จุดประสงค์การทดลอง 4. 2. 3. ต่อวงจร...

16
จุดประสงค์การทดลอง 1. ประกอบวงจรลอจิกเกตได้ 2. ทดสอบคุณสมบัติของลอจิกเกตชนิดต่าง ๆ ได้ 3. ใช้เครื่องมือวัดและทดลอบตรวจสอบการทางานของวงจรลอจิกเกตได้ 4. วิเคราะห์การทางานของวงจรลอจิกเกตและการลดรูปสมการได้ เครื ่องมือและอุปกรณ์ 1. ดีซีโวลต์มิเตอร์ จานวน 1 เครื่อง 2. ชุดทดลองดิจิตอล จานวน 1 ชุด 3. ไอซีลอจิกเกตตระกูล TTL เบอร์ 7400, 7402, 74047408, 7432, 7486 และ 74266 เบอร์ละ 1 ตัว จานวน 7 ตัว ลาดับขั้นการทดลอง 1. ต่อวงจรตามรูปด้านล่าง แล้วป้ อนอินพุตตามตารางที่ 1 บันทึกผลลงในตารางที่ 1 ตารางที ่ 1 สาหรับการทดลองข้อที่ 1 OR gate อินพุต เอาต์พุต B A ระดับลอจิก (0/1) แรงดันไฟฟ้ า (V) LED1 (ดับ/สว่าง) 0 0 0 0.1 ดับ 0 1 1 4.5 สว่าง 1 0 1 4.5 สว่าง 1 1 1 4.5 สว่าง

Transcript of จุดประสงค์การทดลอง 4. 2. 3. ต่อวงจร...

Page 1: จุดประสงค์การทดลอง 4. 2. 3. ต่อวงจร ...nmptc.ac.th/home/wp-content/uploads/2015/11/digital... · 2016-09-16 · ตอบ สามารถใช้พีชคณิตบูลีนลดรูปของสมการให้เหลือน้อยที่สุด

จุดประสงค์การทดลอง 1. ประกอบวงจรลอจิกเกตได้

2. ทดสอบคณุสมบตัิของลอจิกเกตชนิดตา่ง ๆ ได้ 3. ใช้เคร่ืองมือวดัและทดลอบตรวจสอบการท างานของวงจรลอจิกเกตได้ 4. วิเคราะห์การท างานของวงจรลอจิกเกตและการลดรูปสมการได้ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ 1. ดีซีโวลต์มิเตอร์ จ านวน 1 เคร่ือง 2. ชดุทดลองดิจิตอล จ านวน 1 ชดุ 3. ไอซีลอจิกเกตตระกลู TTL เบอร์ 7400, 7402, 74047408, 7432, 7486 และ 74266 เบอร์ละ 1 ตวั จ านวน 7 ตวั ล าดับขัน้การทดลอง 1. ตอ่วงจรตามรูปด้านลา่ง แล้วป้อนอินพตุตามตารางท่ี 1 บนัทกึผลลงในตารางท่ี 1

ตารางที่ 1 ส าหรับการทดลองข้อท่ี 1 OR gate

อินพตุ เอาต์พตุ B A ระดบัลอจิก (0/1) แรงดนัไฟฟ้า (V) LED1 (ดบั/สวา่ง) 0 0 0 0.1 ดบั 0 1 1 4.5 สวา่ง 1 0 1 4.5 สวา่ง 1 1 1 4.5 สวา่ง

Page 2: จุดประสงค์การทดลอง 4. 2. 3. ต่อวงจร ...nmptc.ac.th/home/wp-content/uploads/2015/11/digital... · 2016-09-16 · ตอบ สามารถใช้พีชคณิตบูลีนลดรูปของสมการให้เหลือน้อยที่สุด

2. ตอ่วงจรตามรูปด้านลา่ง แล้วป้อนอินพตุตามตารางท่ี 2 บนัทกึผลลงในตารางท่ี 2

ตารางที่ 2 ส าหรับการทดลองข้อท่ี 2 AND gate

อินพตุ เอาต์พตุ B A ระดบัลอจิก (0/1) แรงดนัไฟฟ้า (V) LED1 (ดบั/สวา่ง) 0 0 0 0.1 ดบั 0 1 0 0.1 ดบั 1 0 0 0.1 ดบั 1 1 1 4.5 สวา่ง

