Inflammatory Heart Disorders · Rheumatic fever and Rheumatic carditis...

Post on 26-Feb-2020

18 views 0 download

Transcript of Inflammatory Heart Disorders · Rheumatic fever and Rheumatic carditis...

Kritsana chaleawsak RN, M.S.N (Adult Nursing)

Inflammatory Heart Disorders

Learning Objective

1. บอกสาเหตุทีท่ าให้เกิดการติดเชื้อที่หัวใจได้

2. ระบุ อาการและอาการแสดง ของการติดเชื้อที่หัวใจได้

3. อธิบายการรกัษาได้อย่างถูกต้อง

4. อภิปราย การบริหารจัดการพยาบาลทั้งการอักเสบและการติดเชื้อที่หัวใจ

Rheumatic fever and Rheumatic carditis

จะเกิดภายหลังที่มีการติดเชือ้ Streptococcal Group A ซึ่งมักเริ่มที่คอ

โครงสร้างของหัวใจที่มักจะได้รับผลจากการติดเชื้อคือ Heart Valve, endocardium, myocardium, and pericardium.

ระบาดวิทยาและพยาธิวิทยา

Rheumatic carditis เป็นผลจากการเป็นไข้ Rheumatic ที่ไม่ได้รับการรักษาอย่างเป็นระบบ หรือเกิดจากการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจจากเชื้อ β-hemolytic streptococci group A

เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายมักจะรวมตัวกันที่ endocarditis ฟอร์มตัวกันมีลักษณะที่เรียกว่า vegetations forms บริเวณลิ้นหัวใจ ท าให้เกิดการหนาตัวขึ้นของลิ้นหัวใจ

อาการและอาการแสดง1. Fever, increased pulse

2. Polyarthritis : joint pain and chest pain

3. rash : small erythematous circles and wavy lines on the trunk and abdomen (erythema marginatum)

4. subcutaneous nodules

5. Chorea : ความผิดปกติของการเคลื่อนไหวที่อาจสั่นกระตุกแบบไม่มีจุดมุ่งหมาย ไม่สามารถควบคุมได้

6. heart murmur

Chorea

• https://www.youtube.com/watch?v=HOalYWvVLU8

erythema marginatum

subcutaneous nodules

Diagnostic Test

1. Lab : antistreptolysin O titer, erythrocyte sedimentation rate (ESR), and C-reactive protein are elevate.

2. EKG: show dysrhythmia

3. Cardiac murmur

Medical Management1. Preventive are the most effective

intervention

2. Rapid treatment for pharyngeal infection

3. Penicillin is preferred antibiotic

4. Prolong of bed rest, but if without carditismay be early ambulation.

5. NSAID for joint pain and inflammation

6. surgical commissurotomy or valve replacement

7. แนะให้กินยา PenicillinV ทุกวัน หรือฉีด Benzathine Penicillin ทุกเดือน หรือจนกว่า 18 ปี

Nursing Management

1. Bed rest during acute phase

2. proper position for minimize joint pain

3. emotional support

4. encourage for eating a nutritional diet and keeping appointments for medicine checkup

5. Teaching patients that have history of rheumatic fever should receive Penicillin to prevent streptococcal infection

Pericarditisเป็นการอักเสบของเนื้อเยื่อ (membranous) รอบๆ ถุงหุ้ม

หัวใจ สาเหตุเป็นได้ทั้ง แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา หรือ เกิดภายหลังจากความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับหัวใจ เช่น acuteMI, lung cancer, trauma of thoracic

เนื้อเยื่อที่อักเสบ ท าใหเ้กิดการหนาตัว กดทับ หรือเกิดปัญหาในการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ โดยเฉพาะในช่วย diastole ท าให้ cardiac output ลดลง

อาการและอาการแสดง

ผู้ป่วยมักมีอาการคล้ายกับการอักเสบอื่นๆ ของหัวใจ เชน่ pain : โดยเฉพาะเวลานอนหงาย หายใจลึกๆ ไอ หรือแม้แต่ขณะกลนือาหาร การเคลื่อนไหวร่างกาย เปลี่ยนท่า

มักจะเจ็บร้าวไปคอ ไหล่

dysnea, fever, chill, diaphroresis

Decrease of heart function เนื่องจากมีน้ าเกิดขึน้ใน pericardial sac (ปกต=ิ15-50 ml) 150-200 ml.

