดเบียน ไมอางถึงขอยกเวน เพื่อให ตนเองไดผลประโยชน

ดานการดํารงความถูกตอง มีความรับผิดชอบ1. เปนผูที่ยอมรับความผิดพลาดที่เกิดจากการทํางานพรอม ดําเนินการปรับปรุงแกไข2. เปนผูที่ยินดีรับผิดชอบผลการตัดสินใจของตนเองทั้งทางบวก และทางลบ พรอมยินดีใหตรวจสอบการกระทําหรือผลงานนั้น3. เปนผูที่สนับสนุนใหบุคลากรในหนวยมีจิตสํานึกและพฤติกรรม ที่ยึดในความถูกตองพรอมรับผิดชอบในการกระทํา4. เปนผูที่ไมรับผิดชอบในความผิดของผูใตบังคับบัญชาแมวาเปน คนสั่งใหกระทํา5. เปนผูที่แสดงความคิดเห็นของตนอยางเปดเผยตรงไปตรงมาไม เกรงกลัวในสิ่งที่ไมถูกตอง

ดานการมุงมั่นในผลสัมฤทธิ์ของงาน1. เปนผูที่มีการทดลองหรือนําวิธีการทํางานใหมๆมาใชในการ ทํางานอยูเสมอ2. เปนผูที่มีความมุงมั่นในการพัฒนาผลงานที่ไดรับมอบหมาย อยางตอเนื่อง3. เปนผูที่ใหความสําคัญตอการทํางานใหบรรลุเปาหมายทุกครั้ง4. เปนผูที่มรความรูความสามารถในการวางแผนการปฏิบัติงานใน แตละภารกิจไดเปนอยางดี5. เมื่อปฏิบัติงานเสร็จสิ้นจะเปนผูที่คอยประเมินผลงานตนเอง เพื่อนํามาปรับปรุงแกไขอยูเสมอ

ดานการทํางานเปนทีม1. เปนผูใหความรวมมือ ชวยเหลือ สนับสนุนเพื่อนรวมงานเสมอ2. เปนผูที่แสดงบทบาทผูนําและ/หรือผูตามไดอยางเหมาะสม

Page 113: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

102

ระดับสมรรถนะสมรรถนะหลักของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย 5 4 3 2 1

3. เปนผูที่มีทักษะในการทํางานรวมกับกลุมคนที่หลากหลายได เปนอยางดี4. เปนผูที่ใหเกียรติ ยกยอง ชมเชย หรือใหกําลังใจแกเพื่อนรวม งานในโอกาสตางๆ อยางเหมาะสมเสมอ

5. เปนสวนหนึ่งในการพัฒนาบุคลากรในการปฏิบัติงานของ องคการเสมอ

Page 114: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

103

ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย

โปรดทําเครื่องหมาย √ ลงในชองวางที่ตรงกับลักษณะการปฏิบัติงานของขาราชการทหารสังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย มากที่สุด

ระดับการปฏิบัติ 5 = มากที่สุด หมายถึง คะคะแนนระหวาง 4.21 – 5.00ระดับการปฏิบัติ 4 = มาก หมายถึง คาคะแนนระหวาง 3.41 – 4.20ระดับการปฏิบัติ 3 = ปานกลาง หมายถึง คาคะแนนระหวาง 2.61 – 3.40ระดับการปฏิบัติ 2 = นอย หมายถึง คาคะแนนระหวาง 1.81 – 2.60ระดับการปฏิบัติ 1 = นอยที่สุด หมายถึง คาคะแนนระหวาง 1.00 – 1.80

ระดับประสิทธิผลประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย 5 4 3 2 1

ดานความรวดเร็ว/ทันเวลา1. เปนผูที่สามารถปฏิบัติงานชวยในการตัดสินใจของผูบังคับ บัญชาและผูใชงานไดอยางทันเวลา2. เปนผูที่จัดลําดับการทํางาน โดยรีบทํางานพิเศษเรงดวนกอน งานประจําเสมอและเสร็จทันเวลาที่กําหนด3. เปนผูที่สามารถแกปญหาเฉพาะหนาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน และสามารถหาเทคนิค วิธีการในการปฏิบัติงานใหทันเวลา4. เปนผูที่สามารถปฏิบัติงานตามภารกิจ และสั่งการของ ผูบังคับบัญชาไดเสมอ

ดานความถูกตอง/ความออนตัว1. เปนผูที่มีความชํานาญในการปฏิบัติงานที่ทําอยูเปนอยางดี2. เปนผูที่ใหความสําคัญวางานขาวควรที่จะมีการแลกเปลี่ยนขาว กันไดอยางเสรี มีการรวบรวมขาวจากหลายแหลงขาวเพื่อใหได ขาวกรองที่ถูกตอง3. เปนผูที่ใหความสําคัญวางานขาวควรที่จะตองทําทั้งในยากปกติ และสงคราม4. เปนผูที่ทราบวาการทํางานขาวที่ดีควรจะตองไดขอมูลรวดเร็ว/ ทันเวลา ถูกตองและปลอดภัย โดยที่เราตองปกปดขอมูลของ ฝายเราใหมากที่สุด

Page 115: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

104

ระดับประสิทธิผลประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย 5 4 3 2 1

ดานความปลอดภัย1. เปนผูที่ใหความสําคัญกับการกําหนดชั้นความลับของงานขาว เนื่องจากจะทําใหงานลาชาไมทันเวลาในการสงขาวใหกับ ผูบังคับบัญชา2. เปนผูที่ใหความสําคัญวางานดานความมั่นคงสมควรที่จะ กําหนดชั้นความลับ3. เปนผูที่ใหความสําคัญวาการกระจายขาวที่มีชั้นความลับควรจะ จํากัดบุคคลและจํากัดขอมูลใหทราบเทาที่จําเปน4. เปนผูที่ใหความสําคัญในการปฏิบัติตองานที่มีชั้นความลับ ไมละเมิดการการ รปภ.

ตอนที่ 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะเกี่ยวกับสมรรถนะหลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานดานงานขาวของขาราชการทหาร สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย กองบัญชาการกองทัพไทย………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอขอบพระคุณที่ทานสละเวลาอันมีคาเพื่อตอบแบบสอบถามทุกขอ

Page 116: สมรรถนะหลักกับประสิทธิผลใน ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2559/F_Panumas_Wahat.pdf(2) ก ตต กรรมประกาศ

105

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ-สกุล รอยตรีหญิง ภานุมาศ เวหาดวัน/เดือน/ป 25 มกราคม 2522ที่อยูปจจุบัน จังหวัดปราจีนบุรี

ประวัติการศึกษาป 2548 ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการทั่วไป)

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ประวัติการทํางานพ.ศ. 2557 – ปจจุบัน ตําแหนง นายทหารประจํา ศรภ. สังกัด กอง 6 ศูนยรักษาความปลอดภัย

กองบัญชาการกองทัพไทย