3. ตอ่วงจรตามรูปด้านลา่ง แล้วป้อนอินพตุตามตารางท่ี 3 บนัทกึผลลงในตารางท่ี 3

ตารางที่ 3 ส าหรับการทดลองข้อท่ี 3 NOR gate

อินพตุ เอาต์พตุ B A ระดบัลอจิก (0/1) แรงดนัไฟฟ้า (V) LED1 (ดบั/สวา่ง) 0 0 1 4.5 สวา่ง 0 1 0 0.1 ดบั 1 0 0 0.1 ดบั 1 1 0 0.1 ดบั

Page 3: จุดประสงค์การทดลอง 4. 2. 3. ต่อวงจร ...nmptc.ac.th/home/wp-content/uploads/2015/11/digital... · 2016-09-16 · ตอบ สามารถใช้พีชคณิตบูลีนลดรูปของสมการให้เหลือน้อยที่สุด

4. ตอ่วงจรตามรูปด้านลา่ง แล้วป้อนอินพตุตามตารางท่ี 4 บนัทกึผลลงในตารางท่ี 4

ตารางที่ 4 ส าหรับการทดลองข้อท่ี 4 NAND gate

อินพตุ เอาต์พตุ B A ระดบัลอจิก (0/1) แรงดนัไฟฟ้า (V) LED1 (ดบั/สวา่ง) 0 0 1 4.5 สวา่ง 0 1 1 4.5 สวา่ง 1 0 1 4.5 สวา่ง 1 1 0 0.1 ดบั

5. ตอ่วงจรตามรูปด้านลา่ง แล้วป้อนอินพตุตามตารางท่ี 5 บนัทกึผลลงในตารางท่ี 5

ตารางที่ 5 ส าหรับการทดลองข้อท่ี 5 Exclusive OR gate

อินพตุ เอาต์พตุ B A ระดบัลอจิก (0/1) แรงดนัไฟฟ้า (V) LED1 (ดบั/สวา่ง) 0 0 0 0.1 ดบั 0 1 1 4.5 สวา่ง 1 0 1 4.5 สวา่ง 1 1 0 0.1 ดบั

Page 4: จุดประสงค์การทดลอง 4. 2. 3. ต่อวงจร ...nmptc.ac.th/home/wp-content/uploads/2015/11/digital... · 2016-09-16 · ตอบ สามารถใช้พีชคณิตบูลีนลดรูปของสมการให้เหลือน้อยที่สุด

6. ตอ่วงจรตามรูปด้านลา่ง แล้วป้อนอินพตุตามตารางท่ี 6 บนัทกึผลลงในตารางท่ี 6

ตารางที่ 6 ส าหรับการทดลองข้อท่ี 6 Exclusive NOR gate (Open collector)

อินพตุ เอาต์พตุ B A ระดบัลอจิก (0/1) แรงดนัไฟฟ้า (V) LED1 (ดบั/สวา่ง) 0 0 1 4.5 สวา่ง

0 1 0 0.1 ดบั

1 0 0 0.1 ดบั

1 1 1 4.5 สวา่ง

7. ตอ่วงจรตามรูปด้านลา่ง แล้วป้อนอินพตุตามตารางท่ี 7 บนัทกึผลลงในตารางท่ี 7

ตารางที่ 7 ส าหรับการทดลองข้อท่ี 7 NOT gate

อินพตุ เอาต์พตุ A ระดบัลอจิก (0/1) แรงดนัไฟฟ้า (V) LED1 (ดบั/สวา่ง) 0 1 4.5 สวา่ง

1 0 0.1 ดบั

Page 5: จุดประสงค์การทดลอง 4. 2. 3. ต่อวงจร ...nmptc.ac.th/home/wp-content/uploads/2015/11/digital... · 2016-09-16 · ตอบ สามารถใช้พีชคณิตบูลีนลดรูปของสมการให้เหลือน้อยที่สุด

สรุปผลการทดลอง

Page 6: จุดประสงค์การทดลอง 4. 2. 3. ต่อวงจร ...nmptc.ac.th/home/wp-content/uploads/2015/11/digital... · 2016-09-16 · ตอบ สามารถใช้พีชคณิตบูลีนลดรูปของสมการให้เหลือน้อยที่สุด