Diagnostic Test

1. EKG change

2. Echocardiography : pericardial effusion or cardiac tamponade

3. Lab: leukocytosis (10,000-20,000/mm3), ESR elevate

4. cardiac enzyme, blood culture

Medical Management

1. Anagesia for relief pain and comfortable

2. Oxygen and parrenteral fluids

3. Antibiotics

4. pericardiocentesis

pericardiocentesis

Nursing intervention1. Evaluate vital signs and ausculate lung and

heart sound

2. Maintain bed rest to promote healing and cardiac workload

3. Elevate the head of the bed to 45 degrees to decrease dyspnea

4. Hypothermia treatment

5. Emotional support

โรคกล้ามเนื้อหัวใจพกิาร: Cardiomyopathyหมายถึงพยาธิสภาพทีเ่กิดขึ้นกับกล้ามเนื้อหัวใจ หรือมีการ

เสื่อมสมรรถภาพในกาท างานของกล้ามเนื้อหัวใจ แบ่ง เป็น 3 กลุ่ม

1.Dilate cardiomyopathy: DCM: มีการโป่งพองของเวนตริเคิลทั้ง 2 ข้างหรือขา้งใดข้างหนึ่งท าให้การบีบตัวน้อยลง ท าให้หัวใจล้มเหลว

2. Hypertropic cardiomyopathy: HCM การหนาตัวของเวนตริเคิลซา้ยจนมีการอุดกั้นทางออกของเลือด

3. Restrictive cardiopathy: RCM การคลายตัวของเวนตริเคิลเสียไปมีพังผืดรัดเวนตริเคิล

Dilated cardiomyopathy

DCM เป็นชนิดที่พบบ่อยมาก มักพบในชาย ที่มีอายุระหว่าง 40-60 ปี โดยเฉพาะในชายผิวสี จากสถิติ มักพบเสียชีวิตภายใน 5 ปี หลังได้รับการวินิจฉัย และมักพบในผู้ที่มีประวัติ ดื่มแอลกอฮอล์ ตั้งครรภ์ และได้รับการติดเชื้อ

ปัญหาทีพ่บคอื การบีบตัวลดลง ท าให้ stroke volume and ejection ลดลง สง่ผลให้เกิดภาวะ CHF

Dilated cardiomyopathy

Hypertropic cardiomyopathy

HCM จากการทีค่วามหนาตัวของกลา้มเนื้อเวนตริเคิลและลิ้นหัวใจไมตัล ท าใหค้วามสามารถในการบีบตัวลดลงรวมถึงเกิดความแคบของหอ้งหัวใจ ท าให้ปริมาณเลือดลดลง

Hypertropic cardiomyopathy

Restrictive cardiopathy

RCM เป็นภาวะที่กลา้มเนื้อหัวใจแข็งเกรง็ การหดตัวไม่มีประสิทธิภาพท าให้ขยายตัวรับเลือดได้น้อยลงท าให้เกิดความดันเลือดย้อนกลับไปที่ปอด และส่วนกลาง แม้จะมีขนาดของหัวใจปกติแต่ทุกห้องหัวใจมีขนาดลดลง เกิด Right side HF

Restrictive cardiopathy

Medical Management

DCM: inotropic drugs to improve cardiac output, diuretics and nitrates to decrease preload, and vasodilators to decrease afterload

HCM: antidysrhythmics, antibiotics, anticoagulants, calcium channel blockers, and beta blockers.+ inotropic drugs + diuretics and nitrates

RCM: heart transplantation

Nursing Management

1. Improve cardiac output

2. Increase activity tolerance (without excessive fatiqug)

3. Hopeful atmosphere

4. teaching plan guides to make life change