จุดประสงค์การทดลอง 1. ประกอบวงจรลอจิกเกตได้

2. ออกแบบวงจรด้วยวิธีลดรูปสมการโดยใช้พีชคนิตบลูีนได้ 3. ออกแบบวงจรด้วยวิธีลดรูปสมการโดยใช้แผนผงัคาร์โนห์ได้ 4. ใช้เคร่ืองมือวดัและทดลอบตรวจสอบการท างานของวงจรลอจิกเกตได้ 5. วิเคราะห์การท างานของวงจรลอจิกเกตและการลดรูปสมการได้ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ 1. ดีซีโวลต์มิเตอร์ จ านวน 1 เคร่ือง 2. ชดุทดลองดิจิตอล จ านวน 1 ชดุ 3. ไอซีลอจิกเกตตระกลู TTL เบอร์ 7400, 7402, 7404, 7408, 7432, 7486 และ 74266 เบอร์ละ 1 ตวั จ านวน 7 ตวั ล าดับขัน้การทดลอง 1. จากสมการ Y = AB + AB + AB ลดรูปสมการโดยใช้พีชคณิตบลูีน ได้สมการ Y = A+B 2. ตอ่วงจรตามรูปด้านลา่ง เพ่ือพิสจูน์วา่ AB + AB + AB = A + B

Page 7: จุดประสงค์การทดลอง 4. 2. 3. ต่อวงจร ...nmptc.ac.th/home/wp-content/uploads/2015/11/digital... · 2016-09-16 · ตอบ สามารถใช้พีชคณิตบูลีนลดรูปของสมการให้เหลือน้อยที่สุด

3. ป้อนคา่ของตวัแปรอินพตุ A, B และ C บนัทกึคา่ของเอาต์พตุ Y 1 และ Y 2 ลงในตารางท่ี1 (สงัเกตท่ี LED ถ้า LED สวา่ง แสดงวา่เป็นลอจิก 1 ถ้า LED ไมส่วา่ง แสดงวา่เป็นลอจิก 0)

ตารางที่ 1 ตารางบนัทกึผลการทดลองของข้อ 3

INPUT OUTPUT C B A Y1 Y2 0 0 0 1 1 0 0 1 1 1 0 1 0 0 0 0 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 0 1 1 1 1 1 0 0 0 1 1 1 1 1

4. จากผลการทดลองในตารางท่ี 1 สงัเกตผลของเอาต์พตุ Y1 และ Y2 มีคา่เหมือนกนัหรือแตกตา่งกนัอย่างไร ตอบ เหมือนกนั

5. จากสมการ ด้านลา่ง จงลดรูปสมการโดยเขียนลงในแผนผงัคาร์โนห์ ด้านลา่ง

Y = DCBA+DCBA+DCBA+DCBA+DCBA+DCBA+DCBA+DCBA+DCBA+DCBA

BADC

00

01

11

10

00 01 11 10

1

1

1

1

1

1

1

1

1

1

DBA

DCACB

CB

Y = CB CB DBA DCA

Page 8: จุดประสงค์การทดลอง 4. 2. 3. ต่อวงจร ...nmptc.ac.th/home/wp-content/uploads/2015/11/digital... · 2016-09-16 · ตอบ สามารถใช้พีชคณิตบูลีนลดรูปของสมการให้เหลือน้อยที่สุด

6. น าสมการที่ได้จากข้อ 5 เขียนวงจรลงในรูปด้านลา่ง และตอ่วงจรตามรูปท่ีออกแบบ

D C B A

Y

7. ป้อนอินพตุ A, B, C และ D ตามตารางท่ี 2 บนัทกึผลลงในตารางท่ี 2

ตารางที่ 2 ตารางบนัทกึผลการทดลอง

INPUT OUTPUT Y D C B A

0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 1 0 1 0 0 1 1 1 0 1 0 0 1 0 1 0 1 1 0 1 1 0 0 0 1 1 1 0 1 0 0 0 1 1 0 0 1 0 1 0 1 0 1 1 0 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 0 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1

Page 9: จุดประสงค์การทดลอง 4. 2. 3. ต่อวงจร ...nmptc.ac.th/home/wp-content/uploads/2015/11/digital... · 2016-09-16 · ตอบ สามารถใช้พีชคณิตบูลีนลดรูปของสมการให้เหลือน้อยที่สุด

8. เปรียบเทียบผลจากการทดลองในตารางท่ี 2 กบัผลจากภาคทฤษฏีในตารางท่ี 2.5 มีผลเหมือนกนัหรือแตกต่างกนัอย่างไร ตอบ เหมือนกนั

สรุปผลการทดลอง

Page 10: จุดประสงค์การทดลอง 4. 2. 3. ต่อวงจร ...nmptc.ac.th/home/wp-content/uploads/2015/11/digital... · 2016-09-16 · ตอบ สามารถใช้พีชคณิตบูลีนลดรูปของสมการให้เหลือน้อยที่สุด

จงอธิบาย/บรรยาย หรือออกแบบ 1. จงอธิบายคณุลกัษณะของลอจิกเกตดงัตอ่ไปนี ้ 1.1 AND gate 1.2 OR gate 1.3 NOT gate 1.4 NAND gate 1.5 NOR gate 1.6 Exclusive OR gate 1.7 Exclusive NOR gate ตอบ 1.1 คณุลกัษณะของ AND gate คือ เอาต์พตุจะเป็นลอจิก 1 เมื่ออินพตุทกุตวัเป็นลอจิก 1 1.2 คณุลกัษณะของ OR gate คือ เอาต์พตุจะเป็นลอจิก 1 เมื่ออินพตุตวัใดตวัหนึง่เป็นลอจิก 1 1.3 คณุลกัษณะของ NOT gate คือ เอาต์พตุจะมีลอจิกตรงกนัข้ามกบัอินพตุ 1.4 คณุลกัษณะของ NAND gate คือ เอาต์พตุจะเป็นลอจิก 1 เมื่ออินพตุตวัใดตวัหนึง่เป็นลอจิก 0 1.5 คณุลกัษณะของ Exclusive OR gate คือ เอาต์พตุจะเป็นลอจิก 1 เมื่ออินพตุมีลอจิกไมเ่หมือนกนั 1.5 คณุลกัษณะของ Exclusive NOR gate คือ เอาต์พตุจะเป็นลอจิก 1 เมื่ออินพตุมีลอจิกเหมือนกนั

2. จงอธิบายโครงสร้างของลอจิกเกตตอ่ไปนี ้ 2.1 ลอจิกเกตตระกลู DTL 2.2 ลอจิกเกตตระกลู HTL 2.3 ลอจิกเกตตระกลู TTL 2.4 ลอจิกเกตตระกลู NMOS 2.5 ลอจิกเกตตระกลู CMOS 2.6 ลอจิกเกตประเภท CPLD, VHDL

Page 11: จุดประสงค์การทดลอง 4. 2. 3. ต่อวงจร ...nmptc.ac.th/home/wp-content/uploads/2015/11/digital... · 2016-09-16 · ตอบ สามารถใช้พีชคณิตบูลีนลดรูปของสมการให้เหลือน้อยที่สุด

ตอบ 2.1 โครงสร้างของลอจิกเกตตระกูล DTL คือวงจรด้านอินพุตเป็นไดโอด วงจรเอาต์พุตเป็นทรานซิสเตอร์ ดงัรูปด้านลา่ง

2.2 โครงสร้างของลอจิกเกตตระกูล HTL คือวงจรด้านอินพุตเป็นไดโอด วงจรเอาต์พุตเป็นทรานซิสเตอร์จ านวน 2 ตวัและมีซีเนอร์ไดโอดต่อระหว่างขา E ของ Q1 และขา B ของ Q2 เพ่ือรักษาระดบัของค่าคงท่ี Threshold ดงัรูปด้านลา่ง

2.3 โครงสร้างของลอจิกเกตตระกูล TTL คือวงจรด้านอินพุตเป็นทรานซิสเตอร์ วงจรเอาต์พุตเป็นทรานซิสเตอร์ ดงัรูปด้านลา่ง

Page 12: จุดประสงค์การทดลอง 4. 2. 3. ต่อวงจร ...nmptc.ac.th/home/wp-content/uploads/2015/11/digital... · 2016-09-16 · ตอบ สามารถใช้พีชคณิตบูลีนลดรูปของสมการให้เหลือน้อยที่สุด

2.4 โครงสร้างของลอจิกเกตตระกลู NMOS ใช้อปุกรณ์ประเภท FET (Field Effect Transistor) มาเป็นสวิตช์แทนไบโพลา่ร์ทรานซิสเตอร์ (BJT)ดงัรูปด้านลา่ง

2.5 โครงสร้างของลอจิกเกตตระกูล CMOS ประกอบด้วย FET ชนิด P (PMOS) และ FET ชนิด N (NMOS) ตอ่ร่วมกนั วงจรด้านเอาต์พตุจะใช้ตวัเก็บประจตุอ่ลงกราวด์ ดงัรูปด้านลา่ง

2.6 โครงสร้างของลอจิกเกตประเภท CPLD, VHDL ซึง่ CPLD ย่อมาจาก Complex Programmable Logic Device เทคโนโลยีท่ีใช้จะเหมือนกบั EEPROM ท าให้มีความจุของเกตต ่า โดยทั่วไปจะน้อยกว่า 20,000 เกต แต่ข้อดี คือสามารถเก็บข้อมูลท่ีโปรแกรมลงไปได้โดยไม่จ าเป็นต้องมีไฟเลีย้ง และในการโปรแกรมจะใ ช้ทรานซิสเตอร์ 1 ตวัต่อ 1 บิต FPGA ย่อมาจาก Field Programmable Gate Array ใช้เทคโนโลยีในการโปรแกรมเหมือนกบั SRAM (Static RAM) ท าให้สามารถโปรแกรมซ า้ได้โดยไม่จ ากดัจ านวนครัง้ นอกจากนีย้งัมีความจุของเกตในระดบัปานกลางถึงสงูมาก (ประมาณ 10,000 – 1,000,000 เกท) ซึง่ข้อดีของ SRAM Based FPGA คือใช้เวลาในการโปรแกรมน้อย การโปรแกรมท าได้ง่ายเทียบได้กับการเขียน SRAM ทั่วไป และเหมาะส าหรับการออกแบบวงจรท่ีมีความสลบัซบัซ้อน ส่วนข้อเสียคือไม่สามารถเก็บโปรแกรมในภาวะท่ีไม่มีไฟเลีย้งได้ ข้อสงัเกตประการหนึง่คือ CPLD จะมีความจตุ ่ากวา่ FPGA รวมถงึมีคณุสมบตัิพิเศษอ่ืนๆน้อยกวา่

Page 13: จุดประสงค์การทดลอง 4. 2. 3. ต่อวงจร ...nmptc.ac.th/home/wp-content/uploads/2015/11/digital... · 2016-09-16 · ตอบ สามารถใช้พีชคณิตบูลีนลดรูปของสมการให้เหลือน้อยที่สุด

3. จากตารางด้านลา่ง จงเขียนสมการแบบ SOP และ POS

INPUT OUTPUT Y

สมการ C B A แบบ SOP แบบ POS 0 0 0 0 C B A 0 0 1 1 CBA 0 1 0 1

CBA 0 1 1 1 CBA 1 0 0 0 C B A 1 0 1 0 C B A 1 1 0 0 C B A+ 1 1 1 1 CBA

4. จากสมการตอ่ไปนี ้จงใช้พีชคณิตบลูีนลดรูปของสมการให้เหลือน้อยท่ีสดุ 4.1 Y = AB + ABC 4.2 Y = (A+B) A +C)+ BC( 4.3 Y = (A+B)(A+B)(A+C) 4.4 Y = ABC+AB(AC) 4.5 Y = ABC + ABC + ABC + BC ตอบ สามารถใช้พีชคณิตบลูีนลดรูปของสมการให้เหลือน้อยท่ีสดุ ได้ดงันี ้ 4.1 Y = AB + ABC

= AB(1 + C) = AB(1)

= AB 4.2 Y = (A+B) A +C)+ BC(        A A + A C + A B + B C + B C  

  =   A + A C + A B + B C + B C       =    A (1+B) + A C + B C (1+B C)

   =    A + A C + B C                            =     A 1 + C + B C   Y =     A + B C   

Page 14: จุดประสงค์การทดลอง 4. 2. 3. ต่อวงจร ...nmptc.ac.th/home/wp-content/uploads/2015/11/digital... · 2016-09-16 · ตอบ สามารถใช้พีชคณิตบูลีนลดรูปของสมการให้เหลือน้อยที่สุด

4.3 Y = (A+B)(A+B)(A+C)

= (AA+AB+BA+B )(A+C)B = (A+AB+BA)(A+C) = (A(1+B)+BA)(A+C) = (A+BA)(A+C) = A(1+B)(A+C) = A(A+C) = A 4.4 Y = ABC+AB(AC)

= ABC+AB(A+C) = ABC+AB(A+C)

= ABC+AB+ABC = ABC+ABC+AB = (ABC+ABC)+AB = AC(B+B)+AB = AC(1)+AB

= AC+AB = A(C+B) 4.5 Y = ABC + ABC + ABC + BC

Y = ABC+ABC+ABC+BC

= ABC+ABC+ABC+BC = (ABC+ABC)+ABC+BC = C(AB+AB)+ABC+BC = C(1)+ABC+BC

= C+ABC+BC = (C+ABC)+BC = C(1+AB)+BC = C(1)+BC

= C+BC = C+B

Page 15: จุดประสงค์การทดลอง 4. 2. 3. ต่อวงจร ...nmptc.ac.th/home/wp-content/uploads/2015/11/digital... · 2016-09-16 · ตอบ สามารถใช้พีชคณิตบูลีนลดรูปของสมการให้เหลือน้อยที่สุด

5. จากสมการตอ่ไปนี ้จงใช้แผนผงัคาร์โนห์ลดรูปของสมการให้เหลือน้อยท่ีสดุ 5.1 Y = ABC + ABC + ABC + ABC + ABC 5.2 Y = ABC + ABC + ABC + ABC + ABC + ABC 5.3 Y = ABCD + ABCD + ABCD + ABCD + ABCD + ABCD + ABCD + ABCD 5.4 Y = ABCD + ABCD + ABCD + ABCD + ABCD + ABCD + ABCD + ABCD

ตอบ สามารถใช้แผนผงัคาร์โนห์ลดรูปของสมการให้เหลือน้อยท่ีสดุ ได้ดงันี ้ 5.1 Y = ABC + ABC + ABC + ABC + ABC

C 00 01 11 100

1

AB

1

0

1

0

10

1 1 = B

= AC

Y = A + BC

5.2 Y = ABC + ABC + ABC + ABC + ABC + ABC

C 00 01 11 100

1

AB

1

1

0

1

11

1 0 = B

= A Y = A + B

5.3 Y = ABCD + ABCD + ABCD + ABCD + ABCD + ABCD + ABCD + ABCD

CDAB

00

01

11

10

00 01 11 100 100

1 000

1 110

1 101 = BD

= ACD

= ABC

= ACD = ABC Y = ABC + ABD + ACD + BD + ABC

Page 16: จุดประสงค์การทดลอง 4. 2. 3. ต่อวงจร ...nmptc.ac.th/home/wp-content/uploads/2015/11/digital... · 2016-09-16 · ตอบ สามารถใช้พีชคณิตบูลีนลดรูปของสมการให้เหลือน้อยที่สุด

5.4 Y = ADCD + ABCD + ABCD + ABCD + ABCD + ABCD + ABCD + ABCD

CDAB

00

01

11

10

00 01 11 100 100

1 100

1 101

1 010 = ABCD

= BC

= ABD

= ABD

= ACD Y = ACD + BC + ABD + ABCD + ABD 6. จากตารางด้านลา่ง จงออกแบบวงจรให้มีขนาดเลก็สดุ โดยใช้แผนผงัคาร์โนห์

INPUT OUTPUT Y C B A

0 0 0 1 0 0 1 1 0 1 0 0 0 1 1 0 1 0 0 1 1 0 1 0 1 1 0 1 1 1 1 1

ตอบ จากตาราง Y = CBA +CBA + CBA + CBA + CBA

A 00 01 11 100

1

CB

1

1

1

0

10

1 0 = CB

= CB

= CA

Y = CB + CBA + CA